SlideShare a Scribd company logo
Dhammaratana Journal
Vol.3 No.10 April-June 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๐ เดือนเม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗
วารสารธรรมรัตน์
6
เม.ย.
2557
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ
ประเพณีสงกรานต์
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
- สรงนำ�้พระ
- สวดมนต์
- ตักบาตรข้าวสุก
- ฟังเทศน์
- ทำ�สมาธิ
ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . .
Join us to celebrate
Songkran Ceremony
The day that Buddha gave the heart of a teaching.
Sunday, April 6, 2014
All Members are welcome
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
C O N T E N T S
ส า ร บ ั ญ
OBJECTIVES
	 - To serve as a Buddhism
promotion center in the U.S.
	 - To serve as a meditation
center in Pittsburgh
	 - To promote virtues, Bud-
dhist culture and traditions
	 - To be a center of all Bud-
dhists, regardless of nationalities
วัตถุประสงค์
	 - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา
	 - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก
	 - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่
ดีงามของชาวพุทธ
	 - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม
ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ
	 - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว
พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ
บทบรรณาธิการ	
พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words				 1
Letting go							 2
ทำ�บุญควรเลือกพระ เลือกวัดไหม				8
เรียนไม่เป็นก็มีโทษ						 12
10 พฤติกรรมวายร้าย ทำ�ลายความสุขโดยไม่รู้ตัว		 14
สรุปข่าวเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม			 19
รายรับ-รายจ่ายเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม		 22
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ			 31
ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities					 32-35
Songkran Festival						 36
กำ�หนดการทำ�บุญประเพณีสงกรานต์				37
กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2557 - Religious Ceremony 2014	38
Activities of BMCP						 39
วัดป่าธรรมรัตน์
ก้าวย่างแห่งการฝึกตน
คติธรรมประจำ�วัด
สติมโต สทา ภทฺทํ
คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา
The mind is very hard to check
and swift, it falls on what it wants.
The training of the mind is good,
a mind so tamed brings happiness.
เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ที่ปรึกษา :
	 พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)
	 พระราชพุทธิวิเทศ
	 พระครูปริยัติธรรมาภิราม
	 พระครูสิริอรรถวิเทศ
	 พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร
	 คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี
	 คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม
กองบรรณาธิการ :
	 คณะสงฆ์ และอุบาสกอุบาสิกา
รูปเล่ม/รูปภาพ
	 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์
Dhammaratana Journal is published by
Wat Padhammaratana
The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh
5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207
Tel(412)521-5095
E-mail : bmcpitts@hotmail.com
bmcpitts@yahoo.com
Homepage : www.bmcpitts.org
www.facebook.com/bmcpitts
www.youtube.com/bmcpitts
ธรรมรัตน์-Dhammaratana
วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
Vol.3 No.10 April-June 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๐ เดือนเม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1
พระพุทธพจน์
		 The Buddha's Words
	
	 อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ	 โก หิ นาโถ ปโร สิยา
อตฺตนา หิ สุทนฺเตน			 นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ ฯ160ฯ
			 เราต้องพึ่งตัวเราเอง
		 คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้
		 บุคคลผู้ฝึกตนดีแล้ว
		 ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้แสนยาก
			 Oneself indeed is master of oneself,
		 Who else could other master be ?
		 With oneself perfectly trained,
		 One obtains a refuge hard to gain.
บทบรรณาธิการ
	 ปีพ.ศ.2557 ผ่านเข้ามาเดือนที่ 4 ของปีแล้ว ขอจงอย่าประมาทในการ
ดำ�เนินชีวิต มีพุทธภาษิตเตือนให้เราใช้ชีวิตเหมือนแต่ละวันเป็นวันสุดท้าย เพราะ
ทุกคนมีเวลาจำ�กัดบนโลกใบนี้ แน่นอนแต่ละคนมีเวลาไม่ถึงร้อยปีที่จะทำ�สิ่งดีๆ
ให้กับตนเเองและคนรอบข้าง ฉะนั้น จงทำ�วันนี้ให้ดีที่สุด ใช้ชีวิตอย่างรู้คุณค่า เพื่อ
จะได้ไม่เสียใจในภายหลัง
	 ในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมา คือ เดือนมกราคม, กุมภาพันธ์ และมีนาคมนั้น
ทางวัดมีกิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์มากมายทั้งภายนอกภายในวัด เดือนมกราคม
นั้นมีการทำ�บุญต้อนรับปีใหม่ มีชาวอเมริกันมาฝึกสมาธิทุกเสาร์-อาทิตย์ และ
พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ได้รับนิมนต์ไปสอนสมาธิที่สมาคมครูอเมริกาทุกวัน
อังคาร, เดือนกุมภาพันธ์มีการทำ�บุญวันมาฆบูชาวันสำ�คัญที่พระพุทธเจ้าแสดง
หัวใจของพระพุทธศาสนา, พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ เดินทางกลับไปปฏิบัติ
ศาสนกิจที่ประเทศไทยชั่วคราว, และมีการประชุมคณะกรรมการจัดงานวิสาขบูชา
นานาชาติเพื่อเตรียมจัดงานอีกด้วย, ส่วนเดือนมีนาคมมีญาติโยมมาทำ�บุญปฏิบัติ
ธรรมตามปกติ, พระครูสิริอรรถวิเทศ และพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล เดินทางมา
ร่วมประชุมคณะกรรมการสอบถามถึงความก้าวหน้าเรื่องการดำ�เนินการจัดซื้อ
ที่ดินซึ่งกำ�ลังดำ�เนินการอยู่
	 ส่วนกิจกรรมใน 3 เดือนคือ เมษายน, พฤษภาคม และมิถุนายนที่กำ�ลัง
ย่างเข้ามามีกิจกรรมบุญมากมายดังต่อไปนี้ คือ เดือนเมษายนมีทำ�บุญประเพณี
สงกรานต์ต้นเดือน เพราะกลางเดือนเดินทางไปกราบขอพรปีใหม่จากพระเดช
พระคุณหลวงตาชี, เดือนพฤษภาคมมีการทำ�บุญวันวิสาขบูชาวันที่ 11 พ.ค.2557
และวิสาขบูชานานาชาติวันที่ 18 พ.ค.2557, ส่วนเดือนมิถุนายนมีทำ�บุญอายุวัฒน
มงคลพระเดชพระคุณหลวงตาชีครบรอบ 89 ปี และมีการประชุมสามัญประจำ�ปี
สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะหว่างวันที่ 11-15 มิ.ย.2557 ที่วัดนวมินทรราชู
ทิศ บอสตัน
	 ที่วัดทุกวันมีการสวดมนต์นั่งสมาธิเช้า-เย็น ถ้าญาติโยมท่านใดประสงค์จะ
มาร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ และสนทนาธรรมกับพระสงฆ์สามารถมาร่วมได้ตลอด
เวลา ก่อนจะมาก็โทรศัพท์มาสอบถามทางวัดก่อนเพื่อความแน่ใจว่าพระสงฆ์ไม่
ติดกิจนิมนต์นอกวัด และติดตามกิจกรรมต่างๆได้ที่เว็บไซด์และเฟสบุ๊กของวัด
ด้วยไมตรีธรรม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3
One of the important reasons why the Buddha taught the
Dhamma was to teach us to let go, not to hold on to
things. The more we really know the Dhamma, the more we
can let go. Those who know a little can let go of a little; those
who know a lot can let go of a lot.
	 As a first step we're taught dana — to be generous, to
give donations — as a strategy for getting us to learn how to
let go. The next step is caga — renouncing rights of posses-
sion — which is letting go at a higher level than dana. And
finally, on a more refined level, we're taught to relinquish all
our upadhi, or the acquisition-defilements in the mind. This is
the level on which we examine and explore until we can gain
total release.
LETTING GO
by Ajaan Lee Dhammadharo
translated from the Thai by Thanissaro Bhikkhu
	 Dana means giving away material things. If we don't
give them away, they're hard to let go. For the most part, if
we don't give things away, we hold rights over them and re-
gard them as belonging to us. But if we give them away, we
no longer have any rights over them. Things we hold onto are
dangerous. (1) They can cause us harm. (2) They cause harm
to people who steal them from us. And (3) once those people
have stolen them, then they claim rights over them. The Bud-
dha saw these dangers, which is why he taught us to be gener-
ous, to learn how to give things away.
	 People who develop the habit of being generous reap
many rewards. Their act of generosity comes back to them
both in the present and on into the future. They have lots of
friends. Other people trust them. Their hearts are light — they
aren't weighed down with worries about looking after the
things they've given away. And these same results will keep
coming in the future, just as when we have a bucket of rice
grains: if we plant them in a field, we'll reap ten buckets of
rice in return. The same holds true with the goodness we de-
velop in this lifetime. It gives enormous returns. That's how
people of discernment understand it.
	 Caga is the next step. Dana is something that even crazy
people can do, but caga is a type of giving that only wise peo-
ple can do, because their sense of personal possession has to
end immediately in the act of giving. They see that all material
things are common property: things don't really belong to us,
they don't really belong to other people. If you see things as
belonging to you, that's addiction to sensuality (kamasukhal-
likanuyoga). If you see things as belonging to others, that's ad-
diction to self-affliction (attakilamathanuyoga). When we're
born, we didn't bring anything along with us when we came.
When we die, we won't take anything along when we go. So
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5
what really belongs to us? Our sense of possession has to fall
away from the heart if our giving is to count as caga.
The third lev-
el of letting
go is relinquish-
ing what's in the
heart. Whether or
not we give things
away, we let go of
them in the heart
every day. We let
go of the things
we have. We let go of the things we don't have. Just as a per-
son has to wash his mouth and hands every day after he eats
if he wants to stay clean at all times. What this means is that
we're not willing to let anything act as an enemy to the heart
by making us stingy or grasping. If we don't do this, we're the
type of person who doesn't wash up after a meal. We're not
clean. We stay asleep without ever waking up. But when we
let go in this way, it's called viraga-dhamma, or dispassion.
The lower levels of letting go are things we can do only from
time to time. Dispassion is something we can develop always.
	 Ordinarily our defilements tie us down hand and foot,
and then nail us to the floor. It's hard to get free, which is
why we need a high level of skill, called bhavanamaya-pañña
— the discernment that comes from developing the mind in
meditation — to gain release.
	 Dispassion is a mental quality that's really delicious and
nourishing. Whoever hasn't reached this level of the Dhamma
has eaten only the rind of the fruit, without knowing the taste
and nourishment of the flesh. The good part of the flesh lies
deep.
	 The upadhi-kilesas, or acquisition-defilements in the
mind, are ignorance, craving, and clinging. If we reach the
level where we see the Dhamma for ourselves within us, then
we take responsibility for ourselves. We can take care of these
things on our own, just as when we come of age in terms of
the law.
	 If we can get our minds into the first jhana, we can let
go of the five hindrances.
	 Most of us are like inexperienced children: when we eat
fish or chicken, we eat the bones along with the flesh because
we haven't developed any intuitive insight. When this insight
arises, it's more dazzling than the light of a fire, sharper than
a spear. It can consume anything: meat, bones, rice, husks —
anything — because it's smart enough to pound everything
into a powder. It can consume sights, sounds, smells, flavors,
tactile sensations, and ideas. Good or bad, it isn't picky. It can
eat them all. If people praise us, we can use it to nourish the
heart. If they criticize us, we can use it to nourish the heart.
Even if the body is in terrible pain, the heart can be at its
ease, for it has all the utensils it needs to fix its food properly:
grinders, mixers, steamers, pots, and pans. The fog of igno-
rance will scatter. Everything that ties us down — the nails of
the five clinging-aggregates, the three ropes (love for spouse,
love for children, love for material possessions), and the eight
chains of the affairs of the world (loka-dhamma) — gain, loss,
status, loss of status, praise, criticism, pleasure, and pain —
will all fall away.
	 Stupid people think that staying in jail is comfortable,
which is why they keep on doing more and more evil. They see
the world as pleasant and so they're like prisoners who don't
want to get out of jail. As for people with discernment, they're
like the caged quail who keeps looking for a way to get out of
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7
the cage. As a result the chains that hold them down will fall
away one link at a time. The eight affairs of the world are like
the chains put on criminals to keep them bound. Stupid people
think these chains are necklaces of gold to wear as ornaments.
Actually, they're things that defile the mind. People who get
tied down by them will never get away, because they're afraid
they'll lose their wealth and status, afraid of criticism and pain.
Anyone who is stuck on pleasure, who is afraid of criticism,
will never manage to come to the monastery to practice.
	 The Buddha saw that we're like monkeys tied to a chain.
If we don't develop liberating insight, we'll never get free from
our chains. We'll
never make it to
dispassion.
In the first stage
we let go of
evil and start do-
ing good. In the
second stage we
let go of evil and
some forms of
good. In the third
stage we let go of everything, good and evil, because every-
thing is fabricated by nature and thus undependable. We do
good but we're not attached to it. When you let go, you have
do it intelligently, and not in a ruinous way — i.e., by not
doing good. You can't hold on even to your opinions, much
less to material things. When you do good, you do it for the
sake of the living beings of the world, for your children and
grandchildren. You do everything in the best way possible,
but you're not attached to it, because you know that all things
fabricated are inconstant. This way your heart can be clear and
bright like a jewel.
	 If you get caught up on criticism or praise, you're fool-
ish. It's like drinking other people's saliva. When you act
rightly, there are people who will say that you're right and
those who will say that you're wrong. When you act wrong,
there are people who will say you're wrong and those who
will say you're right. There's nothing constant about good or
bad, for they're all nothing but fabrications.
* Notes from a talk, April 21, 1953
ถ่ายภาพร่วมกันเป็นที่ระ
ลึกกับอาจารย์พระครูสังฆ
รักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร รอง
เจ้าคณะอำ�เภอหนองหาน
จ.อุดรธานี
ประชุมคณะกรรมการ
จัดงานวิสาขบูชา
นานาชาติครั้งที่ 6
ของเมืองพิทส์เบิร์ก
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana9
ทำ�บุญควรเลือกพระ เลือกวัดไหม
ปุจฉา-กราบนมัสการพระอาจารย์ค่ะเคยได้ยินคำ�พูดว่า
เวลาทำ�บุญหรือใส่บาตร ไม่ให้เลือกพระเลือกวัด แต่
ก็เคยอ่านเจอในหนังสือสวดมนต์ว่า ถ้าทำ�บุญหรือใส่บาตร
กับพระที่มีศีลสูงกว่าก็ได้บุญกุศลมากกว่า ในบางครั้งตั้งใจ
ทำ�บุญใส่บาตรเพื่ออุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ จึงอยาก
ให้เค้าเหล่านั้นได้บุญมากเจ้าค่ะ อยากกราบเรียนถามพระ
อาจารย์ว่า การเลือกพระหรือเลือกวัดทำ�ให้บุญกุศลน้อยลง
ไหมเจ้าคะ หรือขึ้นอยู่กับจิตใจเราเจ้าคะ กราบขอบพระคุณ
อย่างสูงเจ้าค่ะ
วิสัชนา - มีพุทธพจน์ตอนหนึ่งว่า “บุคคลให้ทานใน
ปุถุชนผู้ทุศีล พึงหวังผลทักขิณาได้พันเท่า ให้ทานใน
ปุถุชนผู้มีศีล พึงหวังผลทักขิณาได้แสนเท่า ให้ทานในท่านผู้
ปฏิบัติเพื่อทำ�โสดาปัตติผลให้แจ้ง พึงหวังผลทักขิณานับไม่
ได้ประมาณไม่ได้ จะกล่าวไปใยในพระโสดาบัน ...ในพระ
สกทาคามี ...ในพระอนาคามี ...ในสาวกของตถาคตผู้เป็น
พระอรหันต์” พุทธพจน์ดังกล่าวไม่ได้ชี้ว่าควรทำ�บุญเลือก
พระหรือเลือกวัด เพราะปุถุชนผู้มีศีล หรือพระโสดาบัน
เป็นต้นนั้น เป็นได้ทั้งคฤหัสถ์และภิกษุ
	 อันที่จริงพึงตระหนักว่า ทานที่ถวายแก่ภิกษุแบบ
เจาะจงบุคคลนั้น มีอานิสงส์น้อยกว่าสังฆทาน หรือทานที่
ถวายแก่สงฆ์ (หมายถึงพระตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป หรือพระทั้ง
วัด) ดังมีพุทธพจน์ว่า “เราไม่กล่าวว่า ทานที่เจาะจงบุคคล
มีผลมากกว่าทักษิณาที่เป็นไปในสงฆ์โดยปริยายไร ๆ เลย”
ดังนั้นเมื่อจะทำ�บุญเพื่ออุทิศกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ ควรทำ�
สังฆทาน โดยจะทำ�ที่วัดไหนก็ได้ที่คุณมีศรัทธา หรือจะ
ทำ�บุญอย่างอุคคตคฤหบดีก็ได้ ท่านเป็นอุบาสกคนสำ�คัญผู้
หนึ่งในสมัยพุทธกาลที่เป็นถึงพระอนาคามี ท่านมีศรัทธาใน
ทำ�บุญควรเลือกพระ เลือกวัดไหม
ทุกข์ใจที่ปากไม่ตรงกับใจ
พระไพศาล วิสาโล
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11
สงฆ์มาก เมื่อจะถวายทานก็ไม่เลือกหรือเจาะจงว่าจะถวาย
รูปนี้มาก ถวายรูปนั้นน้อย แม้เทวดาจะมาบอกว่า พระรูปนี้
มีวิชชา ๓ อภิญญา ๖ ส่วนพระรูปนั้นเป็นผู้ทุศีลมีบาปก็ตาม
ทั้งนี้เพราะท่านมุ่งถวายทานแก่สงฆ์เพื่อให้เป็นประโยชน์
ทั่วถึงแก่ภิกษุทุกรูป ท่านจึงได้ชื่อว่าเป็นเอตทัคคะหรือผู้
เป็นเลิศกว่าอุบาสกทั้งปวงในด้านการอุปัฏฐากภิกษุสงฆ์
ทุกข์ใจที่ปากไม่ตรงกับใจ
ปุจฉา - ปาก
ไม่ตรงกับ
ใจ ทุกข์มากเลย
ค่ะ ทำ�อย่างไรจึง
จะมั่นใจในสิ่งที่
ตนคิด ทุกวันนี้
เหมือนคนโกหก ทำ�ให้ขาดความเชื่อมั่นไปเรื่อยๆค่ะ แก้ไข
อย่างไรดีเจ้าคะ
วิสัชนา - คุณกลัวที่จะแสดงความเห็นแตกต่างจากคน
อื่น เพราะคิดไปว่าคนอื่นจะไม่พอใจคุณ หรือตำ�หนิติ
เตียนคุณ ความเป็นจริงอาจไม่เป็นเช่นนั้นก็ได้ แต่เป็นการ
ปรุงแต่งของคุณไปเอง คุณลองพูดออกมาดัง ๆ ว่าคุณคิด
อย่างไร แล้วคุณจะพบว่ามันไม่ได้เป็นอย่างที่คุณนึกกลัว
เลย หรือพบว่ามันไม่ได้เลวร้ายอย่างที่คุณจิตนาการเลย ถ้า
คุณไม่แน่ใจ ก็ลองพูดแสดงความเห็นต่างในเรื่องที่ไม่สลัก
สำ�คัญดูก่อนเช่นเรื่องอาหารการกินการท่องเที่ยวฯลฯเพื่อ
สะสมความกล้า
	 หากทำ�อย่างนี้บ่อย ๆ ความกลัวจะลดลง และกล้า
แสดงความคิดเห็นในเรื่องที่สำ�คัญหรือเป็นงานเป็นการมาก
ขึ้น ถึงจุดหนึ่งคุณจะพบว่า แม้คนอื่นจะไม่เห็นด้วยกับคุณ
หรือไม่พอใจคุณก็เป็นเรื่องของเขาอีกทั้งไม่ใช่เรื่องใหญ่โต
อะไรเลย
ญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก
พบปะพี่น้องชาววัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และถ่ายภาพร่วมกันเป็นที่ระลึก
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13
เพชรจาก......พระไตรปิฎก
อลคัททูปมสูตร มู. ม. (๒๗๘)
เรียนไม่เป็นก็มีโทษ
	 ปัญหา คนทั่วไปเข้าใจว่า การเรียนธรรมเป็นของดี มี
ประโยชน์ แต่ถ่ายเดียว ใครจะทราบว่าการเรียนธรรมก่อให้เกิด
ทุกข์โทษ มีหรือไม่?
	 พุทธดำ�รัสตอบ “.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุรุษเหล่าบาง
พวกในพระธรรม วินัยนี้ ย่อมเล่าเรียนธรรมคือ สุตตะ เคยยะ เวย
ยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ
บุรุษเหล่านั้นเล่าเรียนธรรมนั้นแล้ว ย่อมไม่ไตร่ตรอง เนื้อความ
แห่งธรรมเหล่านั้น ด้วยปัญญา ธรรมเหล่านั้นย่อมไม่ควรซึ่งการ
เพ่งแก่บุรุษเปล่าเหล่านั้น ผู้ไม่ไตร่ตรองเนื้อความด้วยปัญญา
บุรุษเปล่าเหล่านั้น เป็นผู้มีความข่มผู้อื่นเป็นอานิสงส์ (เรียนเพื่อ
ข่มผู้อื่น) และมีการเปลื้องเสียซึ่งความนินทาเป็นอานิสงส์ (เรียน
เพื่อให้คนตำ�หนิมิได้) ย่อมเล่าเรียนธรรม ก็กุลบุตรทั้งหลายย่อม
เล่าเรียนธรรมเพื่อประโยชน์อันใด บุรุษเหล่าเหล่านั้นย่อมไม่ได้
เสวยประโยชน์แห่งธรรมนั้น ธรรมเหล่านั้นอันบุรุษเหล่านั้นเรียน
ไม่ดีแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์สิ้นกาล
นาน ข้อนั้นเป็นเพราะอะไร เพราะธรรมทั้งหลายอันตนเรียนไม่
ดีแล้ว
	 “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการ
ด้วยงูพิษเสาะหางูพิษ เที่ยวแสวงหางูพิษ เขาพึงพบงูพิษตัวใหญ่
พึงจับงูพิษนั้นที่ขนดหรือที่หาง งูพิษนั้นพึงแว้งกัดเขาที่มือ ที่แขน
หรือที่อวัยวะใหญ่น้อยแห่งใดแห่งหนึ่ง เขาพึงถึงความตาย หรือ
ความทุกข์ปางตาย มีการกัดนั้นเป็นเหตุข้อนั้นเป็นเพราะเหตุไร
เพราะงูพิษตนจับไม่ดีแล้ว”
ญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก
ถวายไทยธรรมแด่หลวงพ่อมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15
	 ความสุขในชีวิตเป็นสิ่งที่ใครต่างก็อยากมี ยิ่งมีได้มากเท่าไรก็เหมือน
ได้กำ�ไรชีวิตมากเท่านั้น โดยเฉพาะในยุคที่มีการแข่งขันสูงอย่างทุกวันนี้
ความสุขก็ดูเหมือนจะเป็นที่ต้องการมากขึ้น แต่ทราบกันไหมคะว่า หลาย ๆ
พฤติกรรมที่เราทำ�จนติดเป็นนิสัย บางทีก็เป็นตัวบ่อนทำ�ลายความสุขในชีวิต
เราโดยที่เราไม่ทันได้รู้ตัวเชียวล่ะ ส่วนพฤติกรรมทำ�ลายความสุขที่ว่านั้นจะมี
อะไรบ้าง ตามมาดูข้อมูลจากเว็บไซต์ Marc and Angle Hack Life กันได้เลย
แล้วก็ขจัดนิสัยที่ทำ�ลายความสุขเราไปพร้อม ๆ กันด้วยนะ ลุย !
1.สนใจเรื่องคนอื่นมากกว่าเรื่องตัวเอง
	 เมื่อใดก็ตามที่เราเทความสนใจไปที่เรื่องของคนอื่น จนลืมสนใจเรื่อง
ราวของตัวเอง เมื่อนั้นจะเกิดการเปรียบเทียบขึ้นมาทันที และการเปรียบเทียบ
ที่ว่า ก็มีแนวโน้มจะลดทอนความสุขในชีวิตของเราได้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ถ้า
คุณมองมัวแต่สนใจความสำ�เร็จของคนอื่น แล้วลืมกลับมามองสิ่งที่ตัวเองมี
แถมไม่ยอมขยับเขยื้อนชีวิตให้ก้าวหน้าไปในแบบของตัวเอง คุณก็คงได้แต่
ยืนมองคนอื่นเขาปีนขึ้นไปในระดับที่สูง ในขณะที่ตัวเองยังย่ำ�อยู่กับที่ จนใน
ที่สุดก็เกิดความทุกข์ท้อใจได้
	 ดังนั้น พยายามรับข้อมูลที่ไม่เป็นประโยชน์กับตัวเองให้น้อย แล้ว
สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้ตัวเองเยอะ ๆ ดีกว่า ที่สำ�คัญคุณต้องเชื่อมั่น และศรัทธา
ในความสามารถของตัวเองให้มาก รวมทั้งอย่าปล่อยให้ใครมามีอิทธิพลกับ
ชีวิตคุณจนคุณสูญเสียการควบคุมตัวเองเด็ดขาด เพราะถ้าหากคุณมีความมุ่ง
มั่นตั้งใจจริง ก็คงไม่มีอะไรมาขัดขวางไม่ให้คุณพัฒนาตัวเองแน่ ๆ
2.รอจังหวะเหมาะสม ที่ไม่มีวันมาถึง
	 หากคุณเป็นคนมีความฝัน แต่กำ�ลังรอให้ถึงช่วงเวลาที่เหมาะสมเสีย
ก่อน ถึงจะเริ่มลงมือทำ�ตามฝัน และเป้าหมายที่วางไว้ แบบนี้เห็นทีคงไม่ได้
เริ่มต้นสานฝันสักทีแน่ ๆ เพราะเอาเข้าจริง ๆ ช่วงเวลาที่เหมาะสม ที่คุณกำ�ลัง
รออยู่ อาจไม่มีจริงก็ได้ แต่สิ่งที่ทำ�ให้คุณรอมาจนถึงทุกวันนี้ ก็เป็นเพียงข้อ
อ้างที่คุณสร้างขึ้นมาเองเท่านั้น แล้วอย่างนี้จะเดินไปถึงเส้นชัย แล้วมีความสุข
กับมันได้เมื่อไหร่ล่ะ ฉะนั้นนับจากนี้ต่อไป อะไรที่คุณตั้งเป้าเอาไว้ ก็ลงมือ
เลยดีกว่า ผัดวันประกันพรุ่งไปเรื่อย ๆ เดี๋ยวจะสายไปซะก่อนนะจ๊ะ
3.ทำ�งานแบบเช้าชาม เย็นชาม
	 การทำ�งานเป็นชีวิตอีกครึ่งหนึ่งของเราก็ว่าได้ ดังนั้น ใครที่รู้สึกไม่
แฮปปี้กับชีวิตการทำ�งานตอนนี้นัก อาจจะต้องปรับทัศนคติใหม่ ก่อนที่ความ
สุขของคุณจะหดหายมากไปกว่านี้ ซึ่งคุณอาจจะเปลี่ยนมุมมองมาคิดว่า งาน
เป็นสิ่งที่ทำ�ให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้น มีคุณค่าในตัวเองมากกว่าเดิม มีเงินที่สามารถ
บันดาลปัจจัยจำ�เป็นต่าง ๆ ในชีวิตให้คุณได้ แถมงานยังช่วยให้คุณจัดการชีวิต
ตัวเองได้อย่างมีระบบมากขึ้นอีกต่างหาก แต่หากใครไม่ไหวกับงานที่ทำ�อยู่
ตอนนี้จริง ๆ ก็ยังไม่สายที่จะหางานที่ให้ความสุขกับคุณมากกว่านี้นะคะ ไม่
เชื่อลองดูสิ
4.เก็บกดความเกลียดชังไว้ในใจ
	 เมื่อความรู้สึกเกลียดเกิดขึ้นแล้ว เราก็ยากที่จะลบเลือนมันออกจาก
10 พฤติกรรมวายร้าย ทำ�ลายความสุขโดยไม่รู้ตัว !
เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17
ใจไปได้ง่าย ๆ อีกทั้งเมื่อเรารู้สึกเกลียดอะไร เราก็มักจะจดจำ�สิ่งนั้นได้ดี และ
ใช้เวลาคิดวกไปวนมากับมันได้นานมากขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้ก็แน่นอนว่าไม่ส่ง
ผลดีกับคุณไม่ว่าทางใดก็ตาม แถมบางทีเรายังผูกใจเจ็บแค้นมาเนิ่นนาน นาน
จนบางทีก็ลืมไปแล้วว่าโกรธเกลียดกันด้วยเรื่องอะไร จนสุดท้ายความโกรธ
เกลียดในจิตใจก็คั่งค้างอยู่ในความรู้สึก นานไปก็สร้างความทุกข์ให้คุณอย่าง
มหาศาล โดยที่ไม่ได้มีใครเจ็บช้ำ�ไปกับคุณด้วยเลย ดังนั้นพยายามปล่อยวาง
ทุกเรื่องที่ผ่านเขามาในชีวิต แล้วอยู่อย่างมีความสุขดีกว่านะคะ
5.ขังตัวเองไว้กับความวิตกกังวล
	 หากคุณลองมองย้อนกลับไปสัก 2-3 ปี คุณคงจะได้เห็นว่าตัวเอง
ปล่อยโอกาสให้หลุดลอยไปอย่างไม่มีวันหวนกลับมามากมายเหลือเกิน เพียง
แค่เพราะความวิตกกังวลและความกลัวที่เกินเหตุของคุณเองเท่านั้น ทำ�ให้คุณ
พลาดโอกาสมีความสุขแบบสุดเหวี่ยงไปอย่างน่าเสียดาย อีกทั้งยังต้องมานั่ง
รู้สึกผิด และเสียใจที่ตัดสินใจผิดพลาดในวันนั้นซะอีก
	 ดังนั้น หากคุณอยากมีอิสระ และมีความสุขในชีวิตมาก ๆ ต่อไปนี้ก็
ลองปล่อยใจจากความวิตกกังวล และความกลัวเสียที แล้วเริ่มต้นทำ�อะไรใหม่
ๆ ที่ในชีวิตนี้ไม่เคยได้ทำ�บ้างก็ได้
6.ดื้อรั้นดันทุรัง
	 ยอมรับมาเถอะว่า บางเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต เราก็รับรู้และคาด
เดาได้ลาง ๆ ถึงความยากลำ�บากของมัน แต่ใจก็ยังดันทุรัง และรั้นจะสู้อย่าง
หัวชนฝา โดยที่ไม่ได้อาวุธที่มีอยู่ในมือเลย ซึ่งแบบนี้ก็คงไม่แคล้วต้องเจ็บ
ตัวกลับมาแน่ ๆ จริงไหมล่ะ นักจิตวิทยาก็เลยแนะนำ�ว่า วันไหนที่เจอเรื่องยุ่ง
ยาก และคุณไม่สามารถจัดการแก้ปัญหาได้ในทันที ให้เลิกดันทุรังซะ จากนั้น
ก็ปล่อยใจให้สบาย เพราะเมื่อคุณมีจิตใจที่แจ่มใสขึ้น ปัญญาก็จะเกิด และใน
ที่สุดก็อาจจะหาทางออกให้ปัญหาได้อย่างคาดไม่ถึงเลยทีเดียว
7.ค้นหาความสุขระยะสั้น
	 นักจิตวิทยา
กล่าวไว้ว่า ในสมอง
ของคนเรามีความคิด
ที่ส่งผลต่อการกระทำ�
อยู่ด้วยกัน 2 อย่าง นั่น
ก็คือ ความคิดชั่ววูบ
และความคิดที่ยั่งยืน
ซึ่งแบบแรกจะเกิดขึ้น
ในชั่วแวบของสมอง
มีปัจจัยมาจากความรู้สึกแบบฉับพลัน และแรงกระตุ้นเร้าจากสิ่งรอบข้าง แต่
ความคิดแบบยั่งยืน จะเกิดโดยผ่านกระบวนการไตร่ตรองจากสมองมาอย่าง
ดีแล้ว
	 แต่ก็แปลกที่คนส่วนใหญ่มักจะสับสนระหว่าง 2 ความคิดนี้เป็นอย่าง
มาก และชอบคิดว่าความรู้สึกเพียงชั่วแวบ คือความสุขที่ตัวเองต้องการจริง ๆ
และต่างก็โหยหาความรู้สึกชั่วแวบกันให้ควัก ทั้ง ๆ ที่จริงแล้วความรู้สึกแบบ
ฉับพลัน มีแนวโน้มจะเป็นความสุขในระยะสั้นกับชีวิตซะมากกว่าด้วยซ้ำ�
ส่วนความรู้สึกแบบยั่งยืนต่างหาก ที่จะทำ�ให้คุณเป็นสุขอย่างมั่นคง
8.ใจร้อนและกดดันตัวเองจนเกินไป
	 เราเชื่อว่าหลายคนอยากเปลี่ยนแปลงชีวิตตัวเองให้ดีขึ้น แต่ยิ่งพยายาม
เปลี่ยนแปลงเท่าไร กลับยิ่งรู้สึกเหนื่อย ท้อ และไร้ความสุขมากเท่านั้น ซึ่งอาจ
จะเป็นเพราะว่า คุณใจร้อน และกดดันตัวเองมากเกินไปหรือเปล่า จึงทำ�ให้
รู้สึกเหมือนวิ่งวนอยู่ในกรอบเหนื่อยล้าแต่หาทางเดินต่อไปไม่ได้สักทีฉะนั้น
คงดีกว่าหากจะค่อย ๆ ปรับจากสิ่งเล็ก ๆ ในชีวิตก่อน ทำ�ไปเรื่อย ๆ ไม่ต้องรีบ
ร้อน ให้โอกาสตัวเองได้หยุดพัก และไตร่ตรองบางอย่างให้ละเอียดถี่ถ้วนกว่า
นี้อีกหน่อย จะได้รู้สึกสบายขึ้นนะคะ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18
กิจกรรมเดือนมกราคม
	 1ม.ค.2557ทำ�บุญขึ้นปีใหม่มีญาติธรรมชาวเมืองพิทส์เบิร์กมาร่วมทำ�บุญ
ต้อนรับปีใหม่จำ�นวนมาก ขอให้ทุกท่านเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงานตลอดปี
ใหม่นี้
	 7 ม.ค. - 11 ก.พ.2557 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ได้รับนิมนต์ไปสอน
สมาธิให้กับสมาคมครู(American Federation of Teachers) กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. ทุกๆ
วันอังคารของเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง
	 17-19ม.ค.2557คุณรัตนาเจริญตาพร้อมน้องเจ้าภาพทอดกฐินสามัคคีวัด
ป่าธรรมรัตน์ปีที่แล้ว หาเวลาว่างมาถือศีลปฏิบัติธรรมที่วัด ขออนุโมทนาบุญด้วย
	 20 ม.ค. 2557 คุณเจมส์ เบอร์มิ่งแฮม มีประชุมที่กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. แวะ
มารับพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ เพื่อเดินทางไปสอนสมาธิ ขออนุโมทนาบุญให้
เจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป
	 21 ม.ค.2557 พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร รองประธานอำ�นวยการวัด
ป่าธรรมรัตน์, รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองหาน จ.อุดรธานี เดินทางมาปฏิบัติศาสนกิจ
สรุปข่าว
เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม
9.ไม่ยอมตัดใจจากคนที่ทำ�ให้เจ็บปวด
	 บางครั้งเราก็เลือกที่จะเดินออกห่างจากใครสักคน เพียงเพราะไม่
อยากทนเจ็บอีกต่อไป แต่พฤติกรรมที่คนส่วนใหญ่ทำ� คือ อยู่ห่าง แต่ไม่ยอม
ตัดใจจากเขาสักที ซึ่งแบบนี้นี่ล่ะที่ทำ�ให้คุณต้องจมอยู่กับความทุกข์ที่ไม่มีวัน
สิ้นสุด แถมยังพาตัวเองไปเป็นของตายให้เขาวกกลับมาทำ�ร้ายซ้ำ�แล้วซ้ำ�เล่า
ฉะนั้น หากอยากหลุดพ้นจากบ่วงแสนทุกข์นี้สักที คุณก็ควรต้องมีความเด็ด
ขาดให้มากกว่านี้ และแม้ว่ามันจะทำ�ได้ยาก แต่ก็คงไม่ยากเกินกว่าที่จะรักตัว
เองให้เป็นจริงไหมล่ะ
10.มองทุกอย่างเพียงผิวเผิน
	 หนังสือที่มีหน้าปกสวยไม่ได้หมายความว่าจะมีเนื้อหาที่โดนใจคุณ
เสมอไป หรือหนังสือที่ดูเก่าซอมซ่อก็อาจจะมีเนื้อหาที่น่าสนใจมากก็ได้ ซึ่ง
ทุกอย่างขึ้นอยู่กับมุมมองของแต่ละคน และกว่าเราจะทำ�ความรู้จักกับบาง
อย่างให้ลึกซึ้ง ก็ควรต้องใช้เวลาศึกษามันให้ละเอียดถี่ถ้วน จะได้มีความสุข
กับสิ่งที่เลือกได้นาน ๆ ไม่ต้องเสี่ยงมาทุกข์ใจกับการตัดสินใจที่ผิดพลาด
เพราะมองทุกอย่างเพียงผิวเผินยังไงล่ะ
น้องเบล มาทำ�บุญถวายสังฆทาน
กับเพื่อน โดยมีป้าสมทรง ฟ็อก เป็น
สารถีพามา ขอให้ประสบความสำ�
เร็จในการเล่าเรียนศึกษา
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21
ที่สหรัฐอเมริกา มีเมตตาให้คำ�ปรึกษาเรื่องการดำ�เนินการสร้างวัดที่เป็นประโยชน์
มาก ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
กิจกรรมเดือนกุมภาพันธ์
	 2 ก.พ.2557 ร้านไทยโกเมท
มีคุณทิม, คุณวิลาวรรณ, คุณสมทรง,
และคุณคิม มีธุระเดินทางไปกรุง
วอชิงตัน,ดี.ซี. มีน้ำ�ใจขับรถพาพระ
มหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ที่ต้องไปสอน
สมาธิ และถือโอกาสไปกราบขอพร
พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระวิเทศ-
ธรรมรังษี(หลวงตาชี)อีกด้วย สาธุบุญ
	 9 ก.พ.2557 วันมาฆบูชา หรือ
วันพระสงฆ์ เพราะพระสงฆ์ 1,250 องค์มาประชุมกันโดยไม่ได้นัดหมาย พระพุทธ
องค์จึงทรงวางหลักของพระพุทธศาสนาไว้ ทางวัดได้จัดทำ�บุญ มีญาติโยมมาร่วม
ทำ�บุญตักบาตร ฟังเทศน์ และทำ�สมาธิเป็นจำ�นวนมาก
	 13 ก.พ.2557 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ พระวิปัสสนาจารย์ประจำ�วัด
ท่านเดินทางมาปฏิบัติศาสนกิจที่วัดป่าธรรมรัตน์ตั้งแต่กลางปี 2012 จนพาสปอร์ต
ของท่านหมดอายุ จึงเดินทางกลับไปต่อพาสปอร์ตและถือโอกาสเยี่ยมเยือนครูบา
อาจารย์ ญาติพี่น้องที่ประเทศไทย
	 13 ก.พ.2557 พระอาจารย์ปุญญะ และพระอาจารย์โสมะ จากประเทศศรี
ลังกา ได้รับนิมนต์ฉันภัตตาหารเพลจากคุณโยมจำ�ลอง แม็คคาซี่ และคุณโยมมนัส
แซนส์ หลังเพลแล้วได้มาเดินทางมาเยี่ยมวัด จึงถือโอกาสถวายจตุปัจจัยไทยธรรม
แก่พระเถระทั้ง 2 รูป
	 24 ก.พ. 2557 ประชุมคณะกรรมการจากองค์กรชาวพุทธต่างๆ ในเมือง
พิทส์เบิร์ก เพื่อวางแผนจัดงานวิสาขบูชานานาชาติประจำ�ปี 2014/2557 ซึ่งเป็นการ
จัดงานวิสาขบูชาครั้งที่ 6 การประชุมครั้งแรกได้ตกลงแบ่งหน้าที่ให้แต่ละองค์กร
ช่วยกันทำ�ในส่วนต่างๆ
กิจกรรมเดือนมีนาคม
	 1 มี.ค.2557 พระครูสิริอรรถวิเทศ(พระมหาดร.ถนัด อตฺถจารี) ประธาน
อำ�นวยการวัดป่าธรรมรัตน์ และพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล พระธรรมทูตวัดไทย
กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เรียกประชุมคณะกรรมการวัดเรื่องการดำ�เนินการซื้อที่ดินสร้าง
วัด เนื่องจากธนาคารยังไม่ปล่อยเงินกู้ให้กับทางวัด ที่ประชุมจึงมีมติให้ทำ�กิจกรรม
เผยแผ่ด้านต่างๆ และสะสมกองทุนจัดสร้างวัดต่อไป
	 9 มี.ค.2557 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ นำ�ญาติโยมชาววัดป่าธรรมรัตน์
พิทส์เบิร์กทำ�บุญถวายหลวงพ่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว อุปเสโณ)
อดีตประธานผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช, เจ้าอาวาสวัดสระเกศฯ เพื่ออุทิศ
ถวายหลวงพ่อผู้มีคุณูปการมากมายต่อชาติและพระศาสนา
	 18 มี.ค.2557 คณะกรรมการองค์กรชาวพุทธในเมืองพิทส์เบิร์กประชุม
วิสาขนานาชาติครั้งที่ 2 มีมติจัดงานวิสาขบูชานานาชาติ วันที่ 18 พฤษภาคม 2557
	 - ทุกวันพฤหัสบดีที่ 2 และ 4 ของเดือน พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ไป
สอนสมาธิและธรรมะโปรดญาติธรรมในเรือนจำ�ของเมืองพิทส์เบิร์ก
คุณสมทรง ฟ็อก, คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนส์, และคุณคิม ราม วาน
มาถวายภัตตาหารเพลแด่ครูบาอาจารย์ที่เดินทางมาประชุมที่วัด
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23
รายรับ-รายจ่าย(Income-Spend)
ประจำ�เดือนมกราคม-มีนาคม
ปี 2557/2014
รายรับเดือนมกราคม 2557
Jim & Pimjai Birmingham(Donation to buy the land)	 $ 150.00
นางนฤมล-นายจาเร็ต โคซาน					 $ 40.00
Boonrak & Ratana Tantisira(Donation to buy the land)	 $ 100.00
คุณจำ�เริญ รมยานนท์ (ทำ�บุญซื้อที่)				 $ 20.00
Sukanya Romyanon(Donation to buy the land)		 $ 50.00
Ekanong & Ted Rader(Donation to buy the land)		 $ 60.00
ปิยาภรณ์-ริชาร์ด เป็ปเปอร์					 $ 20.00
Phimonrat Khongkluan(Donation to buy the land)		 $ 40.00
Greg & Nina and family(Donation to buy the land)		 $ 60.00
น้อย แม็คคาซี่, จินดา Ebneter					 $ 20.00
Somsong Fox (ทำ�บุญซื้อที่ดินรายเดือน)			 $ 100.00
Phramaha Piya Jundadal(ทำ�บุญซื้อที่ดินรายเดือน)		 $ 100.00
Manus Sands							 $ 100.00
Manus Sands							 $ 50.00
Dollawan Nguyen						 $ 100.00
ยายจูมศรี จันทรักษา และลูก					 $ 10.00
แม่รำ�ไพ ราชพงษ์ พร้อมลูกหลาน				 $ 50.00
Jintana Chaveangchavalit					 $ 20.00
Jeeranance Boonpok						 $ 20.00
สุพจน์ จำ�ปาโพธิ์						 $ 30.00
Lee & Supamard Anderson					 $ 20.00
วัลภา สิทธิกุล							 $ 200.00
Supannee Sattawatrakul					 $ 50.00
คุณวีรพร กฤษฎานนท์ และครอบครัว				 300 บาท
คุณเกวลี พิมพ์ดี						 1,500 บาท
คุณนลินี เวรวิริยกุล						 500 บาท
คุณแม่อำ�นวย ซ้ายศรี พร้อมบุตรธิดา				 500 บาท
คุณบุญเพ็ง-ไพบูรณ์ วุ้นสี					 500 บาท
ดร.นิตยา สุวรรณศรี						 1,000 บาท
Paitoon Lluengputsa						 500 บาท
Veera Veeraza							 1,500 บาท
คุณจิตติมา มั่นสิริไพบูลย์					 300 บาท
Bunyawaree Prasoetsri					 300 บาท
Sopawadee PNS						 500 บาท
คุณลักขณา ธเนศอนันต์ และครอบครัว			 500 บาท
Chaovanon Chongpol และครอบครัว				 1,000 บาท
คุณอัญชนา ม่วงศิริ และครอบครัว				 500 บาท
คุณนายิกา ปัญญาวัฒนชัย					 500 บาท
คุณปกขวัญ กนกอนันต์ และครอบครัว			 600 บาท
คุณนิธิ-สุภาพิศ พิชากุล และครอบครัว			 500 บาท
คุณชฎาพร รอดพุก						 500 บาท
คุณชฎารัตน์ พิพัฒนนันท์					 100 บาท
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25
คุณศศิธร มงคลศรีพัฒนา					 300 บาท
Thai Papaya Restaurant LLC					 $ 1,000
Thai Papaya Restaurant LLC					 $ 751.50
Somdee Budhasen						 $ 20.00
Tae & Suwattana Miller and family				 $ 500.00
Thidaratn & Neal Degregorio					 $ 112.00
คุณนิตยา Dunn						 $ 100.00
Sommai Adams						 $ 70.00
คุณดอกไม้							 $ 40.00
Tongsai Gaskill						 $ 100.00
คุณอนันต์ ฤทธิ์มหา-อ.กู่แก้ว อุดรธานี				 $ 20.00
ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม						 $ 20.00
Penchan Klapfenstein						 $ 200.00
Pachara Tuangsethavut					 $ 200.00
คุณเมธินี ศรีบุญเรือง						 $ 200.00
คุณสุภาภรณ์ อุดมลักษณ์					 $ 10.00
คุณสุรีวรรณ สงวนสุข						 1,000 บาท
คุณละมัย รองสนาม และญาติ					 2,500 บาท
คุณมณี จูประเสริฐ						 900 บาท
คุณโฉมญา กรทอง						 300 บาท
พระปลัดศุภวิชย์ ปญฺญาธโร					 1,000 บาท
คุณชด วรรณางกูร						 1,000 บาท
แม่ชีจินดารัตน์ วาระคำ�นึง และญาติ				 1,000 บาท
Ratanarojana & Apinya Kunjara-Na-Ayudhya		 $ 13,600.00
ดร.เสาวคนธ์ จันทร์ผ่องศรี				 30,000 บาท
แม่ชีนลินรัตน์ สุทธิธรรมวิชญ์				 5,000 บาท
Bua. Inc., Bangkok Garden				 $ 300.00
Benjamard Inc., Thai Erawan				 $ 500.00
Sommai King						 $ 10.00
Tassanee Tassapinit					 $ 100.00
Kingkeaw C. May					 $ 100.00
คุณบุญทิพย์						 $ 40.00
Dokmai						 $ 20.00
Ampan Barnse						 $ 10.00
Wipaporn Miller					 $ 10.00
Scott & Anong Roberson				 $ 100.00
Nayika Kamales					 $ 100.00
Danial & Toy Winwood				 $ 20.00
คุณมนัส ดี แซนส์					 $100.00
คุณศศิธร เหรียญมณี และครอบครัว			 $ 40.00
Banana Blossom					 $ 75.00
PR Cleaning Service Inc.				 $ 540.00
คุณพชรพิชญ์ พรหมอุปถัมภ์ และครอบครัว		 $ 20.00
คุณนวรัตน์ วงศ์อารยะ และครอบครัว			 $ 20.00
คุณจิรายุ วงศ์โชคประสิทธิ และครอบครัว		 $ 20.00
Debra Ridgley						 $ 20.00
American Federation of Teachers			 $ 500.00
Thai Gourmet Inc.					 $ 10,000.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27
ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2557
คุณนิธิกร นาคแกมทอง					 $ 20.00
ครอบครัวปรีชาวิบูลย์						 $ 60.00
คุณเริงทิพย์ เดชน้อย						 $ 20.00
Natthanawan Panmanee					 $ 10.00
คุณวิศณุภรณ์ โสมรักษ์					 $ 20.00
Jim & Pimjai Birmingham					 $ 150.00
คุณมนัส ดี แซนส์						 $ 100.00
คุณมนัส ดี แซนส์						 $ 50.00
Somsong Fox							 $ 100.00
พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ					 $ 100.00
Karn Prangchaikul						 $ 100.00
คณะนักศึกษา							 $ 31.00
พชรพิชญ์ พรหมอุปถัมภ์					 $ 20.00
ต้น								 $ 20.00
วันทิพย์ ขาวสะอาด						 $ 21.00
Srinya & Nirali						 $ 20.00
Pittsburgh Thai Restaurant					 $ 100.00
คุณวรรณนิภา วัฒโนภาส,วริษยา ชะม้อย,กฤษฎา ท่าพระเจริญ$ 20.00
Settawit Poochaya						 $ 10.00
Nayika Kamales						 $ 100.00
Jumlong Megyesy						 $ 100.00
Chaloemwut Sittiboon						 $ 20.00
Chaloemwut Sittiboon						 $ 30.00
Mr.Arsa Sangsri						 $ 30.00
คุณละมัย รองสนาม					 50,200 บาท
Thai Spoon LLC					 $ 100.00
Sukanya Romyanon					 $ 50.00
Nai Lee 						 $ 22.00
พงศธร สายเพ็ชร์					 $ 10.00
Kittikoon & Phichalai Family				 $ 1,500.00
PEA 2014 รุ่น 14 Smartgrid				 $ 320.00
Kittima Franks						 $ 100.00
คุณแม่นกแก้ว ศรีจริยา,คุณแม่ฝุ่น อินสว่าง		 $ 50.00
Perapat-Chatchaya Uthaisri				 $ 100.00
ประจำ�เดือนมีนาคม พ.ศ.2557
คุณแม่กิ่งแก้ว กิตติคุณ					 $ 500.00
James & Pimjai Birmingham				 $ 150.00
ครูสาวิกา แสนกลาง และนักเรียนชั้นม.3/5		 $ 100.00
คุณเอมี่-คุณจอนห์ ลี, ด.ญ.วาเนสซ่า-ด.ช.โจนาทาน คาลาโบล $ 300.00
คุณสุวิน-วรวีร์-สุชีพา-เกษมสิทธิ์ นุ่นชะนา		 $ 80.00
Mr.Nontalee Narongrit				 $ 10.00
คุณวิรัตน์-เพ็ญศิริ-เก่ง แจ่มจันทรา และครอบครัว	 $ 100.00
น.ส.เด่นลดา-นางลัดดา ปัทมดิลก, นางภัทรพร อุทัยธรรม และ
ครอบครัว, น.ส.อารดา บุญสงฆ์			 $ 40.00
คุณพ่อสุวิน-คุณแม่วรวีร์-น.ส.สุชีพา-นายเกษมสิทธิ์ นุ่นชะนา $ 20.00
Kingkarn & Jeremy Debon				 $ 40.00
Nalinrat & Willy Brun					 $ 100.00
Nayika Kamales					 $ 100.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29
Gary L. Powers					 $ 500.00
Manus Sands						 $ 100.00
Robert C. & Manee Rudolph,
Arnon & Ornuma Bunsopa 				 $ 200.00
Michael D. Sciulli & Tanaporn Jitsawang		 $ 100.00
Phramaha Piya Jundadal and family			 $ 100.00
Manus Sands						 $ 100.00
Somsong Fox						 $ 100.00
Athip Wongsanao					 $ 40.00
คุณเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ					 $ 100.00
Thai Spoon LLC					 $ 100.00
Phimonrat Khongkluan				 $ 30.00
Manus Sands						 $ 50.00
Parinya S. Spry					 $ 50.00
Lisa							 $ 6.00
รายจ่ายเดือนมกราคม 2557
01/01/2014	 Nationwide				 $ 100.00
01/02/2014	 Duquesne light			 $ 77.60
01/07/2014	 ค่ารถบัส-รถไฟไปสอนสมาธิที่ดีซี	 $ 234.00
01/07/2014	 Comcast				 $ 50.00
01/10/2014	 Peoples				 $ 262.76
01/19/2014	 Guardian				 $ 31.95
01/19/2014	 PWSA					 $ 36.49
01/22/2014	 ค่าพิมพ์โบว์ชัวร์/ใบอนุโมทนาบัตร	 18,500 บาท
01/23/2014	 ถวายพระมหาสายันต์ไปประเทศไทย	$ 500.00
01/24/2014	 ซื้อเทปใส/แฟ้มเอกสาร/น้ำ�มัน		 $ 60.40
01/25/2014	 Post office				 $ 116.96
รายจ่ายเดือนกุมภาพันธ์ 2557
02/07/2014	 Peoples				 $ 375.23
02/07/2014	 Comcast				 $ 65.00
02/08/2014	 ซื้อที่ตักหิมะ				 $ 24.44
02/12/2014	 Erie Insurance				 $ 103.50
02/15/2014	 PWSA					 $ 60.00
02/21/2014	 Guardian				 $ 31.95
02/21/2014 	 Air Ticket for Ajahns			 $ 1,000.00
02/25/2014	 Commonwealth of Pennsylvania	 $ 125.00
02/27/2014	 ค่าเครื่องอาจารย์มางาน		 $ 766.00
รายจ่ายเดือนมีนาคม 2557
03/07/2014	 Peoples				 $ 295.00
03/17/2014	 ซื้อตั๋วรถบัสถวายพระมาร่วมงาน	 $ 63.00
03/18/2014	 Guardian				 $ 31.95
03/19/2014	 ซื้อหมึกเครื่องพิมพ์หนังสือ		 $ 67.50
03/19/2014	 ตั๋วเครื่องบินอาจารย์มางาน		 $ 191.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
อนุโมทนาบุญ
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ
วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันจันทร์	 Thai Cuisine, Thai Spoon, ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์
วันอังคาร	 คุณคิม วาน และเพื่อนๆ
วันพุธ		 คุณพิมพ์ใจ-จิม เบอร์มิ่งแฮม และเพื่อนๆ
วันพฤหัสบดี	 คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์ และเพื่อนๆ
วันศุกร์	 คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ
วันเสาร์	 คุณวิลาวรรณ อนันต์ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet
วันอาทิตย์	 ญาติโยมทุกท่านร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล
ทุกเช้าวันจันทร์-เสาร์ คุณจำ�เนียร น้ำ�ใส, Siam Thai Restaurant
	 *หมายเหตุ ในแต่ละวัน อาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตาม
โอกาสจะเอื้ออำ�นวย
	 อันนะโท พะละโท โหติ	 วัตถะโท โหติ วัณณะโท
ยานะโท สุขะโท โหติ		 ทีปะโท โหติ จักขุโท.
	 ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ,
ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ
30
อนุโมทนาบุญพิเศษ
คุณวิลาวรรณ อนันต์ วอง		 $ 100.00(ค่ากระดาษ/หมึก)
คุณมนัส แซนส์			 $ 50.00(ค่ากระดาษ/หมึก)
คุณClarence-คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่	 $ 50.00(ค่ากระดาษ/หมึก)
คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม		 $ 100.00(ค่าน้ำ�มนรถ)
คุณสมทรง ฟ็อก		 บริจาคกระดาษ 1 กล่อง กระดาษสี 5 รีม
คุณเอมี่ ลี และครอบครัว 	 บริจาคซีดีเปล่าและอื่นๆ
คุณจันทิมา จิระเชิดชูวงษ์	 บริจาคซีดีธรรมะ
ญาติโยมทุกท่านที่ไม่ได้สามารถเอ่ยนามได้ทั้งหมด
31
คุณจำ�เนียร น้ำ�ใส ร้าน
อาหารสยามไทย มาถวาย
ภัตตาหารเช้าเป็นประจำ�
ทุกวัน เว้นวันอาทิตย์ ถวาย
ภัตตาหารเช้าพิเศษช่วงที่
อาจารย์พระครูสิริอรรถ
วิเทศ และหลวงพ่อมหา
สิทธิผล สิทฺธิผโล เดินทาง
มาประชุมคณะกรรมการวัด
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ทำ�บุญวันมาฆบูชา - Magha Puja Ceremony 2014 สอนสมาธิสมาคมครู - Meditation at American Federation of Teachers
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ประชุมปรึกษาเรื่องการซื้อที่ดิน - Land Project Meeting ทำ�บุญถวายหลวงพ่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว อุปเสโณ)
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37
ขอเชิญร่วมทำ�บุญ
ประเพณีสงกรานต์(ปีใหม่ของชาวเอเชีย)
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันอาทิตย์ 6 เมษายน พ.ศ.2557
*********
เวลา 10.00 น.	 พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนร่วมกันสวดมนต์,
		 รับศีล 5, พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
เวลา 10.30 น.	 พุทธศาสนิกชนร่วมกันทำ�บุญตักบาตรข้าวสุก
เวลา 10.45 น.	 ฟังปาฐกถาในวันสงกรานต์,
		 ถวายภัตตาหารเพลแด่ พระสงฆ์
เวลา 11.30 น.	 พุทธศาสนิกชนร่วมกันรับประทานอาหาร
เวลา 12.30 น.	 ทำ�พิธีบังสุกุลรวมญาติ
		 เพื่ออุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว
เวลา 13.00 น.	 พิธีสรงน้ำ�พระพุทธรูป,
		 พระสงฆ์ และผู้ใหญ่ในเมืองพิทส์เบิร์ก
*********
SONGKRAN FESTIVAL
NEW YEAR CEREMONY
*********
	 Songkran festival is the traditional New Year of South-East Asia. This
is the time for Asian to pay homage to the Buddha images, clean their houses,
and sprinkle water on their elders in a show of respect.
What : Songkran Festival, New Year of South-East Asia.
Where : Wat Padhammaratana, 5411 Glenwood Ave.,
Pittsburgh, PA 15207
When : Sunday, April 6, 2014 9.30 am – 2.00 pm, Free for the public.
Info : 412-521-5095, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
Program
10.00 am	 Religious ceremony including chanting,
		 request for five precepts, and Parita chanting
10.30 am	 Offering of food in the alms-bowl or Pindapata
10.45 am	 Dhamma Talk, lunch offering to the monks
11.30 am	 Lunch served to the guests
12.30 pm	 Pangsukula or lay a robe dedicated to a deceased person
01.00 pm	 Pouring of lustral water to honor the Buddha,
		 the monks, and adults.
*********
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47
	 All are cordially invited to participate
in the meditation programs and Buddhist activities at
Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh)
Activity Day Time
1. Chanting Daily Morning and
Evening
05.30 - 6.30 a.m.
5.30 - 6.30 p.m.
2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m.
3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m.
4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m.
All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further infor-
mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095,
E-mail : bmcpitts@hotmail.com, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
- To serve as a Buddhism promotion
center in the U.S.
- To serve as a meditation center in
Pittsburgh
- To promote virtues, Buddhist cul-
ture and traditions
- To be a center of all Buddhists,
regardless of nationalities
OBJECTIVES
กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี ๒๕๕๗
ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่			 วันพุธ ที่ 1 มกราคม 2557
ทำ�บุญวันมาฆบูชา			 วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557
ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน		 วันที่ 14-16 เมษายน 2557
ทำ�บุญวันสงกรานต์			 วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน 2557
ทำ�บุญวันวิสาขบูชา			 วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม 2557
ร่วมทำ�บุญวันเกิด 89 ปี หลวงตาชี 	 วันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน 2557
ทำ�บุญวันเข้าพรรษา			 วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม 2557
บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน		 วันที่ 3-10 สิงหาคม 2557
ปฏิบัติธรรมวันสารท			 วันที่ 19-21 กันยายน 2557
ทำ�บุญวันออกพรรษา/ทอดกฐิน	 วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม 2557
ทำ�บุญวันพ่อแห่งชาติ			 วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม 2557
ปฏิบัติธรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันพุธที่ 31 ธันวาคม 2557
Religious Ceremony 2014
New Year Celebration		 Wednesday, January 1, 2014
Makhapuja Ceremony		 Sunday, February 9, 2014
Meditation Retreat			 March 14-16, 2014
Songkran Festival			 Sunday, April 6, 2014
Visaka Puja Ceremony		 Sunday, May 11, 2014
Luangta Chi's Birthday		 Sunday, June 8, 2014
Asalha Puja & Rains-retreat 	 Sunday, July 13, 2014
Novice Summer Camp		 August 3-10, 2014
Sart Meditation Retreat		 September 19-21, 2014
Rains-retreat ending /Kathina Ceremony Sunday, October 19, 2014
Father’s Day Ceremony		 Sunday, December 7, 2014
Meditation Retreat			 Wednesday, December 31, 2014

More Related Content

What's hot

Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพหลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพSuradet Sriangkoon
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Wat Thai Washington, D.C.
 
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพหลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
Suradet Sriangkoon
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกDhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10Jurarat Thongma
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 

What's hot (10)

Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพหลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพหลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกDhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 

Viewers also liked

Carlsbad Unified CST Trend Report
Carlsbad Unified CST Trend ReportCarlsbad Unified CST Trend Report
Carlsbad Unified CST Trend Report
dvodicka
 
Sierra Vista Graduation Speech - Dr. Vodicka
Sierra Vista Graduation Speech - Dr. VodickaSierra Vista Graduation Speech - Dr. Vodicka
Sierra Vista Graduation Speech - Dr. Vodicka
dvodicka
 
Welcome letter 2013 (sp)
Welcome letter 2013 (sp)Welcome letter 2013 (sp)
Welcome letter 2013 (sp)
dvodicka
 
21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw
21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw
21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw
dvodicka
 
Parent letter 2015 16
Parent letter 2015 16Parent letter 2015 16
Parent letter 2015 16
dvodicka
 
Welcome letter 2013
Welcome letter 2013Welcome letter 2013
Welcome letter 2013
dvodicka
 
Parent letter 2015 16 SP
Parent letter 2015 16 SPParent letter 2015 16 SP
Parent letter 2015 16 SP
dvodicka
 
21st centuryfacilitiesparentletter eng
21st centuryfacilitiesparentletter eng21st centuryfacilitiesparentletter eng
21st centuryfacilitiesparentletter eng
dvodicka
 

Viewers also liked (8)

Carlsbad Unified CST Trend Report
Carlsbad Unified CST Trend ReportCarlsbad Unified CST Trend Report
Carlsbad Unified CST Trend Report
 
Sierra Vista Graduation Speech - Dr. Vodicka
Sierra Vista Graduation Speech - Dr. VodickaSierra Vista Graduation Speech - Dr. Vodicka
Sierra Vista Graduation Speech - Dr. Vodicka
 
Welcome letter 2013 (sp)
Welcome letter 2013 (sp)Welcome letter 2013 (sp)
Welcome letter 2013 (sp)
 
21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw
21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw
21st centuryfacilitiesparentletter sp_alw
 
Parent letter 2015 16
Parent letter 2015 16Parent letter 2015 16
Parent letter 2015 16
 
Welcome letter 2013
Welcome letter 2013Welcome letter 2013
Welcome letter 2013
 
Parent letter 2015 16 SP
Parent letter 2015 16 SPParent letter 2015 16 SP
Parent letter 2015 16 SP
 
21st centuryfacilitiesparentletter eng
21st centuryfacilitiesparentletter eng21st centuryfacilitiesparentletter eng
21st centuryfacilitiesparentletter eng
 

Similar to Dhammaratana journal 10

วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
krusupkij
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ
niralai
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
Sarawut Sangnarin
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blcเห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blcblcdhamma
 
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organsแผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human OrgansTharinee Japhimai
 
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organsแผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human OrgansTharinee Japhimai
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
khumtan
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
niralai
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 

Similar to Dhammaratana journal 10 (20)

วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blcเห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
 
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organsแผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
 
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organsแผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
แผน CBI Unit: Health Topic: Human Organs
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 

More from Watpadhammaratana Pittsburgh

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
โบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระโบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระWatpadhammaratana Pittsburgh
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธThe ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Buddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburghBuddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburgh
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5
Watpadhammaratana Pittsburgh
 

More from Watpadhammaratana Pittsburgh (18)

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
 
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
 
โบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระโบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระ
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
 
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธThe ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
 
Buddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburghBuddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburgh
 
วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
1 years
1 years1 years
1 years
 
Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 

Dhammaratana journal 10

  • 1. Dhammaratana Journal Vol.3 No.10 April-June 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๐ เดือนเม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗ วารสารธรรมรัตน์ 6 เม.ย. 2557 ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ ประเพณีสงกรานต์ ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก - สรงนำ�้พระ - สวดมนต์ - ตักบาตรข้าวสุก - ฟังเทศน์ - ทำ�สมาธิ ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . . Join us to celebrate Songkran Ceremony The day that Buddha gave the heart of a teaching. Sunday, April 6, 2014 All Members are welcome
  • 2. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana C O N T E N T S ส า ร บ ั ญ OBJECTIVES - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Bud- dhist culture and traditions - To be a center of all Bud- dhists, regardless of nationalities วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ ดีงามของชาวพุทธ - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ บทบรรณาธิการ พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words 1 Letting go 2 ทำ�บุญควรเลือกพระ เลือกวัดไหม 8 เรียนไม่เป็นก็มีโทษ 12 10 พฤติกรรมวายร้าย ทำ�ลายความสุขโดยไม่รู้ตัว 14 สรุปข่าวเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม 19 รายรับ-รายจ่ายเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม 22 ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ 31 ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities 32-35 Songkran Festival 36 กำ�หนดการทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ 37 กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2557 - Religious Ceremony 2014 38 Activities of BMCP 39 วัดป่าธรรมรัตน์ ก้าวย่างแห่งการฝึกตน คติธรรมประจำ�วัด สติมโต สทา ภทฺทํ คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา The mind is very hard to check and swift, it falls on what it wants. The training of the mind is good, a mind so tamed brings happiness. เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พระราชพุทธิวิเทศ พระครูปริยัติธรรมาภิราม พระครูสิริอรรถวิเทศ พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม กองบรรณาธิการ : คณะสงฆ์ และอุบาสกอุบาสิกา รูปเล่ม/รูปภาพ คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ Dhammaratana Journal is published by Wat Padhammaratana The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 Tel(412)521-5095 E-mail : bmcpitts@hotmail.com bmcpitts@yahoo.com Homepage : www.bmcpitts.org www.facebook.com/bmcpitts www.youtube.com/bmcpitts ธรรมรัตน์-Dhammaratana วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก Vol.3 No.10 April-June 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๐ เดือนเม.ย.-มิ.ย. ๒๕๕๗
  • 3. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1 พระพุทธพจน์ The Buddha's Words อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ ฯ160ฯ เราต้องพึ่งตัวเราเอง คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ บุคคลผู้ฝึกตนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้แสนยาก Oneself indeed is master of oneself, Who else could other master be ? With oneself perfectly trained, One obtains a refuge hard to gain. บทบรรณาธิการ ปีพ.ศ.2557 ผ่านเข้ามาเดือนที่ 4 ของปีแล้ว ขอจงอย่าประมาทในการ ดำ�เนินชีวิต มีพุทธภาษิตเตือนให้เราใช้ชีวิตเหมือนแต่ละวันเป็นวันสุดท้าย เพราะ ทุกคนมีเวลาจำ�กัดบนโลกใบนี้ แน่นอนแต่ละคนมีเวลาไม่ถึงร้อยปีที่จะทำ�สิ่งดีๆ ให้กับตนเเองและคนรอบข้าง ฉะนั้น จงทำ�วันนี้ให้ดีที่สุด ใช้ชีวิตอย่างรู้คุณค่า เพื่อ จะได้ไม่เสียใจในภายหลัง ในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมา คือ เดือนมกราคม, กุมภาพันธ์ และมีนาคมนั้น ทางวัดมีกิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์มากมายทั้งภายนอกภายในวัด เดือนมกราคม นั้นมีการทำ�บุญต้อนรับปีใหม่ มีชาวอเมริกันมาฝึกสมาธิทุกเสาร์-อาทิตย์ และ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ได้รับนิมนต์ไปสอนสมาธิที่สมาคมครูอเมริกาทุกวัน อังคาร, เดือนกุมภาพันธ์มีการทำ�บุญวันมาฆบูชาวันสำ�คัญที่พระพุทธเจ้าแสดง หัวใจของพระพุทธศาสนา, พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ เดินทางกลับไปปฏิบัติ ศาสนกิจที่ประเทศไทยชั่วคราว, และมีการประชุมคณะกรรมการจัดงานวิสาขบูชา นานาชาติเพื่อเตรียมจัดงานอีกด้วย, ส่วนเดือนมีนาคมมีญาติโยมมาทำ�บุญปฏิบัติ ธรรมตามปกติ, พระครูสิริอรรถวิเทศ และพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล เดินทางมา ร่วมประชุมคณะกรรมการสอบถามถึงความก้าวหน้าเรื่องการดำ�เนินการจัดซื้อ ที่ดินซึ่งกำ�ลังดำ�เนินการอยู่ ส่วนกิจกรรมใน 3 เดือนคือ เมษายน, พฤษภาคม และมิถุนายนที่กำ�ลัง ย่างเข้ามามีกิจกรรมบุญมากมายดังต่อไปนี้ คือ เดือนเมษายนมีทำ�บุญประเพณี สงกรานต์ต้นเดือน เพราะกลางเดือนเดินทางไปกราบขอพรปีใหม่จากพระเดช พระคุณหลวงตาชี, เดือนพฤษภาคมมีการทำ�บุญวันวิสาขบูชาวันที่ 11 พ.ค.2557 และวิสาขบูชานานาชาติวันที่ 18 พ.ค.2557, ส่วนเดือนมิถุนายนมีทำ�บุญอายุวัฒน มงคลพระเดชพระคุณหลวงตาชีครบรอบ 89 ปี และมีการประชุมสามัญประจำ�ปี สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะหว่างวันที่ 11-15 มิ.ย.2557 ที่วัดนวมินทรราชู ทิศ บอสตัน ที่วัดทุกวันมีการสวดมนต์นั่งสมาธิเช้า-เย็น ถ้าญาติโยมท่านใดประสงค์จะ มาร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ และสนทนาธรรมกับพระสงฆ์สามารถมาร่วมได้ตลอด เวลา ก่อนจะมาก็โทรศัพท์มาสอบถามทางวัดก่อนเพื่อความแน่ใจว่าพระสงฆ์ไม่ ติดกิจนิมนต์นอกวัด และติดตามกิจกรรมต่างๆได้ที่เว็บไซด์และเฟสบุ๊กของวัด ด้วยไมตรีธรรม
  • 4. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3 One of the important reasons why the Buddha taught the Dhamma was to teach us to let go, not to hold on to things. The more we really know the Dhamma, the more we can let go. Those who know a little can let go of a little; those who know a lot can let go of a lot. As a first step we're taught dana — to be generous, to give donations — as a strategy for getting us to learn how to let go. The next step is caga — renouncing rights of posses- sion — which is letting go at a higher level than dana. And finally, on a more refined level, we're taught to relinquish all our upadhi, or the acquisition-defilements in the mind. This is the level on which we examine and explore until we can gain total release. LETTING GO by Ajaan Lee Dhammadharo translated from the Thai by Thanissaro Bhikkhu Dana means giving away material things. If we don't give them away, they're hard to let go. For the most part, if we don't give things away, we hold rights over them and re- gard them as belonging to us. But if we give them away, we no longer have any rights over them. Things we hold onto are dangerous. (1) They can cause us harm. (2) They cause harm to people who steal them from us. And (3) once those people have stolen them, then they claim rights over them. The Bud- dha saw these dangers, which is why he taught us to be gener- ous, to learn how to give things away. People who develop the habit of being generous reap many rewards. Their act of generosity comes back to them both in the present and on into the future. They have lots of friends. Other people trust them. Their hearts are light — they aren't weighed down with worries about looking after the things they've given away. And these same results will keep coming in the future, just as when we have a bucket of rice grains: if we plant them in a field, we'll reap ten buckets of rice in return. The same holds true with the goodness we de- velop in this lifetime. It gives enormous returns. That's how people of discernment understand it. Caga is the next step. Dana is something that even crazy people can do, but caga is a type of giving that only wise peo- ple can do, because their sense of personal possession has to end immediately in the act of giving. They see that all material things are common property: things don't really belong to us, they don't really belong to other people. If you see things as belonging to you, that's addiction to sensuality (kamasukhal- likanuyoga). If you see things as belonging to others, that's ad- diction to self-affliction (attakilamathanuyoga). When we're born, we didn't bring anything along with us when we came. When we die, we won't take anything along when we go. So
  • 5. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5 what really belongs to us? Our sense of possession has to fall away from the heart if our giving is to count as caga. The third lev- el of letting go is relinquish- ing what's in the heart. Whether or not we give things away, we let go of them in the heart every day. We let go of the things we have. We let go of the things we don't have. Just as a per- son has to wash his mouth and hands every day after he eats if he wants to stay clean at all times. What this means is that we're not willing to let anything act as an enemy to the heart by making us stingy or grasping. If we don't do this, we're the type of person who doesn't wash up after a meal. We're not clean. We stay asleep without ever waking up. But when we let go in this way, it's called viraga-dhamma, or dispassion. The lower levels of letting go are things we can do only from time to time. Dispassion is something we can develop always. Ordinarily our defilements tie us down hand and foot, and then nail us to the floor. It's hard to get free, which is why we need a high level of skill, called bhavanamaya-pañña — the discernment that comes from developing the mind in meditation — to gain release. Dispassion is a mental quality that's really delicious and nourishing. Whoever hasn't reached this level of the Dhamma has eaten only the rind of the fruit, without knowing the taste and nourishment of the flesh. The good part of the flesh lies deep. The upadhi-kilesas, or acquisition-defilements in the mind, are ignorance, craving, and clinging. If we reach the level where we see the Dhamma for ourselves within us, then we take responsibility for ourselves. We can take care of these things on our own, just as when we come of age in terms of the law. If we can get our minds into the first jhana, we can let go of the five hindrances. Most of us are like inexperienced children: when we eat fish or chicken, we eat the bones along with the flesh because we haven't developed any intuitive insight. When this insight arises, it's more dazzling than the light of a fire, sharper than a spear. It can consume anything: meat, bones, rice, husks — anything — because it's smart enough to pound everything into a powder. It can consume sights, sounds, smells, flavors, tactile sensations, and ideas. Good or bad, it isn't picky. It can eat them all. If people praise us, we can use it to nourish the heart. If they criticize us, we can use it to nourish the heart. Even if the body is in terrible pain, the heart can be at its ease, for it has all the utensils it needs to fix its food properly: grinders, mixers, steamers, pots, and pans. The fog of igno- rance will scatter. Everything that ties us down — the nails of the five clinging-aggregates, the three ropes (love for spouse, love for children, love for material possessions), and the eight chains of the affairs of the world (loka-dhamma) — gain, loss, status, loss of status, praise, criticism, pleasure, and pain — will all fall away. Stupid people think that staying in jail is comfortable, which is why they keep on doing more and more evil. They see the world as pleasant and so they're like prisoners who don't want to get out of jail. As for people with discernment, they're like the caged quail who keeps looking for a way to get out of
  • 6. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7 the cage. As a result the chains that hold them down will fall away one link at a time. The eight affairs of the world are like the chains put on criminals to keep them bound. Stupid people think these chains are necklaces of gold to wear as ornaments. Actually, they're things that defile the mind. People who get tied down by them will never get away, because they're afraid they'll lose their wealth and status, afraid of criticism and pain. Anyone who is stuck on pleasure, who is afraid of criticism, will never manage to come to the monastery to practice. The Buddha saw that we're like monkeys tied to a chain. If we don't develop liberating insight, we'll never get free from our chains. We'll never make it to dispassion. In the first stage we let go of evil and start do- ing good. In the second stage we let go of evil and some forms of good. In the third stage we let go of everything, good and evil, because every- thing is fabricated by nature and thus undependable. We do good but we're not attached to it. When you let go, you have do it intelligently, and not in a ruinous way — i.e., by not doing good. You can't hold on even to your opinions, much less to material things. When you do good, you do it for the sake of the living beings of the world, for your children and grandchildren. You do everything in the best way possible, but you're not attached to it, because you know that all things fabricated are inconstant. This way your heart can be clear and bright like a jewel. If you get caught up on criticism or praise, you're fool- ish. It's like drinking other people's saliva. When you act rightly, there are people who will say that you're right and those who will say that you're wrong. When you act wrong, there are people who will say you're wrong and those who will say you're right. There's nothing constant about good or bad, for they're all nothing but fabrications. * Notes from a talk, April 21, 1953 ถ่ายภาพร่วมกันเป็นที่ระ ลึกกับอาจารย์พระครูสังฆ รักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร รอง เจ้าคณะอำ�เภอหนองหาน จ.อุดรธานี ประชุมคณะกรรมการ จัดงานวิสาขบูชา นานาชาติครั้งที่ 6 ของเมืองพิทส์เบิร์ก
  • 7. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana9 ทำ�บุญควรเลือกพระ เลือกวัดไหม ปุจฉา-กราบนมัสการพระอาจารย์ค่ะเคยได้ยินคำ�พูดว่า เวลาทำ�บุญหรือใส่บาตร ไม่ให้เลือกพระเลือกวัด แต่ ก็เคยอ่านเจอในหนังสือสวดมนต์ว่า ถ้าทำ�บุญหรือใส่บาตร กับพระที่มีศีลสูงกว่าก็ได้บุญกุศลมากกว่า ในบางครั้งตั้งใจ ทำ�บุญใส่บาตรเพื่ออุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ จึงอยาก ให้เค้าเหล่านั้นได้บุญมากเจ้าค่ะ อยากกราบเรียนถามพระ อาจารย์ว่า การเลือกพระหรือเลือกวัดทำ�ให้บุญกุศลน้อยลง ไหมเจ้าคะ หรือขึ้นอยู่กับจิตใจเราเจ้าคะ กราบขอบพระคุณ อย่างสูงเจ้าค่ะ วิสัชนา - มีพุทธพจน์ตอนหนึ่งว่า “บุคคลให้ทานใน ปุถุชนผู้ทุศีล พึงหวังผลทักขิณาได้พันเท่า ให้ทานใน ปุถุชนผู้มีศีล พึงหวังผลทักขิณาได้แสนเท่า ให้ทานในท่านผู้ ปฏิบัติเพื่อทำ�โสดาปัตติผลให้แจ้ง พึงหวังผลทักขิณานับไม่ ได้ประมาณไม่ได้ จะกล่าวไปใยในพระโสดาบัน ...ในพระ สกทาคามี ...ในพระอนาคามี ...ในสาวกของตถาคตผู้เป็น พระอรหันต์” พุทธพจน์ดังกล่าวไม่ได้ชี้ว่าควรทำ�บุญเลือก พระหรือเลือกวัด เพราะปุถุชนผู้มีศีล หรือพระโสดาบัน เป็นต้นนั้น เป็นได้ทั้งคฤหัสถ์และภิกษุ อันที่จริงพึงตระหนักว่า ทานที่ถวายแก่ภิกษุแบบ เจาะจงบุคคลนั้น มีอานิสงส์น้อยกว่าสังฆทาน หรือทานที่ ถวายแก่สงฆ์ (หมายถึงพระตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป หรือพระทั้ง วัด) ดังมีพุทธพจน์ว่า “เราไม่กล่าวว่า ทานที่เจาะจงบุคคล มีผลมากกว่าทักษิณาที่เป็นไปในสงฆ์โดยปริยายไร ๆ เลย” ดังนั้นเมื่อจะทำ�บุญเพื่ออุทิศกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ ควรทำ� สังฆทาน โดยจะทำ�ที่วัดไหนก็ได้ที่คุณมีศรัทธา หรือจะ ทำ�บุญอย่างอุคคตคฤหบดีก็ได้ ท่านเป็นอุบาสกคนสำ�คัญผู้ หนึ่งในสมัยพุทธกาลที่เป็นถึงพระอนาคามี ท่านมีศรัทธาใน ทำ�บุญควรเลือกพระ เลือกวัดไหม ทุกข์ใจที่ปากไม่ตรงกับใจ พระไพศาล วิสาโล
  • 8. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11 สงฆ์มาก เมื่อจะถวายทานก็ไม่เลือกหรือเจาะจงว่าจะถวาย รูปนี้มาก ถวายรูปนั้นน้อย แม้เทวดาจะมาบอกว่า พระรูปนี้ มีวิชชา ๓ อภิญญา ๖ ส่วนพระรูปนั้นเป็นผู้ทุศีลมีบาปก็ตาม ทั้งนี้เพราะท่านมุ่งถวายทานแก่สงฆ์เพื่อให้เป็นประโยชน์ ทั่วถึงแก่ภิกษุทุกรูป ท่านจึงได้ชื่อว่าเป็นเอตทัคคะหรือผู้ เป็นเลิศกว่าอุบาสกทั้งปวงในด้านการอุปัฏฐากภิกษุสงฆ์ ทุกข์ใจที่ปากไม่ตรงกับใจ ปุจฉา - ปาก ไม่ตรงกับ ใจ ทุกข์มากเลย ค่ะ ทำ�อย่างไรจึง จะมั่นใจในสิ่งที่ ตนคิด ทุกวันนี้ เหมือนคนโกหก ทำ�ให้ขาดความเชื่อมั่นไปเรื่อยๆค่ะ แก้ไข อย่างไรดีเจ้าคะ วิสัชนา - คุณกลัวที่จะแสดงความเห็นแตกต่างจากคน อื่น เพราะคิดไปว่าคนอื่นจะไม่พอใจคุณ หรือตำ�หนิติ เตียนคุณ ความเป็นจริงอาจไม่เป็นเช่นนั้นก็ได้ แต่เป็นการ ปรุงแต่งของคุณไปเอง คุณลองพูดออกมาดัง ๆ ว่าคุณคิด อย่างไร แล้วคุณจะพบว่ามันไม่ได้เป็นอย่างที่คุณนึกกลัว เลย หรือพบว่ามันไม่ได้เลวร้ายอย่างที่คุณจิตนาการเลย ถ้า คุณไม่แน่ใจ ก็ลองพูดแสดงความเห็นต่างในเรื่องที่ไม่สลัก สำ�คัญดูก่อนเช่นเรื่องอาหารการกินการท่องเที่ยวฯลฯเพื่อ สะสมความกล้า หากทำ�อย่างนี้บ่อย ๆ ความกลัวจะลดลง และกล้า แสดงความคิดเห็นในเรื่องที่สำ�คัญหรือเป็นงานเป็นการมาก ขึ้น ถึงจุดหนึ่งคุณจะพบว่า แม้คนอื่นจะไม่เห็นด้วยกับคุณ หรือไม่พอใจคุณก็เป็นเรื่องของเขาอีกทั้งไม่ใช่เรื่องใหญ่โต อะไรเลย ญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก พบปะพี่น้องชาววัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และถ่ายภาพร่วมกันเป็นที่ระลึก
  • 9. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13 เพชรจาก......พระไตรปิฎก อลคัททูปมสูตร มู. ม. (๒๗๘) เรียนไม่เป็นก็มีโทษ ปัญหา คนทั่วไปเข้าใจว่า การเรียนธรรมเป็นของดี มี ประโยชน์ แต่ถ่ายเดียว ใครจะทราบว่าการเรียนธรรมก่อให้เกิด ทุกข์โทษ มีหรือไม่? พุทธดำ�รัสตอบ “.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุรุษเหล่าบาง พวกในพระธรรม วินัยนี้ ย่อมเล่าเรียนธรรมคือ สุตตะ เคยยะ เวย ยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ บุรุษเหล่านั้นเล่าเรียนธรรมนั้นแล้ว ย่อมไม่ไตร่ตรอง เนื้อความ แห่งธรรมเหล่านั้น ด้วยปัญญา ธรรมเหล่านั้นย่อมไม่ควรซึ่งการ เพ่งแก่บุรุษเปล่าเหล่านั้น ผู้ไม่ไตร่ตรองเนื้อความด้วยปัญญา บุรุษเปล่าเหล่านั้น เป็นผู้มีความข่มผู้อื่นเป็นอานิสงส์ (เรียนเพื่อ ข่มผู้อื่น) และมีการเปลื้องเสียซึ่งความนินทาเป็นอานิสงส์ (เรียน เพื่อให้คนตำ�หนิมิได้) ย่อมเล่าเรียนธรรม ก็กุลบุตรทั้งหลายย่อม เล่าเรียนธรรมเพื่อประโยชน์อันใด บุรุษเหล่าเหล่านั้นย่อมไม่ได้ เสวยประโยชน์แห่งธรรมนั้น ธรรมเหล่านั้นอันบุรุษเหล่านั้นเรียน ไม่ดีแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์สิ้นกาล นาน ข้อนั้นเป็นเพราะอะไร เพราะธรรมทั้งหลายอันตนเรียนไม่ ดีแล้ว “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีความต้องการ ด้วยงูพิษเสาะหางูพิษ เที่ยวแสวงหางูพิษ เขาพึงพบงูพิษตัวใหญ่ พึงจับงูพิษนั้นที่ขนดหรือที่หาง งูพิษนั้นพึงแว้งกัดเขาที่มือ ที่แขน หรือที่อวัยวะใหญ่น้อยแห่งใดแห่งหนึ่ง เขาพึงถึงความตาย หรือ ความทุกข์ปางตาย มีการกัดนั้นเป็นเหตุข้อนั้นเป็นเพราะเหตุไร เพราะงูพิษตนจับไม่ดีแล้ว” ญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก ถวายไทยธรรมแด่หลวงพ่อมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.
  • 10. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15 ความสุขในชีวิตเป็นสิ่งที่ใครต่างก็อยากมี ยิ่งมีได้มากเท่าไรก็เหมือน ได้กำ�ไรชีวิตมากเท่านั้น โดยเฉพาะในยุคที่มีการแข่งขันสูงอย่างทุกวันนี้ ความสุขก็ดูเหมือนจะเป็นที่ต้องการมากขึ้น แต่ทราบกันไหมคะว่า หลาย ๆ พฤติกรรมที่เราทำ�จนติดเป็นนิสัย บางทีก็เป็นตัวบ่อนทำ�ลายความสุขในชีวิต เราโดยที่เราไม่ทันได้รู้ตัวเชียวล่ะ ส่วนพฤติกรรมทำ�ลายความสุขที่ว่านั้นจะมี อะไรบ้าง ตามมาดูข้อมูลจากเว็บไซต์ Marc and Angle Hack Life กันได้เลย แล้วก็ขจัดนิสัยที่ทำ�ลายความสุขเราไปพร้อม ๆ กันด้วยนะ ลุย ! 1.สนใจเรื่องคนอื่นมากกว่าเรื่องตัวเอง เมื่อใดก็ตามที่เราเทความสนใจไปที่เรื่องของคนอื่น จนลืมสนใจเรื่อง ราวของตัวเอง เมื่อนั้นจะเกิดการเปรียบเทียบขึ้นมาทันที และการเปรียบเทียบ ที่ว่า ก็มีแนวโน้มจะลดทอนความสุขในชีวิตของเราได้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ถ้า คุณมองมัวแต่สนใจความสำ�เร็จของคนอื่น แล้วลืมกลับมามองสิ่งที่ตัวเองมี แถมไม่ยอมขยับเขยื้อนชีวิตให้ก้าวหน้าไปในแบบของตัวเอง คุณก็คงได้แต่ ยืนมองคนอื่นเขาปีนขึ้นไปในระดับที่สูง ในขณะที่ตัวเองยังย่ำ�อยู่กับที่ จนใน ที่สุดก็เกิดความทุกข์ท้อใจได้ ดังนั้น พยายามรับข้อมูลที่ไม่เป็นประโยชน์กับตัวเองให้น้อย แล้ว สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้ตัวเองเยอะ ๆ ดีกว่า ที่สำ�คัญคุณต้องเชื่อมั่น และศรัทธา ในความสามารถของตัวเองให้มาก รวมทั้งอย่าปล่อยให้ใครมามีอิทธิพลกับ ชีวิตคุณจนคุณสูญเสียการควบคุมตัวเองเด็ดขาด เพราะถ้าหากคุณมีความมุ่ง มั่นตั้งใจจริง ก็คงไม่มีอะไรมาขัดขวางไม่ให้คุณพัฒนาตัวเองแน่ ๆ 2.รอจังหวะเหมาะสม ที่ไม่มีวันมาถึง หากคุณเป็นคนมีความฝัน แต่กำ�ลังรอให้ถึงช่วงเวลาที่เหมาะสมเสีย ก่อน ถึงจะเริ่มลงมือทำ�ตามฝัน และเป้าหมายที่วางไว้ แบบนี้เห็นทีคงไม่ได้ เริ่มต้นสานฝันสักทีแน่ ๆ เพราะเอาเข้าจริง ๆ ช่วงเวลาที่เหมาะสม ที่คุณกำ�ลัง รออยู่ อาจไม่มีจริงก็ได้ แต่สิ่งที่ทำ�ให้คุณรอมาจนถึงทุกวันนี้ ก็เป็นเพียงข้อ อ้างที่คุณสร้างขึ้นมาเองเท่านั้น แล้วอย่างนี้จะเดินไปถึงเส้นชัย แล้วมีความสุข กับมันได้เมื่อไหร่ล่ะ ฉะนั้นนับจากนี้ต่อไป อะไรที่คุณตั้งเป้าเอาไว้ ก็ลงมือ เลยดีกว่า ผัดวันประกันพรุ่งไปเรื่อย ๆ เดี๋ยวจะสายไปซะก่อนนะจ๊ะ 3.ทำ�งานแบบเช้าชาม เย็นชาม การทำ�งานเป็นชีวิตอีกครึ่งหนึ่งของเราก็ว่าได้ ดังนั้น ใครที่รู้สึกไม่ แฮปปี้กับชีวิตการทำ�งานตอนนี้นัก อาจจะต้องปรับทัศนคติใหม่ ก่อนที่ความ สุขของคุณจะหดหายมากไปกว่านี้ ซึ่งคุณอาจจะเปลี่ยนมุมมองมาคิดว่า งาน เป็นสิ่งที่ทำ�ให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้น มีคุณค่าในตัวเองมากกว่าเดิม มีเงินที่สามารถ บันดาลปัจจัยจำ�เป็นต่าง ๆ ในชีวิตให้คุณได้ แถมงานยังช่วยให้คุณจัดการชีวิต ตัวเองได้อย่างมีระบบมากขึ้นอีกต่างหาก แต่หากใครไม่ไหวกับงานที่ทำ�อยู่ ตอนนี้จริง ๆ ก็ยังไม่สายที่จะหางานที่ให้ความสุขกับคุณมากกว่านี้นะคะ ไม่ เชื่อลองดูสิ 4.เก็บกดความเกลียดชังไว้ในใจ เมื่อความรู้สึกเกลียดเกิดขึ้นแล้ว เราก็ยากที่จะลบเลือนมันออกจาก 10 พฤติกรรมวายร้าย ทำ�ลายความสุขโดยไม่รู้ตัว ! เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
  • 11. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17 ใจไปได้ง่าย ๆ อีกทั้งเมื่อเรารู้สึกเกลียดอะไร เราก็มักจะจดจำ�สิ่งนั้นได้ดี และ ใช้เวลาคิดวกไปวนมากับมันได้นานมากขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้ก็แน่นอนว่าไม่ส่ง ผลดีกับคุณไม่ว่าทางใดก็ตาม แถมบางทีเรายังผูกใจเจ็บแค้นมาเนิ่นนาน นาน จนบางทีก็ลืมไปแล้วว่าโกรธเกลียดกันด้วยเรื่องอะไร จนสุดท้ายความโกรธ เกลียดในจิตใจก็คั่งค้างอยู่ในความรู้สึก นานไปก็สร้างความทุกข์ให้คุณอย่าง มหาศาล โดยที่ไม่ได้มีใครเจ็บช้ำ�ไปกับคุณด้วยเลย ดังนั้นพยายามปล่อยวาง ทุกเรื่องที่ผ่านเขามาในชีวิต แล้วอยู่อย่างมีความสุขดีกว่านะคะ 5.ขังตัวเองไว้กับความวิตกกังวล หากคุณลองมองย้อนกลับไปสัก 2-3 ปี คุณคงจะได้เห็นว่าตัวเอง ปล่อยโอกาสให้หลุดลอยไปอย่างไม่มีวันหวนกลับมามากมายเหลือเกิน เพียง แค่เพราะความวิตกกังวลและความกลัวที่เกินเหตุของคุณเองเท่านั้น ทำ�ให้คุณ พลาดโอกาสมีความสุขแบบสุดเหวี่ยงไปอย่างน่าเสียดาย อีกทั้งยังต้องมานั่ง รู้สึกผิด และเสียใจที่ตัดสินใจผิดพลาดในวันนั้นซะอีก ดังนั้น หากคุณอยากมีอิสระ และมีความสุขในชีวิตมาก ๆ ต่อไปนี้ก็ ลองปล่อยใจจากความวิตกกังวล และความกลัวเสียที แล้วเริ่มต้นทำ�อะไรใหม่ ๆ ที่ในชีวิตนี้ไม่เคยได้ทำ�บ้างก็ได้ 6.ดื้อรั้นดันทุรัง ยอมรับมาเถอะว่า บางเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต เราก็รับรู้และคาด เดาได้ลาง ๆ ถึงความยากลำ�บากของมัน แต่ใจก็ยังดันทุรัง และรั้นจะสู้อย่าง หัวชนฝา โดยที่ไม่ได้อาวุธที่มีอยู่ในมือเลย ซึ่งแบบนี้ก็คงไม่แคล้วต้องเจ็บ ตัวกลับมาแน่ ๆ จริงไหมล่ะ นักจิตวิทยาก็เลยแนะนำ�ว่า วันไหนที่เจอเรื่องยุ่ง ยาก และคุณไม่สามารถจัดการแก้ปัญหาได้ในทันที ให้เลิกดันทุรังซะ จากนั้น ก็ปล่อยใจให้สบาย เพราะเมื่อคุณมีจิตใจที่แจ่มใสขึ้น ปัญญาก็จะเกิด และใน ที่สุดก็อาจจะหาทางออกให้ปัญหาได้อย่างคาดไม่ถึงเลยทีเดียว 7.ค้นหาความสุขระยะสั้น นักจิตวิทยา กล่าวไว้ว่า ในสมอง ของคนเรามีความคิด ที่ส่งผลต่อการกระทำ� อยู่ด้วยกัน 2 อย่าง นั่น ก็คือ ความคิดชั่ววูบ และความคิดที่ยั่งยืน ซึ่งแบบแรกจะเกิดขึ้น ในชั่วแวบของสมอง มีปัจจัยมาจากความรู้สึกแบบฉับพลัน และแรงกระตุ้นเร้าจากสิ่งรอบข้าง แต่ ความคิดแบบยั่งยืน จะเกิดโดยผ่านกระบวนการไตร่ตรองจากสมองมาอย่าง ดีแล้ว แต่ก็แปลกที่คนส่วนใหญ่มักจะสับสนระหว่าง 2 ความคิดนี้เป็นอย่าง มาก และชอบคิดว่าความรู้สึกเพียงชั่วแวบ คือความสุขที่ตัวเองต้องการจริง ๆ และต่างก็โหยหาความรู้สึกชั่วแวบกันให้ควัก ทั้ง ๆ ที่จริงแล้วความรู้สึกแบบ ฉับพลัน มีแนวโน้มจะเป็นความสุขในระยะสั้นกับชีวิตซะมากกว่าด้วยซ้ำ� ส่วนความรู้สึกแบบยั่งยืนต่างหาก ที่จะทำ�ให้คุณเป็นสุขอย่างมั่นคง 8.ใจร้อนและกดดันตัวเองจนเกินไป เราเชื่อว่าหลายคนอยากเปลี่ยนแปลงชีวิตตัวเองให้ดีขึ้น แต่ยิ่งพยายาม เปลี่ยนแปลงเท่าไร กลับยิ่งรู้สึกเหนื่อย ท้อ และไร้ความสุขมากเท่านั้น ซึ่งอาจ จะเป็นเพราะว่า คุณใจร้อน และกดดันตัวเองมากเกินไปหรือเปล่า จึงทำ�ให้ รู้สึกเหมือนวิ่งวนอยู่ในกรอบเหนื่อยล้าแต่หาทางเดินต่อไปไม่ได้สักทีฉะนั้น คงดีกว่าหากจะค่อย ๆ ปรับจากสิ่งเล็ก ๆ ในชีวิตก่อน ทำ�ไปเรื่อย ๆ ไม่ต้องรีบ ร้อน ให้โอกาสตัวเองได้หยุดพัก และไตร่ตรองบางอย่างให้ละเอียดถี่ถ้วนกว่า นี้อีกหน่อย จะได้รู้สึกสบายขึ้นนะคะ
  • 12. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 กิจกรรมเดือนมกราคม 1ม.ค.2557ทำ�บุญขึ้นปีใหม่มีญาติธรรมชาวเมืองพิทส์เบิร์กมาร่วมทำ�บุญ ต้อนรับปีใหม่จำ�นวนมาก ขอให้ทุกท่านเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงานตลอดปี ใหม่นี้ 7 ม.ค. - 11 ก.พ.2557 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ได้รับนิมนต์ไปสอน สมาธิให้กับสมาคมครู(American Federation of Teachers) กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. ทุกๆ วันอังคารของเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง 17-19ม.ค.2557คุณรัตนาเจริญตาพร้อมน้องเจ้าภาพทอดกฐินสามัคคีวัด ป่าธรรมรัตน์ปีที่แล้ว หาเวลาว่างมาถือศีลปฏิบัติธรรมที่วัด ขออนุโมทนาบุญด้วย 20 ม.ค. 2557 คุณเจมส์ เบอร์มิ่งแฮม มีประชุมที่กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. แวะ มารับพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ เพื่อเดินทางไปสอนสมาธิ ขออนุโมทนาบุญให้ เจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป 21 ม.ค.2557 พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร รองประธานอำ�นวยการวัด ป่าธรรมรัตน์, รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองหาน จ.อุดรธานี เดินทางมาปฏิบัติศาสนกิจ สรุปข่าว เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม 9.ไม่ยอมตัดใจจากคนที่ทำ�ให้เจ็บปวด บางครั้งเราก็เลือกที่จะเดินออกห่างจากใครสักคน เพียงเพราะไม่ อยากทนเจ็บอีกต่อไป แต่พฤติกรรมที่คนส่วนใหญ่ทำ� คือ อยู่ห่าง แต่ไม่ยอม ตัดใจจากเขาสักที ซึ่งแบบนี้นี่ล่ะที่ทำ�ให้คุณต้องจมอยู่กับความทุกข์ที่ไม่มีวัน สิ้นสุด แถมยังพาตัวเองไปเป็นของตายให้เขาวกกลับมาทำ�ร้ายซ้ำ�แล้วซ้ำ�เล่า ฉะนั้น หากอยากหลุดพ้นจากบ่วงแสนทุกข์นี้สักที คุณก็ควรต้องมีความเด็ด ขาดให้มากกว่านี้ และแม้ว่ามันจะทำ�ได้ยาก แต่ก็คงไม่ยากเกินกว่าที่จะรักตัว เองให้เป็นจริงไหมล่ะ 10.มองทุกอย่างเพียงผิวเผิน หนังสือที่มีหน้าปกสวยไม่ได้หมายความว่าจะมีเนื้อหาที่โดนใจคุณ เสมอไป หรือหนังสือที่ดูเก่าซอมซ่อก็อาจจะมีเนื้อหาที่น่าสนใจมากก็ได้ ซึ่ง ทุกอย่างขึ้นอยู่กับมุมมองของแต่ละคน และกว่าเราจะทำ�ความรู้จักกับบาง อย่างให้ลึกซึ้ง ก็ควรต้องใช้เวลาศึกษามันให้ละเอียดถี่ถ้วน จะได้มีความสุข กับสิ่งที่เลือกได้นาน ๆ ไม่ต้องเสี่ยงมาทุกข์ใจกับการตัดสินใจที่ผิดพลาด เพราะมองทุกอย่างเพียงผิวเผินยังไงล่ะ น้องเบล มาทำ�บุญถวายสังฆทาน กับเพื่อน โดยมีป้าสมทรง ฟ็อก เป็น สารถีพามา ขอให้ประสบความสำ� เร็จในการเล่าเรียนศึกษา
  • 13. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21 ที่สหรัฐอเมริกา มีเมตตาให้คำ�ปรึกษาเรื่องการดำ�เนินการสร้างวัดที่เป็นประโยชน์ มาก ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง กิจกรรมเดือนกุมภาพันธ์ 2 ก.พ.2557 ร้านไทยโกเมท มีคุณทิม, คุณวิลาวรรณ, คุณสมทรง, และคุณคิม มีธุระเดินทางไปกรุง วอชิงตัน,ดี.ซี. มีน้ำ�ใจขับรถพาพระ มหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ที่ต้องไปสอน สมาธิ และถือโอกาสไปกราบขอพร พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระวิเทศ- ธรรมรังษี(หลวงตาชี)อีกด้วย สาธุบุญ 9 ก.พ.2557 วันมาฆบูชา หรือ วันพระสงฆ์ เพราะพระสงฆ์ 1,250 องค์มาประชุมกันโดยไม่ได้นัดหมาย พระพุทธ องค์จึงทรงวางหลักของพระพุทธศาสนาไว้ ทางวัดได้จัดทำ�บุญ มีญาติโยมมาร่วม ทำ�บุญตักบาตร ฟังเทศน์ และทำ�สมาธิเป็นจำ�นวนมาก 13 ก.พ.2557 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ พระวิปัสสนาจารย์ประจำ�วัด ท่านเดินทางมาปฏิบัติศาสนกิจที่วัดป่าธรรมรัตน์ตั้งแต่กลางปี 2012 จนพาสปอร์ต ของท่านหมดอายุ จึงเดินทางกลับไปต่อพาสปอร์ตและถือโอกาสเยี่ยมเยือนครูบา อาจารย์ ญาติพี่น้องที่ประเทศไทย 13 ก.พ.2557 พระอาจารย์ปุญญะ และพระอาจารย์โสมะ จากประเทศศรี ลังกา ได้รับนิมนต์ฉันภัตตาหารเพลจากคุณโยมจำ�ลอง แม็คคาซี่ และคุณโยมมนัส แซนส์ หลังเพลแล้วได้มาเดินทางมาเยี่ยมวัด จึงถือโอกาสถวายจตุปัจจัยไทยธรรม แก่พระเถระทั้ง 2 รูป 24 ก.พ. 2557 ประชุมคณะกรรมการจากองค์กรชาวพุทธต่างๆ ในเมือง พิทส์เบิร์ก เพื่อวางแผนจัดงานวิสาขบูชานานาชาติประจำ�ปี 2014/2557 ซึ่งเป็นการ จัดงานวิสาขบูชาครั้งที่ 6 การประชุมครั้งแรกได้ตกลงแบ่งหน้าที่ให้แต่ละองค์กร ช่วยกันทำ�ในส่วนต่างๆ กิจกรรมเดือนมีนาคม 1 มี.ค.2557 พระครูสิริอรรถวิเทศ(พระมหาดร.ถนัด อตฺถจารี) ประธาน อำ�นวยการวัดป่าธรรมรัตน์ และพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล พระธรรมทูตวัดไทย กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เรียกประชุมคณะกรรมการวัดเรื่องการดำ�เนินการซื้อที่ดินสร้าง วัด เนื่องจากธนาคารยังไม่ปล่อยเงินกู้ให้กับทางวัด ที่ประชุมจึงมีมติให้ทำ�กิจกรรม เผยแผ่ด้านต่างๆ และสะสมกองทุนจัดสร้างวัดต่อไป 9 มี.ค.2557 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ นำ�ญาติโยมชาววัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กทำ�บุญถวายหลวงพ่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว อุปเสโณ) อดีตประธานผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช, เจ้าอาวาสวัดสระเกศฯ เพื่ออุทิศ ถวายหลวงพ่อผู้มีคุณูปการมากมายต่อชาติและพระศาสนา 18 มี.ค.2557 คณะกรรมการองค์กรชาวพุทธในเมืองพิทส์เบิร์กประชุม วิสาขนานาชาติครั้งที่ 2 มีมติจัดงานวิสาขบูชานานาชาติ วันที่ 18 พฤษภาคม 2557 - ทุกวันพฤหัสบดีที่ 2 และ 4 ของเดือน พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ไป สอนสมาธิและธรรมะโปรดญาติธรรมในเรือนจำ�ของเมืองพิทส์เบิร์ก คุณสมทรง ฟ็อก, คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนส์, และคุณคิม ราม วาน มาถวายภัตตาหารเพลแด่ครูบาอาจารย์ที่เดินทางมาประชุมที่วัด
  • 14. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23 รายรับ-รายจ่าย(Income-Spend) ประจำ�เดือนมกราคม-มีนาคม ปี 2557/2014 รายรับเดือนมกราคม 2557 Jim & Pimjai Birmingham(Donation to buy the land) $ 150.00 นางนฤมล-นายจาเร็ต โคซาน $ 40.00 Boonrak & Ratana Tantisira(Donation to buy the land) $ 100.00 คุณจำ�เริญ รมยานนท์ (ทำ�บุญซื้อที่) $ 20.00 Sukanya Romyanon(Donation to buy the land) $ 50.00 Ekanong & Ted Rader(Donation to buy the land) $ 60.00 ปิยาภรณ์-ริชาร์ด เป็ปเปอร์ $ 20.00 Phimonrat Khongkluan(Donation to buy the land) $ 40.00 Greg & Nina and family(Donation to buy the land) $ 60.00 น้อย แม็คคาซี่, จินดา Ebneter $ 20.00 Somsong Fox (ทำ�บุญซื้อที่ดินรายเดือน) $ 100.00 Phramaha Piya Jundadal(ทำ�บุญซื้อที่ดินรายเดือน) $ 100.00 Manus Sands $ 100.00 Manus Sands $ 50.00 Dollawan Nguyen $ 100.00 ยายจูมศรี จันทรักษา และลูก $ 10.00 แม่รำ�ไพ ราชพงษ์ พร้อมลูกหลาน $ 50.00 Jintana Chaveangchavalit $ 20.00 Jeeranance Boonpok $ 20.00 สุพจน์ จำ�ปาโพธิ์ $ 30.00 Lee & Supamard Anderson $ 20.00 วัลภา สิทธิกุล $ 200.00 Supannee Sattawatrakul $ 50.00 คุณวีรพร กฤษฎานนท์ และครอบครัว 300 บาท คุณเกวลี พิมพ์ดี 1,500 บาท คุณนลินี เวรวิริยกุล 500 บาท คุณแม่อำ�นวย ซ้ายศรี พร้อมบุตรธิดา 500 บาท คุณบุญเพ็ง-ไพบูรณ์ วุ้นสี 500 บาท ดร.นิตยา สุวรรณศรี 1,000 บาท Paitoon Lluengputsa 500 บาท Veera Veeraza 1,500 บาท คุณจิตติมา มั่นสิริไพบูลย์ 300 บาท Bunyawaree Prasoetsri 300 บาท Sopawadee PNS 500 บาท คุณลักขณา ธเนศอนันต์ และครอบครัว 500 บาท Chaovanon Chongpol และครอบครัว 1,000 บาท คุณอัญชนา ม่วงศิริ และครอบครัว 500 บาท คุณนายิกา ปัญญาวัฒนชัย 500 บาท คุณปกขวัญ กนกอนันต์ และครอบครัว 600 บาท คุณนิธิ-สุภาพิศ พิชากุล และครอบครัว 500 บาท คุณชฎาพร รอดพุก 500 บาท คุณชฎารัตน์ พิพัฒนนันท์ 100 บาท
  • 15. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25 คุณศศิธร มงคลศรีพัฒนา 300 บาท Thai Papaya Restaurant LLC $ 1,000 Thai Papaya Restaurant LLC $ 751.50 Somdee Budhasen $ 20.00 Tae & Suwattana Miller and family $ 500.00 Thidaratn & Neal Degregorio $ 112.00 คุณนิตยา Dunn $ 100.00 Sommai Adams $ 70.00 คุณดอกไม้ $ 40.00 Tongsai Gaskill $ 100.00 คุณอนันต์ ฤทธิ์มหา-อ.กู่แก้ว อุดรธานี $ 20.00 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม $ 20.00 Penchan Klapfenstein $ 200.00 Pachara Tuangsethavut $ 200.00 คุณเมธินี ศรีบุญเรือง $ 200.00 คุณสุภาภรณ์ อุดมลักษณ์ $ 10.00 คุณสุรีวรรณ สงวนสุข 1,000 บาท คุณละมัย รองสนาม และญาติ 2,500 บาท คุณมณี จูประเสริฐ 900 บาท คุณโฉมญา กรทอง 300 บาท พระปลัดศุภวิชย์ ปญฺญาธโร 1,000 บาท คุณชด วรรณางกูร 1,000 บาท แม่ชีจินดารัตน์ วาระคำ�นึง และญาติ 1,000 บาท Ratanarojana & Apinya Kunjara-Na-Ayudhya $ 13,600.00 ดร.เสาวคนธ์ จันทร์ผ่องศรี 30,000 บาท แม่ชีนลินรัตน์ สุทธิธรรมวิชญ์ 5,000 บาท Bua. Inc., Bangkok Garden $ 300.00 Benjamard Inc., Thai Erawan $ 500.00 Sommai King $ 10.00 Tassanee Tassapinit $ 100.00 Kingkeaw C. May $ 100.00 คุณบุญทิพย์ $ 40.00 Dokmai $ 20.00 Ampan Barnse $ 10.00 Wipaporn Miller $ 10.00 Scott & Anong Roberson $ 100.00 Nayika Kamales $ 100.00 Danial & Toy Winwood $ 20.00 คุณมนัส ดี แซนส์ $100.00 คุณศศิธร เหรียญมณี และครอบครัว $ 40.00 Banana Blossom $ 75.00 PR Cleaning Service Inc. $ 540.00 คุณพชรพิชญ์ พรหมอุปถัมภ์ และครอบครัว $ 20.00 คุณนวรัตน์ วงศ์อารยะ และครอบครัว $ 20.00 คุณจิรายุ วงศ์โชคประสิทธิ และครอบครัว $ 20.00 Debra Ridgley $ 20.00 American Federation of Teachers $ 500.00 Thai Gourmet Inc. $ 10,000.00
  • 16. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 คุณนิธิกร นาคแกมทอง $ 20.00 ครอบครัวปรีชาวิบูลย์ $ 60.00 คุณเริงทิพย์ เดชน้อย $ 20.00 Natthanawan Panmanee $ 10.00 คุณวิศณุภรณ์ โสมรักษ์ $ 20.00 Jim & Pimjai Birmingham $ 150.00 คุณมนัส ดี แซนส์ $ 100.00 คุณมนัส ดี แซนส์ $ 50.00 Somsong Fox $ 100.00 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ $ 100.00 Karn Prangchaikul $ 100.00 คณะนักศึกษา $ 31.00 พชรพิชญ์ พรหมอุปถัมภ์ $ 20.00 ต้น $ 20.00 วันทิพย์ ขาวสะอาด $ 21.00 Srinya & Nirali $ 20.00 Pittsburgh Thai Restaurant $ 100.00 คุณวรรณนิภา วัฒโนภาส,วริษยา ชะม้อย,กฤษฎา ท่าพระเจริญ$ 20.00 Settawit Poochaya $ 10.00 Nayika Kamales $ 100.00 Jumlong Megyesy $ 100.00 Chaloemwut Sittiboon $ 20.00 Chaloemwut Sittiboon $ 30.00 Mr.Arsa Sangsri $ 30.00 คุณละมัย รองสนาม 50,200 บาท Thai Spoon LLC $ 100.00 Sukanya Romyanon $ 50.00 Nai Lee $ 22.00 พงศธร สายเพ็ชร์ $ 10.00 Kittikoon & Phichalai Family $ 1,500.00 PEA 2014 รุ่น 14 Smartgrid $ 320.00 Kittima Franks $ 100.00 คุณแม่นกแก้ว ศรีจริยา,คุณแม่ฝุ่น อินสว่าง $ 50.00 Perapat-Chatchaya Uthaisri $ 100.00 ประจำ�เดือนมีนาคม พ.ศ.2557 คุณแม่กิ่งแก้ว กิตติคุณ $ 500.00 James & Pimjai Birmingham $ 150.00 ครูสาวิกา แสนกลาง และนักเรียนชั้นม.3/5 $ 100.00 คุณเอมี่-คุณจอนห์ ลี, ด.ญ.วาเนสซ่า-ด.ช.โจนาทาน คาลาโบล $ 300.00 คุณสุวิน-วรวีร์-สุชีพา-เกษมสิทธิ์ นุ่นชะนา $ 80.00 Mr.Nontalee Narongrit $ 10.00 คุณวิรัตน์-เพ็ญศิริ-เก่ง แจ่มจันทรา และครอบครัว $ 100.00 น.ส.เด่นลดา-นางลัดดา ปัทมดิลก, นางภัทรพร อุทัยธรรม และ ครอบครัว, น.ส.อารดา บุญสงฆ์ $ 40.00 คุณพ่อสุวิน-คุณแม่วรวีร์-น.ส.สุชีพา-นายเกษมสิทธิ์ นุ่นชะนา $ 20.00 Kingkarn & Jeremy Debon $ 40.00 Nalinrat & Willy Brun $ 100.00 Nayika Kamales $ 100.00
  • 17. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29 Gary L. Powers $ 500.00 Manus Sands $ 100.00 Robert C. & Manee Rudolph, Arnon & Ornuma Bunsopa $ 200.00 Michael D. Sciulli & Tanaporn Jitsawang $ 100.00 Phramaha Piya Jundadal and family $ 100.00 Manus Sands $ 100.00 Somsong Fox $ 100.00 Athip Wongsanao $ 40.00 คุณเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ $ 100.00 Thai Spoon LLC $ 100.00 Phimonrat Khongkluan $ 30.00 Manus Sands $ 50.00 Parinya S. Spry $ 50.00 Lisa $ 6.00 รายจ่ายเดือนมกราคม 2557 01/01/2014 Nationwide $ 100.00 01/02/2014 Duquesne light $ 77.60 01/07/2014 ค่ารถบัส-รถไฟไปสอนสมาธิที่ดีซี $ 234.00 01/07/2014 Comcast $ 50.00 01/10/2014 Peoples $ 262.76 01/19/2014 Guardian $ 31.95 01/19/2014 PWSA $ 36.49 01/22/2014 ค่าพิมพ์โบว์ชัวร์/ใบอนุโมทนาบัตร 18,500 บาท 01/23/2014 ถวายพระมหาสายันต์ไปประเทศไทย $ 500.00 01/24/2014 ซื้อเทปใส/แฟ้มเอกสาร/น้ำ�มัน $ 60.40 01/25/2014 Post office $ 116.96 รายจ่ายเดือนกุมภาพันธ์ 2557 02/07/2014 Peoples $ 375.23 02/07/2014 Comcast $ 65.00 02/08/2014 ซื้อที่ตักหิมะ $ 24.44 02/12/2014 Erie Insurance $ 103.50 02/15/2014 PWSA $ 60.00 02/21/2014 Guardian $ 31.95 02/21/2014 Air Ticket for Ajahns $ 1,000.00 02/25/2014 Commonwealth of Pennsylvania $ 125.00 02/27/2014 ค่าเครื่องอาจารย์มางาน $ 766.00 รายจ่ายเดือนมีนาคม 2557 03/07/2014 Peoples $ 295.00 03/17/2014 ซื้อตั๋วรถบัสถวายพระมาร่วมงาน $ 63.00 03/18/2014 Guardian $ 31.95 03/19/2014 ซื้อหมึกเครื่องพิมพ์หนังสือ $ 67.50 03/19/2014 ตั๋วเครื่องบินอาจารย์มางาน $ 191.00
  • 18. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana อนุโมทนาบุญ ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันจันทร์ Thai Cuisine, Thai Spoon, ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์ วันอังคาร คุณคิม วาน และเพื่อนๆ วันพุธ คุณพิมพ์ใจ-จิม เบอร์มิ่งแฮม และเพื่อนๆ วันพฤหัสบดี คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์ และเพื่อนๆ วันศุกร์ คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ วันเสาร์ คุณวิลาวรรณ อนันต์ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet วันอาทิตย์ ญาติโยมทุกท่านร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล ทุกเช้าวันจันทร์-เสาร์ คุณจำ�เนียร น้ำ�ใส, Siam Thai Restaurant *หมายเหตุ ในแต่ละวัน อาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตาม โอกาสจะเอื้ออำ�นวย อันนะโท พะละโท โหติ วัตถะโท โหติ วัณณะโท ยานะโท สุขะโท โหติ ทีปะโท โหติ จักขุโท. ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ 30 อนุโมทนาบุญพิเศษ คุณวิลาวรรณ อนันต์ วอง $ 100.00(ค่ากระดาษ/หมึก) คุณมนัส แซนส์ $ 50.00(ค่ากระดาษ/หมึก) คุณClarence-คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่ $ 50.00(ค่ากระดาษ/หมึก) คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม $ 100.00(ค่าน้ำ�มนรถ) คุณสมทรง ฟ็อก บริจาคกระดาษ 1 กล่อง กระดาษสี 5 รีม คุณเอมี่ ลี และครอบครัว บริจาคซีดีเปล่าและอื่นๆ คุณจันทิมา จิระเชิดชูวงษ์ บริจาคซีดีธรรมะ ญาติโยมทุกท่านที่ไม่ได้สามารถเอ่ยนามได้ทั้งหมด 31 คุณจำ�เนียร น้ำ�ใส ร้าน อาหารสยามไทย มาถวาย ภัตตาหารเช้าเป็นประจำ� ทุกวัน เว้นวันอาทิตย์ ถวาย ภัตตาหารเช้าพิเศษช่วงที่ อาจารย์พระครูสิริอรรถ วิเทศ และหลวงพ่อมหา สิทธิผล สิทฺธิผโล เดินทาง มาประชุมคณะกรรมการวัด
  • 19. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ทำ�บุญวันมาฆบูชา - Magha Puja Ceremony 2014 สอนสมาธิสมาคมครู - Meditation at American Federation of Teachers
  • 20. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ประชุมปรึกษาเรื่องการซื้อที่ดิน - Land Project Meeting ทำ�บุญถวายหลวงพ่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว อุปเสโณ)
  • 21. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37 ขอเชิญร่วมทำ�บุญ ประเพณีสงกรานต์(ปีใหม่ของชาวเอเชีย) ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันอาทิตย์ 6 เมษายน พ.ศ.2557 ********* เวลา 10.00 น. พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนร่วมกันสวดมนต์, รับศีล 5, พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ เวลา 10.30 น. พุทธศาสนิกชนร่วมกันทำ�บุญตักบาตรข้าวสุก เวลา 10.45 น. ฟังปาฐกถาในวันสงกรานต์, ถวายภัตตาหารเพลแด่ พระสงฆ์ เวลา 11.30 น. พุทธศาสนิกชนร่วมกันรับประทานอาหาร เวลา 12.30 น. ทำ�พิธีบังสุกุลรวมญาติ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว เวลา 13.00 น. พิธีสรงน้ำ�พระพุทธรูป, พระสงฆ์ และผู้ใหญ่ในเมืองพิทส์เบิร์ก ********* SONGKRAN FESTIVAL NEW YEAR CEREMONY ********* Songkran festival is the traditional New Year of South-East Asia. This is the time for Asian to pay homage to the Buddha images, clean their houses, and sprinkle water on their elders in a show of respect. What : Songkran Festival, New Year of South-East Asia. Where : Wat Padhammaratana, 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 When : Sunday, April 6, 2014 9.30 am – 2.00 pm, Free for the public. Info : 412-521-5095, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts Program 10.00 am Religious ceremony including chanting, request for five precepts, and Parita chanting 10.30 am Offering of food in the alms-bowl or Pindapata 10.45 am Dhamma Talk, lunch offering to the monks 11.30 am Lunch served to the guests 12.30 pm Pangsukula or lay a robe dedicated to a deceased person 01.00 pm Pouring of lustral water to honor the Buddha, the monks, and adults. *********
  • 22. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47 All are cordially invited to participate in the meditation programs and Buddhist activities at Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh) Activity Day Time 1. Chanting Daily Morning and Evening 05.30 - 6.30 a.m. 5.30 - 6.30 p.m. 2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m. 3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m. 4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m. All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further infor- mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095, E-mail : bmcpitts@hotmail.com, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Buddhist cul- ture and traditions - To be a center of all Buddhists, regardless of nationalities OBJECTIVES กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี ๒๕๕๗ ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่ วันพุธ ที่ 1 มกราคม 2557 ทำ�บุญวันมาฆบูชา วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน วันที่ 14-16 เมษายน 2557 ทำ�บุญวันสงกรานต์ วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน 2557 ทำ�บุญวันวิสาขบูชา วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม 2557 ร่วมทำ�บุญวันเกิด 89 ปี หลวงตาชี วันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน 2557 ทำ�บุญวันเข้าพรรษา วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม 2557 บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน วันที่ 3-10 สิงหาคม 2557 ปฏิบัติธรรมวันสารท วันที่ 19-21 กันยายน 2557 ทำ�บุญวันออกพรรษา/ทอดกฐิน วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม 2557 ทำ�บุญวันพ่อแห่งชาติ วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม 2557 ปฏิบัติธรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันพุธที่ 31 ธันวาคม 2557 Religious Ceremony 2014 New Year Celebration Wednesday, January 1, 2014 Makhapuja Ceremony Sunday, February 9, 2014 Meditation Retreat March 14-16, 2014 Songkran Festival Sunday, April 6, 2014 Visaka Puja Ceremony Sunday, May 11, 2014 Luangta Chi's Birthday Sunday, June 8, 2014 Asalha Puja & Rains-retreat Sunday, July 13, 2014 Novice Summer Camp August 3-10, 2014 Sart Meditation Retreat September 19-21, 2014 Rains-retreat ending /Kathina Ceremony Sunday, October 19, 2014 Father’s Day Ceremony Sunday, December 7, 2014 Meditation Retreat Wednesday, December 31, 2014