SlideShare a Scribd company logo
1. โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่องบุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงาน
เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
ผู้จัดทา
นายนันธวัฒน์ ด้วงโคตะ เลขที่ 4
นายพลวัฒน์ พลทัศน์ เลขที่ 5
นายรัฐพงษ์ สมน้อย เลขที่ 6
นายอนุรักษ์ โตชมภู เลขที่ 11
นายอภิสิทธิ์ เขียวมา เลขที่ 12
ครูที่ปรึกษา
นายอัครวัติ ดุริยกรณ์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
โรงเรียนเชียงเพ็งวิทยา
อาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
2.
JUL
5
บทคัดย่อ
ผู้จัดทำ 1.นายนันทวัฒน์ ด้วงโคตะ
2.นายพลวัฒน์ พลทัศน์
3.นายรัฐพงษ์ สมน้อย
4.นายอนุรักษ์ โตชมภู
5.นายอภิสิทธิ์ เขียวมา
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/1
ครูที่ปรึกษำ นายอัครวัต ดุริยกรณ์
โรงเรียน เชียงเพ็งวิทยา ตาบลเชียงเพ็ง อาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี
บทคัดย่อ
โครงงาน เรื่อง
บุญกิริยาวัตถุ10จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาหลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาในเรื่องของบุญกิริยาวัตถุ10และอง
ค์ความรู้
คือทาให้นักเรียนในโรงเรียนได้รู้จักหลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาเรื่องบุญกิริยาวัตถุ10การกระทา
ที่เป็นบุญ มีอยู่10อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือหมวดทาน หมวดศีล
หมวดภาวนา โดยจะเป็นแนวทางการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมในทางพระพุทธศาสนาและขนบ
ธรรมเนียมของไทย จากการศึกษาดังกล่าวคณะผู้จัดทาจึงจัดทาโครงงานเรื่องนี้ขึ้น
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
3.
JUL
5
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกำศ
โครงงานเรื่องบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครูอัครวัต ดุริยกรณ์
ที่ให้คาปรึกษาและแนะนาช่วยเหลือและให้ความรู้ข้อมูลในการทาโครงงาน
ขอขอบคุณกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่เอื้อเฟื้อข้อมูลในการปฏิบัติงาน
ขอขอบคุณ เพื่อนๆที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผู้จัดทา
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
4.
JUL
5
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 1
บทนำ
1.หลักกำรและเหตุผล
“บุญกิริยาวัตถุ 10”เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนตามหลักธรรมขงพระพุทธศาสนา หมายถึง
การกระทาที่เป็นบุญ มีอยู่10อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือหมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา
บุญกิริยาวัตถุ3หมวดทาน 1.การทาทาน (ทานมัย) 2.การอุทิศบุญกุศลให้ผู้อื่น
(ปัตติทานมัย) 3.การยินดีในความดีของผู้อื่นหรืออนุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย) หมวดศีล 4.การรักษาศีล
(สีลมัย) 5.มีความอ่อนน้อมต่อผู้อื่น (อปจายนมัย) 6.ช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ (เวยยาวัจจมัย)
หมวดภาวนา 7.การฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย) 8.การแสดงธรรม (ธัมมเทสนามัย) 9.การภาวนา (ภาวนามัย)
หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด 10. การทาความคิดเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์)
2.วัตถุประสงค์
- เพื่อศึกษาหลักธรรมคาสั่งสอนในทางพระพุทธศาสนาเรื่องบุญกิริยาวัตถุ 10
3.เป้ ำหมำย
- เป็นองค์ความรู้ด้านหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
4.ระยะเวลำดำเนินกำร
1- 9กรกฎาคม 2555
5.วิธีกำรดำเนินกำร
ผู้จัดทาโครงงานมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้
1.ศึกษาหลักธรรมเรื่องบุญกิริยาวัตถุ10
2. ประชุมวางแผนการดาเนินงาน
3.ดาเนินการตามแผน
4.สรุปผลภายในโครงงาน
6.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ได้รู้จักหลักธรรมคาสั่งสอนในทางพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น
2. สามารถนาหลักธรรม เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
3.เป็นแนวทางที่ทาให้รู้ถึงการทาความดีอย่างง่ายดาย
ผู้รับผิดชอบโครงงำน
นายนันทวัฒน์ ด้วงโคตะ
นายพลวัฒน์ พลทัศน์
นายรัฐพงษ์ สมน้อย
นายอนุรักษ์ โตชมภู
นายอภิสิทธิ์ เขียวมา
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
5.
JUL
5
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
บุญกิริยำวัตถุ 10
บุญกิริยาวัตถุ 10 ว่าด้วยเรื่องการทาบุญ บุญกิริยาวัตถุ (อรรถกถา เล่มที่ 75 หน้า427) หมายถึง
การกระทาที่เป็นบุญ มีอยู่ 10 อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือ หมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา
บุญกิริยาวัตถุ 3
หมวดทาน
1. การทาทาน (ทานมัย)
2. การอุทิศบุญกุศลให้ผู้อื่น (ปัตติทานมัย)
3. การยินดีในความดีของผู้อื่นหรืออนุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย)
หมวดศีล
4. การรักษาศีล (สีลมัย)
5. มีความอ่อนน้อมต่อผู้อื่น (อปจายนมัย)
6. ช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ (เวยยาวัจจมัย)
หมวดภาวนา
7. การฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย)
8. การแสดงธรรม (ธัมมเทสนามัย)
9. การภาวนา (ภาวนามัย)
หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด
10. การทาความคิดเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์)
รายละเอียดเกึ่ยวกับการทาบุญทั้ง 10อย่าง
1. บุญสาเร็จด้วยการให้ทาน ทานคือ การให้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. อามิสทาน หมายถึงการให้ทานด้วยวัตถุที่เป็นของนอกกาย เช่นเงิน สิ่งของ หรือของในกาย เช่น
การบริจาคเลือด บริจาคอวัยวะ ซึ่งผลบุญที่ได้นั้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 4อย่าง (พระไตรปิฎก
เล่มที่ 14 ข้อ 719)
1.1. ผู้ให้ทานมีความบริสุทธิ์ หมายถึง หากเราเป็นคนที่ไม่ถือศีลเลย เวลาเราทาทานเราก็จะได้บุญน้อย
หากเราเป็นคนที่ถือศีลเราก็จะได้บุญมากขึ้น ยิ่งศีลของเรามากขึ้น เราก็จะยิ่งได้บุญมากขึ้นด้วย
1.2. วัตถุที่ให้มีความบริสุทธ์ คือ วัตถุทานได้มาโดยชอบไม่ได้ไปเบียดเบียนผู้อื่น เช่นขโมยมา หรือ แย่งมา
หรือฆ่าสัตว์เพื่อทาบุญ เป็นต้น
1.3. เจตนาของผู้ให้บริสุทธิ์ หากเราให้ทานด้วยความรู้สึกบริสุทธิ์ใจ ด้วยความเมตตา ด้วยความปรารถนาดี
ทั้งก่อนให้ก็มีความสุขที่จะได้ให้ ขณะให้ก็มีความสุขใจ และหลังจากให้แล้วเมื่อนึกถึงที่ได้ทาไปก็รู้สึกสุขใจ
จิตจะตั้งอยู่บนความเบิกบานแจ่มใส เราย่อมได้รับผลบุญสูงกว่าให้โดยหวังผลประโยชน์บางอย่างตอบแทน
ให้เพราะอยากได้หน้า ให้ไปแล้วรู้สึกเสียดายทั้งก่อนให้ ขณะให้ และหลังจากให้ไปแล้ว
จิตของเราจะตั้งอยู่บนความเศร้าหมอง ขุ่นมัว ผลบุญย่อมลดลง เรื่องของเจตนาเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก
และสร้างความแตกต่างในบุญได้มากที่สุด เพราะเป็นเรื่องของจิตใจ
เจตนาที่ไม่ค่อยบริสุทธิ์กับเจตนาที่บริสุทธิ์มากๆ จะสามารถให้ ผลบุญที่แตกต่างกันเป็นล้านๆ เท่าใน ทานสูตร
จากพระไตรปิฎกเล่มที่ 23 ข้อที่ 49 พระพุทธองค์ได้ตรัสกับพระสารีบุตรไว้สรุปใจความได้ดังนี้
ในการให้ทานนั้น บุคคลมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผลให้ทาน มุ่งการสั่งสมให้ทาน
ให้ทานด้วยคิดว่าตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป
ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นจาตุมมหาราชในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีความหวังให้ทาน
ไม่มีจิตผูกพันในผลให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า ตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้
แต่ให้ทานด้วยคิดว่า ทานเป็นการดี เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่ง
เทวดาชั้นดาวดึงส์ บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่าทานเป็นการดี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า
บิดามารดาปู่ย่าตายายเคยให้เคยทามา เราก็ ไม่ควรทาให้เสียประเพณี เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ
ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นยามา บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากิน
สมณะและพราหมณ์เหล่านี้ ไม่หุงหากิน เราหุงหากินได้จะไม่ให้ทานแก่ สมณะหรือพราหมณ์
ผู้ไม่หุงหาไม่สมควร เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นดุสิต
บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ให้ทานด้วยคิดว่า เราจักเป็นผู้จาแนกแจกทาน เหมือนฤาษีแต่ครั้งก่อน คือ
อัฏฐกฤาษี วามกฤาษี วามเทวฤาษี
เวสสามิตรฤาษี ยมทัคคิฤาษี อังคีรสฤาษี ภารทวาชฤาษี วาเสฏฐฤาษี กัสสปฤาษี และภคุฤาษี บูชามหายัญ ฉะนั้น
เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นนิมมานรดี บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ
ให้ทานด้วยคิดว่า เมื่อเราให้ทานอย่างนี้ จิตจะเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจและโสมนัส เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ
ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัสดี บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ
ให้ทานเป็นเครื่องปรุงแต่งจิต เขาให้ทานเช่นนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดา ชั้นพรหม
ดังนั้นในการให้ทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เราควรทาจิตทาใจในการให้ทาน คือ
ให้เพื่อละความตระหนี่ในใจ ให้เพื่อละกิเลสคือความโลภ
ให้เพราะต้องการสงเคราะห์และให้เพื่อดารงพระพุทธศาสนาให้ครบห้าพันปี ไม่ใช่ให้ทานเพราะหวังรวย
อย่างนี้ได้อานิสงส์น้อย
1.4.ผู้รับมีความบริสุทธิ์ จริงๆ แล้ว การให้ทานกับใครก็ตาม แม้แต่สัตว์เดรัจฉาน ขอทาน หรือ คนชั่ว
หากเราให้ด้วยใจบริสุทธิ์อยากช่วยเหลือ เราก็ได้บุญทั้งหมด เพียงแต่ว่าปริมาณของบุญที่ได้จะไม่เท่ากัน
หรือที่เราคงเคยได้ยินเรื่อง เนื้อนาบุญ เปรียบดังการหว่านเมล็ดข้าว หากหว่านลงนาดี ย่อมได้ผลผลิตมาก
แต่หากหว่านลงไปบนพื้นคอนกรีตก็คงไม่ได้อะไรพระพุทธองค์ได้เปรียบเทียบปริมาณบุญที่เราได้จากทาบุญใ
ห้บุคคลที่แตกต่างกัน (พระไตรปิฎก เล่มที่ 14ข้อ711และ เล่มที่ 23ข้อ224) ซึ่งได้ข้อสรุปว่า
ยิ่งเราทาบุญกับผู้ที่มีศีลบริสุทธิ์มากกว่า เราจะได้รับบุญมากกว่า เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น จะขอสมมติเป็นหน่วย
ดังนี้
ทาบุญกับสัตว์เดรัจฉาน ได้บุญ 100หน่วย
ทาบุญกับคนไม่มีศีล ได้บุญ 1,000 หน่วย
ทาบุญกับคนมีศีล ๕ ได้บุญ 10,000 หน่วย
ทาบุญกับคนมีศีลอุโบสถ ได้บุญ 100,000 หน่วย
ทาบุญกับสมมติสงฆ์ (พระที่ถือศีลครบ 227 ข้อ) ได้บุญ 1,000,000 หน่วย
ทาบุญกับพระโสดาบัน ได้บุญ 100ล้านหน่วย
ทาบุญกับพระสกิทาคามี ได้บุญ 10,000 ล้านหน่วย
ทาบุญกับพระอนาคามี ได้บุญ 1,000,000 ล้านหน่วย
ทาบุญกับพระอรหันต์ ได้บุญ 100,000,000 ล้านหน่วย
ทาบุญกับพระปัจเจกพระพุทธเจ้า 10,000,000,000 ล้านหน่วย
ทาบุญกับพระพุทธเจ้า ได้บุญ 1,000,000,000,000 ล้านหน่วย
ทาบุญสังฆทานกับคณะสงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน ได้บุญมากกว่าทาบุญกับพระพุทธเจ้า 100เท่า
ทาบุญสร้างวิหารทาน ได้บุญมากกว่าทาบุญสังฆทานกับคณะสงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน 100เท่า
2.ธรรมทาน การให้ธรรมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง ดังพุทธพจน์ “สัพพะทานัง ธัมมะทานัง
ชินาติ”อานิสงส์การให้ธรรมเป็น ทาน..พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “แม้ให้พระพุทธเจ้าพระ
ปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกนั่งเรียงกันจากโลกมนุษย์ไปจนถึงพรมโลก
แล้วถวายผ้าไตรครบทุกองค์ยังได้บุญน้อยกว่าการให้ธรรมทาน”ว่าด้วยเรื่องการตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ก็เช่นกั
น พระพุทธองค์ตรัสว่า บุญคุณพ่อแม่ที่ให้กาเนิดเรามามีมากมายเหลือคณานับ ต่อให้
บุรุษแบกพ่อไว้ไหล่ข้างหนึ่ง อีกไหล่ข้างหนึ่งแบกแม่ไว้ ดูแลพ่อแม่ทุกอย่าง
ไม่ให้ได้รับความลาบากตลอดชีวิตของท่าน แม้ทา ขนาดนี้ก็ยังใช้หนี้บุญคุณไม่หมด
มีทางเดียวที่จะใช้หนี้ท่านหมดคือ การให้ธรรมะแก่ท่าน ให้ท่านเป็นผู้เที่ยงต่อนิพพาน จึงจะถือว่า
เราได้ทดแทนคุณท่านได้หมดแล้ว…เสริมอีกเล็กน้อย เรื่องการทาบุญกับพระอรหันต์
จากที่กล่าวข้างต้นจะเห็นว่าอานิสงส์นั้นมากมาย แต่หลายคนอาจแย้งว่าจะไปทาได้ ที่ไหนเนี่ย จริงๆ
เราสามารถทาบุญกับพระอรหันต์ได้ทุกวัน นั่นคือ พ่อแม่ของเรานั่นเอง เพราะพ่อแม่คือ พระอรหันต์ของลูก
การทาบุญด้วยการเลี้ยงดูตอบแทนคุณท่าน ย่อมได้อานิสงส์มหาศาล ตรงกันข้าม บางคนที่ทาไม่ดีกับพ่อแม่
ก็ต้องได้รับบาปมหันต์เช่น กัน เพราะเป็นการทาบาปกับพระอรหันต์ นั่นเอง
2.ปัตติทานมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการอุทิศส่วนบุญ ให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้วและผู้อื่น
การอุทิศบุญหรือแบ่งบุญให้ผู้อื่น สามารถให้ได้ทั้งผู้ที่มีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว
โดยที่ผลบุญของเราไม่ได้ลดน้อยลงแต่อย่างใด ตรงกันข้ามกลับทาให้เราได้บุญมากขึ้นไปอีก
เรื่องนี้มีกล่าวในพระไตรปิฎก (พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑–
หน้าที่307) เปรียบเสมือนเวลาเราทาบุญมาเหมือนเราได้จุดคบไฟ ทีนี้เมื่อมีคนมาขอต่อไฟ
เราก็ยินดีให้เขาต่อไฟ ไฟเราก็ยัง อยู่ แม้จะมีคนมาขอจุดไฟ 100คน ไฟเราก็ไม่ได้หายไปแม้แต่น้อย
การอุทิศบุญนั้น ผู้ที่จะรับผลบุญต้องโมทนาบุญคือยินดีในบุญที่เราให้จึงจะได้รับบุญ
ถ้าเป็นคนด้วยกันก็สามารถบอกกล่าวกันได้ โดยตรง และเทวดาก็สามารถส่งจิตถึงท่านได้
แต่สาหรับสัตว์ในอบายภูมิปกติจะไม่สามารถรับบุญจากเราได้ ยกเว้นเปรตบาง
ประเภทที่เรียกว่า ปรทัตตุปชีวิกเปรตเปรตประเภทนี้อยู่ได้ด้วยการขอส่วนบุญ บางครั้งก็มาเข้าฝัน
บางครั้งปรากฏตัวให้เห็น หรือ ทากิริยาอื่นๆ เพื่อให้คนอุทิศบุญไปให้(เป็นส่วนหนึ่งที่เราเรียกว่า ผี นั่นเอง)
ผมเคยอ่านหนังสือรวมคาสอนของหลวงพ่อฤาษีฯ วัดท่าซุง ท่านกล่าวถึง สัมภเวสี ที่หมายถึงวิญญาณเร่ร่อน
ที่ตายก่อนถึงอายุขัย ด้วยอุปฆาตกกรรม วิญญาณเหล่านี้จะไปเกิดตามภพภูมิอื่นๆ ยังไม่ได้
เพราะยังไม่หมดอายุขัย จึงต้องวนเวียนอยู่อย่างนั้น จนกว่าจะ ครบอายุขัยจึงจะไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ
ตามแต่ผลกรรมที่ทามา พวกสัมภเวสีนั้น มีความเป็นอยู่ที่ลาบาก เพราะไม่สามารถรับบุญที่ ตัวเองเคยทามาได้
ต้องอยู่อย่างหิวโหย พวกเขาจึงพยายามติดต่อญาติหรือคนรู้จักให้ทาบุญอุทิศไปให้ หรือที่เรานิยมเรียกว่า ผี อีก
เช่นกัน แต่การอุทิศบุญให้สัมภเวสีนั้น จะต้องเฉพาะเจาะจงชื่อ จึงจะได้รับผลบุญ
เวลาที่เราทาบุญแล้วอุทิศแบบรวมๆ เขาจะไม่สามารถรับผลบุญได้ หลวงพ่อแนะนะว่า ถ้าจะทาบุญให้สัมภเวสี
ให้ถวายสังฆทานพระที่ประกอบด้วยอาหารผ้าไตรและพระพุทธรูป
เพราะการถวายพระพุทธรูปจะทาให้เขามีความสว่างมาก คือ เป็นเทวดา (เทวดาเขาวัดกันที่ความสว่าง
ใครสว่างมากแสดงว่ามีฤทธิ์มีเดชมากกว่า)
3.ปัตตานุโมทนามัย คือ บุญสาเร็จด้วยการแสดงอนุโมทนาในส่วนบุญร่วมกับผู้อื่น
แค่เรากล่าวสาธุ(หรืออนุโมทนาในใจ)ก็ได้บุญแล้ว ไม่เห็นต้องใช้เงินซักบาทเลย หลวงพ่อฤาษีฯ เคยสอนว่า
การอนุโมทนานี้ได้ผล มาก ทาให้บารมีเต็มเร็วขึ้น ถ้าจิตเรามีสมาธินี่ได้ถึง 90เปอร์เซ็นต์ของคนทาเลยทีเดียว
แล้วถ้าเขาทา 100คน เรานั่งอนุโมทนา อย่างเดียวนี่
ได้บุญมากกว่าคนทาซะอีกเรื่องผลของการอนุโมทนานี้มีกล่าวในพระไตรปิฎก (พระไตรปิฎก
เล่มที่26ข้อ44) ที่กล่าวถึงเพื่อนของนางวิสาขามหาอุบาสิกานางไม่มีเงินทาบุญ
ได้แต่ยินดีกับมหาทานที่นางวิสาขาทา ปรากฏว่าเมื่อนางตาย ได้ไปเกิดเป็นเทพนารีในสวรรค์
มีวิมานสวยงามหรือแม้แต่พระนางพิมพาเอง ที่ตามมาเกิดเป็นคู่บุญพระพุทธองค์ทุกๆ ชาติ
เหตุเพราะเมื่อสมัยที่พระพุทธองค์ของเราเกิดเป็นฤาษี และได้ทาบุญกับพระพุทธเจ้าและเหล่าพระสาวก
โดยการทอดกายเป็นสะพานให้พระพุทธเจ้าและเหล่าสาวกเดินผ่านเพื่อไม่ให้เปื้อนโคลน
และอธิษฐานขอเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาล
ซึ่งพระนางพิมพาในชาตินั้นก็เห็นเหตุการณ์ตลอดและตั้งจิตอนุโมทนาบุญและขอติดตามจนบรรลุธรรมตามพร
ะพุทธองค์ในที่สุด
4.สีลมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล ได้แก่
การปฏิบัติตามข้อห้ามตามที่ทรงบัญญัติในพระปาฏิโมกข์เพื่อกาจัดกิเลส ศีลอุโบสถ อานิสงส์มากกว่า ศีล 5ศีล
ของพระก็ได้อานิสงส์มากกว่าศีลของเณร อย่างนี้เป็นต้น การรักษาศีลได้อานิสงค์มากกว่าการให้ทาน
ในพระไตรปิฎก กล่าวว่า ทาทาน 100ครั้งบุญไม่เท่ารักษาศีล1ครั้ง สาหรับการที่เราจะรับศีล(วิรัติศีล)นั้น ใน
พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑ –หน้าที่ 558 ได้กล่าวเอาไว้
ว่า ศีลสามารถวิรัติศีล ได้ 3 วิธีคือ
1.สัมปัตตวิรัติได้แก่ เจตนางดเว้นซึ่งเกิดขึ้นในทันทีทันใด
ที่ประจวบกับเหตุที่จะทาให้เสียศีลหมายความว่า เดิมไม่ได้ตั้งใจจะ รักษาศีล ไม่ได้สมาทานไว้
แต่เมื่อพบกับเหตุที่ตนจะล่วงศีลได้ จึงคิดงดเว้นขึ้นในขณะนั้น เช่น
- เห็นสัตว์ที่พอจะฆ่าได้ น่าจะฆ่า แต่คิดเว้นเสีย ไม่ฆ่า
- เจอกระเป๋าเงิน เจ้าของเขาวางไว้ แม้จะขโมย ก็พอขโมยได้ แต่งดเสีย ไม่ขโมย
- หญิงที่จะล่วงประเวณีได้ ก็มี ช่องทางและโอกาสก็อานวยทุกอย่าง แต่ใจคิดงดเว้นการล่วงประเวณีเสีย
ไม่ล่วง
- ไปดูการดูงานถึงเมืองนอก กลับมาคนเดียว จะเล่าอะไร โกหกให้ใครฟังก็ได้
แต่คิดงดเว้นการโกหกเสีย ไม่พูด
- เหล้าจะกิน ก็มีพร้อม จังหวะก็อานวย แต่คิดงดเสีย ไม่ดื่ม
การตั้งใจงดเว้นเมื่อประจวบเข้ากับเหตุการณ์อย่างนี้ เรียกว่า สัมปัตตวิรัติ ผู้งดเว้นถือว่ามีศีลเหมือนกัน
2.สมาทานวิรัติ สมาทาน แปลว่า รับสมาทานวิรัติ แปลว่า งดเว้นด้วยการสมาทาน ข้อนี้หมายความว่า
เราได้ตั้งใจไว้ก่อนว่า จะรักษาศีล(ไม่ว่าจะเป็นการไปรับสมาทานศีลที่วัด หรือกล่าวเองที่บ้าน หรือ คิดขึ้นมาใน
ใจว่าเราจะรักษาศีลที่เรียกว่า เจตนาวิรัติ อย่างนี้ก็ถือเป็นสมาทานวิรัติเหมือนกัน)
ครั้นไปพบเหตุการณ์อันชวนให้ล่วงศีล ก็ไม่ล่วงเพราะถือว่า ตนได้สมาทานศีลไว้ จะล่วงก็เสียดายศีล
กลัวศีลจะขาด การงดเว้นจากการล่วงศีล ด้วยคานึงถึงศีลที่ตนได้สมาทานไว้อย่างนี้ เรียกว่า
สมาทานวิรัติสมาทานวิรัติ กับ สัมปัตตวิรัติ มีผลต่างกันอยู่บ้าง คือ สัมปัตตวิรัติ ทาให้ศีลเกิดขึ้น
เฉพาะชั่วระยะหนึ่ง ขณะที่จิตคิดงดเว้นเท่านั้นก่อนนั้นก็ไม่มีศีล หลังจากนั้นก็ไม่มีศีล จาเพาะมีในเวลาตั้งใจ
งดเว้นเท่านั้น ส่วน สมาทานวิรัติ คือตั้งใจรักษาศีลอยู่เรื่อยๆ ศีลก็ ย่อมมีอยู่ตลอดเวลา
จนกว่าตนเองจะล่วงละเมิดศีล ศีลจึงจะขาด คือเป็น อันสิ้นสุดการสมาทาน ต่อเมื่อได้สมาทานศีลอีก
สมาทานวิรัติจึงจะเกิดอีก และเป็นผู้มีศีลสมุจเฉทวิรัติ
3.สมุจเฉทวิรัติ แปลว่า งดเว้นเด็ดขาด หมายถึง
การงดเว้นของพระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันเป็นต้นไป พระอริยบุคคลทั้งหลายไม่เคยแม้แต่จะเกิดความคิดว่า
เราจักฆ่าสัตว์มีชีวิต หรือ เบียดเบียนผู้อื่น ดังนั้นท่านจึงมีศีลบริสุทธิ์ ตลอด เวลา
ไม่มีความเศร้าหมองของศีลในทางปฏิบัติแล้ว สาหรับปุถุชนอาจคิดว่า
เรายังต้องประกอบอาชีพที่ยังต้องผิดศีลบ้างบางครั้ง จึงไม่สมาทานศีลดีกว่า
จะได้ไม่ผิดศีล…อันนี้เป็นความคิดที่ผิด เพราะการรักษาศีลแม้เพียงชั่วขณะก็ได้กุศลมหาศาล
ดังนั้นทางที่ดีเราควรสมาทานรักษาศีลตลอดชีวิต หากพลาดพลั้งทาศีลขาดเมื่อใดก็ให้กาหนดจิต
เจตนาวิรัติศีลใหม่ อย่างนี้ศีลเราจะค่อยๆ บริสุทธิ์ขึ้นเอง
สมมติว่าเราทาอาชีพแม่ค้าที่ยังต้องฆ่าสัตว์หรืออาชีพประมง แต่อยากรักษาศีลก็สามารถทาได้
โดยครูบาอาจารย์ท่านแนะนาว่า เวลาทาอาชีพก็ทาไป แต่เวลาก่อนนอนให้สมาทานศีลทุกวัน
อย่างนี้เวลาเราหลับก็ได้ชื่อว่าเรามีศีลบริสุทธิ์ทุกวัน และในวันพระให้ รักษาศีลให้ได้ตลอดทั้งวัน
5.อปจายนมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการมีกิริยาอ่อนน้อมถ่อมตน อปจายนะ คือ ความอ่อนน้อม
ไม่แข็งกระด้าง ผู้มีความประพฤติอ่อนน้อม ผู้ที่ขัดเกลาความมานะ และนิสัยกระด้างออกแล้ว
รู้จักบุคคลที่ควรจะ อ่อนน้อมด้วย ในฐานะใดในสภาพใดสาหรับบุคคลที่ควรจะอ่อนน้อมด้วย มี ๓ ประเภท คือ
1. วัยวุฒิ ผู้ที่สูงกว่า ด้วย วัย
2. ชาติวุฒิ ผู้ที่สุงกว่า ด้วยชาติ ตระกูล
3. คุณวุฒิ ผู้ที่สูงกว่า ด้วยคุณธรรม
บุคคลผู้มีปกติอ่อนน้อมกราบไหว้ผู้ใหญ่ ย่อมได้รับอานิสงส์ ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ
ในมงคลสูตร กล่าวว่า ผู้อ่อนน้อมถ่อมตน กาจัดมานะ กาจัดความกระด้างได้ ทาตนให้เป็นเสมือนผ้าเช็ดเท้า
เสมอด้วยโคอุสุภะเขาชาด หรือเสมอด้วยงูที่ ถอนเขี้ยวแล้ว ท่านตรัสว่า เป็นมงคล
6.เวยยาวัจจมัย(ออกเสียงว่า ไวยาวัจจะมัย) คือ
การงานชอบบุญสาเร็จด้วยการช่วยเหลือกิจการสงฆ์และภาระพระศาสนา ข้อนี้เป็นการทาบุญที่เน้นแรงคือ
เอาแรงเข้าช่วย หลวงพ่อฤาษีฯ วัดท่า ซุง เคยสอนเอาไว้ว่า บุญจากการทาเวยยาวัจจมัย นั้น อานิสงส์นี้มีมาก คือ
ได้อานิสงส์น้อยกว่าบวชเณรเล็กน้อย
7.ธัมมัสสวนมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการฟังธรรม ได้แก่
การฟังธรรมและนาข้อธรรมมาประพฤติปฏิบัติให้พ้นทุกข์ การฟังธรรม เป็นการศึกษาหาความรู้
เพื่อให้เกิดปัญญา เข้าใจในหลักพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งสามารถจะนา
ให้ผู้ประพฤติปฏิบัติตาม ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน พ้นจากทุกข์ในสังสารวัฏนี้ได้ การฟังธรรมมีอานิสงส์มากถึง
๕ ประการ คือ
1. ได้ฟังในสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง
2. เรื่องใดที่เคยได้ฟังแล้ว ได้ฟังซ้าอีกย่อมมีความชัดเจนขึ้น
3. บรรเทาความสงสัยเสียได้
4. ทาความเห็นให้ถูกต้องได้
5. จิตของผู้ฟังธรรมย่อมผ่องใส
การได้ฟังพระธรรม พึงทราบว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุให้ประสบผลวิเศษนานาประการ
มีการละจากความชั่ว ประพฤติความดี และ บรรลุธรรมอันเป็นที่สิ้นอาสวะได้ในที่สุด เป็นต้น ในสังยุตตนิกาย
สคาถวรรค ปิยังกรสูตร กล่าวไว้ว่า ในเวลาใกล้รุ่งแห่งราตรีหนึ่ง ที่พระวิหารเชตวันฯ
ท่านพระอนุรุทธะกาลังกล่าวธรรมอยู่ ครั้งนั้น นางยักษิณีผู้เป็นมารดาของปิยังกระ
ได้กล่าวห้ามบุตรว่า “อย่าอึงไป ภิกษุกาลังกล่าวบทธรรมอยู่ ให้ตั้งใจฟัง เมื่อเรารู้แจ้งบทธรรมนั้นแล้วปฏิบัติ
ข้อนั้นจักมีประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา หากเราศึกษา ทาตนให้เป็นผู้มีศีลดีนั่นแหละ จักพ้นจากกาเนิด
ปีศาจได้”ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า การฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา
คือเมื่อฟังแล้วย่อมเกิดความเข้าใจในธรรม ที่มีผู้ยกมาแสดง เมื่อเข้าใจในธรรมนั้นแล้ว
น้อมนาคาสอนนั้นมาประพฤติปฏิบัติตามย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ในขณะที่ฟังธรรม แม้จะไม่รู้เรื่องราว
ไม่เข้าใจในธรรมนั้น แต่ฟังด้วยความรู้สึกว่า “นั่นคือเสียงแห่งพระธรรม” เลื่อมใสในเสียงที่ได้ยิน
บุคคลผู้มีปกติอ่อนน้อมกราบไหว้ผู้ใหญ่ ย่อมได้รับอานิสงส์ ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ
ในมงคลสูตร กล่าวว่า ผู้อ่อนน้อมถ่อมตน กาจัดมานะ กาจัดความกระด้างได้ ทาตนให้เป็นเสมือนผ้าเช็ดเท้า
เสมอด้วยโคอุสุภะเขาชาด หรือเสมอด้วยงูที่ ถอนเขี้ยวแล้ว ท่านตรัสว่า เป็นมงคล
6.เวยยาวัจจมัย(ออกเสียงว่า ไวยาวัจจะมัย) คือ
การงานชอบบุญสาเร็จด้วยการช่วยเหลือกิจการสงฆ์และภาระพระศาสนา ข้อนี้เป็นการทาบุญที่เน้นแรงคือ
เอาแรงเข้าช่วย หลวงพ่อฤาษีฯ วัดท่า ซุง เคยสอนเอาไว้ว่า บุญจากการทาเวยยาวัจจมัย นั้น อานิสงส์นี้มีมาก คือ
ได้อานิสงส์น้อยกว่าบวชเณรเล็กน้อย
7.ธัมมัสสวนมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการฟังธรรม ได้แก่
การฟังธรรมและนาข้อธรรมมาประพฤติปฏิบัติให้พ้นทุกข์ การฟังธรรม เป็นการศึกษาหาความรู้
เพื่อให้เกิดปัญญา เข้าใจในหลักพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งสามารถจะนา
ให้ผู้ประพฤติปฏิบัติตาม ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน พ้นจากทุกข์ในสังสารวัฏนี้ได้ การฟังธรรมมีอานิสงส์มากถึง
๕ ประการ คือ
1. ได้ฟังในสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง
2. เรื่องใดที่เคยได้ฟังแล้ว ได้ฟังซ้าอีกย่อมมีความชัดเจนขึ้น
3. บรรเทาความสงสัยเสียได้
4. ทาความเห็นให้ถูกต้องได้
5. จิตของผู้ฟังธรรมย่อมผ่องใส
การได้ฟังพระธรรม พึงทราบว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุให้ประสบผลวิเศษนานาประการ
มีการละจากความชั่ว ประพฤติความดี และ บรรลุธรรมอันเป็นที่สิ้นอาสวะได้ในที่สุด เป็นต้น ในสังยุตตนิกาย
สคาถวรรค ปิยังกรสูตร กล่าวไว้ว่า ในเวลาใกล้รุ่งแห่งราตรีหนึ่ง ที่พระวิหารเชตวันฯ
ท่านพระอนุรุทธะกาลังกล่าวธรรมอยู่ ครั้งนั้น นางยักษิณีผู้เป็นมารดาของปิยังกระ
ได้กล่าวห้ามบุตรว่า“อย่าอึงไป ภิกษุกาลังกล่าวบทธรรมอยู่ ให้ตั้งใจฟัง เมื่อเรารู้แจ้งบทธรรมนั้นแล้วปฏิบัติ
ข้อนั้นจักมีประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา หากเราศึกษา ทาตนให้เป็นผู้มีศีลดีนั่นแหละ จักพ้นจากกาเนิด
ปีศาจได้”ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า การฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา
คือเมื่อฟังแล้วย่อมเกิดความเข้าใจในธรรม ที่มีผู้ยกมาแสดง เมื่อเข้าใจในธรรมนั้นแล้ว
น้อมนาคาสอนนั้นมาประพฤติปฏิบัติตามย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ในขณะที่ฟังธรรม แม้จะไม่รู้เรื่องราว
ไม่เข้าใจในธรรมนั้น
แต่ฟังด้วยความรู้สึกว่า “นั่นคือเสียงแห่งพระธรรม”เลื่อมใสในเสียงที่ได้ยินย่อมก่อให้เกิดบุญกุศลได้เช่นกัน
ดังท่านเล่าในพระไตรปิฎกไว้ว่า ค้างคาว กบ ได้ยินเสียงพระสวด ด้วยความตั้งใจฟัง
และมีจิตเลื่อมใสในเสียงที่กล่าวธรรมนั้น ตายลงในขณะนั้น ทาให้ได้ไปเกิดในสวรรค์
พ้นจากความเป็นสัตว์เดรัจฉานได้ นี่ขนาดฟังไม่รู้เรื่องยังได้อานิสงส์ขนาดนี้
8.ธัมมเทสนามัย คือ บุญสาเร็จด้วยการแสดงธรรม
ได้แก่การอธิบายบรรยายธรรมะให้แก่ผู้ร่วมโลกที่ร่วมทุกข์เกิดแก่เจ็บตาย การแสดงธรรม
ด้วยใจที่หวังจะให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์ โดยที่ตนมิได้มุ่งหวังในลาภสักการะใดๆ
จัดเป็นบุญที่เรียกว่า“ธรรมทาน”เป็นบุญที่ให้ผลมากว่าทานทั้งปวง
ดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า “การให้ธรรมเป็นทาน
ชนะการให้ทั้งปวง”การแสดงธรรมด้วยการแจกจ่ายธรรมคือแจกแจงพระธรรม
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว
เพื่ออนุเคราะห์ให้ผู้ได้รับฟังเกิดจิตเลื่อมใสในพระสัทธรรมของพระพุทธองค์ ที่ทรงพร่าสอนอย่านี้ว่า
ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ
เป็นต้นการแสดงธรรมให้เลิกละ จากอกุศลธรรม ให้ตั้งอยู่ในกุศลธรรมทั้งหลายเช่น
-การไม่ทาบาปทั้งปวง ๑
-การทากุศลให้ถึงพร้อม ๑
-การทาจิตของตนให้ผ่องใส ๑
-การไม่กล่าวร้าย ๑
-การไม่ทาร้าย ๑
-การสารวมในพระปาฏิโมกข์ ๑
-การรู้ประมาณในการบริโภค ๑
-การนอนการนั่งในที่อันสงบสงัด ๑
-ความเพียรประกอบในการทาจิตให้ยิ่ง ๑
ธรรมเหล่านี้เป็นคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย (ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร
โอวาทปาฏิโมกข์) ในอังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต อุทายีสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า
ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผู้อื่น พึงตั้งธรรม ๕ ประการนี้ในใจก่อน แล้วจึงแสดงธรรม คือ
-เราจักแสดงธรรมไปโดยลาดับ ๑
-เราจักแสดงธรรมโดยอ้างเหตุผล ๑
-เราจักแสดงธรรมโดยอาศัยความเอ็นดู ๑
-เราจักไม่เป็นผู้เพ่งอามิสในการแสดงธรรม ๑
-เราจักไม่แสดงธรรมให้กระทบตนและผู้อื่น ๑
ผู้ใดตั้งธรรม ๕ ประการนี้ ไว้ภายในใจแล้วแสดงธรรม อย่างนี้ชื่อว่าเป็น “ธรรมทาน”โดยแท้อนึ่ง
แม้บุคคลผู้แสดงธรรมเองก็ย่อมได้รับประโยชน์ คือ
ได้เข้าใจในความหมายและความลึกซึ้งในธรรมที่ยกมาแสดงนั้นเพิ่มขึ้น ๑ เป็นที่พึงพอใจของพระบรมศาสดา ๑
อาจแทงตลอดเนื้อความอันลึกซึ้งของธรรมนั้น ได้ ๑ เป็นที่สรรเสริญของกัลยาณชน ๑
สาหรับการแสดงธรรมนี้มิได้หมายว่า ภิกษุเท่านั้นที่จะเป็นผู้แสดงธรรมได้ แม้ อุบาสกอุบาสิกา
หรือฆราวาสผู้มีความรู้ ผู้ศึกษาธรรม ผู้ปฏิบัติ แม้แต่การอบรมเยาวชน หรือลูกหลานด้วยธรรมะ
ก็ชื่อว่า “ธัมมเทสนา” เช่นกัน
9.ภาวนามัย คือ บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ได้แก่ การปฏิบัติใจเพื่อกาจัดกิเลส แบ่งเป็น
สมถะภาวนา และวิปัสสนาภาวนา การภาวนาได้ผลบุญมากกว่าการรักษาศีลอีก รักษา
ศีล100ครั้งบุญไม่เท่าบาเพ็ญภาวนา 1ครั้ง “ภาวนา”แปลว่า การทาให้มีขึ้น ทาให้เกิดขึ้น ได้แก่
การฝึกอบรมจิตใจให้เกิดความสงบ ขั้นสมาธิและปัญญา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงข้อปฏิบัติไว้ ๒ ประการ
คือ สมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา สมถภาวนา คือ การฝึกอบรมจิตใจให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ
อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งการเจริญ สมถภาวนา ชื่อว่า กรรมฐาน มี ๔๐ ประเภท คือ
-กสิณ ๑๐
-อสุภะ๑๐
-อนุสสติ ๑๐
-พรหมวิหาร ๔
-อรูป ๔
อาหาเรปฏิกูลสัญญา และจตุธาตุววัฏฐาน(รายละเอียดในวิสุทิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน
๒)วิปัสสนาภาวนา คือ การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้เกิดความรู้แจ้งใน
สภาพธรรมที่เป็นจริงตามสภาพของไตรลักษณ์ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา กรรมฐาน
อันเป็นที่ตั้งของการเจริญวิปัสสนาภาวนา ได้แก่
-ขันธ์ ๕
-อายตนะ ๑๒
-ธาตุ ๑๘
-อินทรีย์ ๒๒
-อริยสัจจ ๔
-ปฏิจจสมุปบาท ๑๒
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ว่า หนทางปฏิบัติเพื่อการเข้าไปรู้แจ้งลักษณะของสภาพธรรมทั้ง ๖
ประการนี้ มีเพียง ทางเดียวที่จะนาไปสู่พระนิพพานได้ ทางสายเอกนั้นได้แก่
สติปัฏฐาน ๔
-กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นกายในกาย มี ๑๔ ข้อ
-เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มี ๙ ข้อ
-จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นจิตในจิต มี ๑๖ ข้อ
-ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นธรรมในธรรม มี ๕ ข้อ
สาหรับการเจริญภาวนาในขั้น บุญกิริยาวัตถุ นี้ โดยทั่วไป ท่านหมายเอาเพียง มหากุศลธรรมดา แต่หากว่าผู้ใด
ได้ศึกษาข้อปริยัติ ให้มีความเข้าใจ ก่อนลงมือปฏิบัติ แล้วพากเพียรปฏิบัติ
ให้ถูกต้องตามแนวทางที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ก็สามารถเป็น บันไดให้ก้าวไปถึงฌาน
หรือมรรคผลได้(รายละเอียดในมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ สติปัฏฐานสูตร ข้อ ๑๓๑–๑๕๒ และทีฆนิกาย
มหาวรรค สติปัฏฐานสูตร ข้อ ๒๗๓ –๓๐๐
10.ทิฏฐชุกัมม์ คือ การทาความเห็นให้ตรงเป็นสัมมาทิฏฐิ
เชื่อในธรรมและการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย สัมมาทิฐิ แปลว่า ความเห็นถูกต้อง
หมายถึงความเห็นที่ถูกคลองธรรม เห็นตามความเป็นจริงเป็นความเห็นที่เกิดจากโยนิโส มนสิการ
ประกอบด้วยปัญญา ตามวัดส่วนใหญ่เขียนคานี้ตามแบบภาษาบาลีว่า สัมมาทิฏฐิ สัมมาทิฐิ ที่เป็น อริยมรรค
มีองค์8หมายถึง ความเห็นในอริยสัจ คือเห็นทุกข์ เห็นสมุทัย เห็นนิโรธ เห็นมรรค สัมมาทิฐิ
ที่เป็นมโนสุจริตหมายถึง ความเห็นถูกต้อง 10อย่าง(ตรงข้ามกับ มิจฉาทิฏฐิ 10) คือ เห็นว่าการให้ทาน มีผลจริง
(หมายถึงการให้ในระดับแบ่งปันกัน) การบูชามีผลจริง(หมายถึงการให้ในระดับสงเคราะห์กันมีผล)
การเคารพบูชามีผลจริง (หมายถึงการยกย่องบูชาบุคคลที่ควรบูชามีผลดีจริง) ผลวิบากของกรรมดีกรรมชั่วมีจริง
คุณของมารดามีจริง (หมายถึงมารดามีพระคุณต่อบุตรอย่างยิ่ง บุตรควรตั้งใจตอบแทนพระคุณท่านอย่างเต็มที่)
คุณของบิดามีจริง (หมายถึง บิดามีพระคุณต่อบุตรอย่างยิ่ง บุตรควรตั้งใจตอบแทนพระคุณท่านอย่างเต็มที่)
โลกนี้มี (หมายถึง โลกนี้มีคุณเป็นอย่างยิ่ง เหมาะสาหรับใช้สร้างบุญบารมี) โลกหน้ามี (หมายถึง โลกหน้ามีจริง
ตายแล้วไม่สูญ ความเป็นไปของโลกหน้า เป็นผลมาจากโลกนี้) พวกโอปปาติกะ (ผุดขึ้นเกิด) มี (หมายถึง
สัตว์ที่ผุดขึ้นเกิดแล้วโตทันทีมีจริง อาทิเช่น ในภูมิทุคติ ได้แก่ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย ในภูมิสุคติ ได้แก่เทวดา
พรหม อรูปพรหม) สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจนบรรลุมรรคผลนิพพาน
รู้แจ้งเห็นจริงด้วยตนเองแล้วสอนให้ผู้รู้ตามด้วยมีจริง จาก มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐
ก็สัมมาทิฏฐิเป็นไฉน ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ
ความรู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อันนี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ สรุป ในบุญกิริยาวัตถุทั้ง ๑๐ ประการ นี้
เป็นการทาบุญที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ในพระพุทธศาสนา โดยไม่ต้องใช้จ่ายเงินทอง มากมาย
มีบุญกิริยาประการเดียวคือ การให้วัตถุทานเท่านั้นที่ต้องใช้เงินทอง บุญกิริยาที่เหลืออีก ๙ ประการ
มิต้องใช้เงินทองเลย เพราะฉะนั้นทุกคนสามารถที่จะสั่งสมบุญได้มากขึ้นในชีวิตประจาวัน
ถ้ามีความเข้าใจในขั้นตอนของการทาบุญเช่นนี้แล้ว ในคาถาธรรมบท ท่านกล่าวว่า ไม่ควรประมาทในบุญเล็กๆ
น้อยๆ ว่ายังไม่ควรทา เพราะแม้บุญเล็กน้อยนั้น ถ้าได้สั่ง บ่อยๆ ก็ยังมีผลให้เกิดความสุข
เหมือนหม้อน้าที่เปิดปากไส้ แม้น้าหยดลงที่ละหยด ก็สามารถเต็มหม้อน้านั้นได้ ฉันใดบุญเล็กบุญน้อย
ที่บุคคลทาบ่อยๆ ก็ย่อมจะพอกพูนให้เต็มเปี่ยมได้ เหมือนหยดน้าที่หยดลงมาจนเต็มหม้อน้า ฉันนั้นแล
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
6.
JUL
5
บทที่3 วิธีการทาโครงงาน
บทที่ 3
วิธีกำรทำโครงงำน
1.รวบรวมข้อมูลความรู้
2.ประชุมวางแผนตั้งแต่วันที่ 1กรกฎาคม 2555
วางแผนดาเนินงานดังนี้
- 1กรกฎาคม 2555 เลือกหัวข้อโครงงาน
- 2กรกฎาคม 2555 วางแผนการทางาน
- 3-4กรกฎาคม 2555 รวบรวมข้อมูล
- 4กรกฎาคม 2555 แยกแยะข้อมูล
- 6กรกฎาคม 2555 เรียบเรียงข้อมูล
- 7กรกฎาคม 2555 จัดทารูปเล่ม
- 8กรกฎาคม 2555 จัดทาป้ายนิเทศ
- 9กรกฎาคม 2555 นาเสนอข้อมูล
3.การนาไปใช้ประโยชน์
- นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
- เป็นแนวทางในการเลือกปฏิบัติตน
- เป็นแนวทางในการทาความดี
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
7.
JUL
5
บทที่4 ผลการดาเนินงาน
บทที่ 4
ผลกำรดำเนินงำน
จากการศึกษาบุญกิริยา 10พบว่า
1.บุญกิริยาวัตถุ 10 เป็นคาสอนของพระพุทธศาสนา
2.องค์ประกอบของบุญกิริยาวัตถุ 10 มีดังนี้
การกระทาที่เป็นบุญ มีอยู่10อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือหมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา
บุญกิริยาวัตถุ 3
หมวดทาน
การทาทาน (ทานมัย) การอุทิศบุญกุศลให้ผู้อื่น
(ปัตติทานมัย) การยินดีในความดีของผู้อื่นหรืออนุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย)
หมวดศีล
การรักษาศีล (สีลมัย) มีความอ่อนน้อมต่อผู้อื่น (อปจายนมัย) ช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ
(เวยยาวัจจมัย)
หมวดภาวนา
การฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย) การแสดงธรรม (ธัมมเทสนามัย) การภาวนา (ภาวนามัย)
หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด
การทาความคิดเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์)
3.การนาไปใช้ประโยชน์
- นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
- เป็นแนวทางในการเลือกปฏิบัติตน
- เป็นแนวทางในการทาความดี
ษี
โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
0
เพิ่มความคิดเห็น
8.
JUL
5
บทที่ 5 สรุปผลโครงงาน
บทที่ 5
สรุปผลโครงงำน
1.สรุป
หลักธรรมเรื่องบุญกิริยาวัตถุ 10นี้ สามารถนามาประยุกต์ปฏิบัติใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างง่ายดาย
โยไม่ต้องทาอะไรมาก ไม่ต้องเสียเงินแม้แต่บาทเดียวในการที่เราจะทาบุญ เพียงแค่เรามีจิตใจอันดีงาม รักษาศีล
รู้จักการให้ทาน รู้จักการภวนา แค่นี้ก็ถือว่าเป็นการทาบุญแล้ว
2.ข้อเสนอแนะ
- อยากให้โครงงานเรื่องนี้มีการเผยแพร่เข้าไปยังสื่อต่างๆมากว่านี้
- อยากให้โครงงานนี้มีนี้หาที่กระชับใจความอ่านแล้วเข้าใจง่ายกว่านี้

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
Paew Tongpanya
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
Iam Champooh
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
พัน พัน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
พัน พัน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
Kritsadin Khemtong
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
Krusupharat
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
Ploykarn Lamdual
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 

Viewers also liked

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
kedsarapan
 
โครงงาน 1 com
โครงงาน 1 comโครงงาน 1 com
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
leemeanshun minzstar
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (9)

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน 1 com
โครงงาน 1 comโครงงาน 1 com
โครงงาน 1 com
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10

Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
Jack Like
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10
Watpadhammaratana Pittsburgh
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายWataustin Austin
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
Watpadhammaratana Pittsburgh
 

Similar to โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10 (20)

Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยาย
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 

โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10

  • 1. 1. โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่องบุญกิริยาวัตถุ 10 โครงงาน เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10 ผู้จัดทา นายนันธวัฒน์ ด้วงโคตะ เลขที่ 4 นายพลวัฒน์ พลทัศน์ เลขที่ 5 นายรัฐพงษ์ สมน้อย เลขที่ 6 นายอนุรักษ์ โตชมภู เลขที่ 11 นายอภิสิทธิ์ เขียวมา เลขที่ 12 ครูที่ปรึกษา นายอัครวัติ ดุริยกรณ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเชียงเพ็งวิทยา อาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der 0 เพิ่มความคิดเห็น 2. JUL 5
  • 2. บทคัดย่อ ผู้จัดทำ 1.นายนันทวัฒน์ ด้วงโคตะ 2.นายพลวัฒน์ พลทัศน์ 3.นายรัฐพงษ์ สมน้อย 4.นายอนุรักษ์ โตชมภู 5.นายอภิสิทธิ์ เขียวมา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ครูที่ปรึกษำ นายอัครวัต ดุริยกรณ์ โรงเรียน เชียงเพ็งวิทยา ตาบลเชียงเพ็ง อาเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี บทคัดย่อ โครงงาน เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ10จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาหลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาในเรื่องของบุญกิริยาวัตถุ10และอง ค์ความรู้ คือทาให้นักเรียนในโรงเรียนได้รู้จักหลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาเรื่องบุญกิริยาวัตถุ10การกระทา ที่เป็นบุญ มีอยู่10อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือหมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา โดยจะเป็นแนวทางการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมในทางพระพุทธศาสนาและขนบ ธรรมเนียมของไทย จากการศึกษาดังกล่าวคณะผู้จัดทาจึงจัดทาโครงงานเรื่องนี้ขึ้น โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der 0 เพิ่มความคิดเห็น 3. JUL 5 กิตติกรรมประกาศ กิตติกรรมประกำศ
  • 3. โครงงานเรื่องบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครูอัครวัต ดุริยกรณ์ ที่ให้คาปรึกษาและแนะนาช่วยเหลือและให้ความรู้ข้อมูลในการทาโครงงาน ขอขอบคุณกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่เอื้อเฟื้อข้อมูลในการปฏิบัติงาน ขอขอบคุณ เพื่อนๆที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทา โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der 0 เพิ่มความคิดเห็น 4. JUL 5 บทที่ 1 บทนา บทที่ 1 บทนำ 1.หลักกำรและเหตุผล “บุญกิริยาวัตถุ 10”เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนตามหลักธรรมขงพระพุทธศาสนา หมายถึง การกระทาที่เป็นบุญ มีอยู่10อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือหมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา บุญกิริยาวัตถุ3หมวดทาน 1.การทาทาน (ทานมัย) 2.การอุทิศบุญกุศลให้ผู้อื่น (ปัตติทานมัย) 3.การยินดีในความดีของผู้อื่นหรืออนุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย) หมวดศีล 4.การรักษาศีล (สีลมัย) 5.มีความอ่อนน้อมต่อผู้อื่น (อปจายนมัย) 6.ช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ (เวยยาวัจจมัย) หมวดภาวนา 7.การฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย) 8.การแสดงธรรม (ธัมมเทสนามัย) 9.การภาวนา (ภาวนามัย) หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด 10. การทาความคิดเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์) 2.วัตถุประสงค์ - เพื่อศึกษาหลักธรรมคาสั่งสอนในทางพระพุทธศาสนาเรื่องบุญกิริยาวัตถุ 10 3.เป้ ำหมำย - เป็นองค์ความรู้ด้านหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
  • 4. 4.ระยะเวลำดำเนินกำร 1- 9กรกฎาคม 2555 5.วิธีกำรดำเนินกำร ผู้จัดทาโครงงานมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้ 1.ศึกษาหลักธรรมเรื่องบุญกิริยาวัตถุ10 2. ประชุมวางแผนการดาเนินงาน 3.ดาเนินการตามแผน 4.สรุปผลภายในโครงงาน 6.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ได้รู้จักหลักธรรมคาสั่งสอนในทางพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น 2. สามารถนาหลักธรรม เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3.เป็นแนวทางที่ทาให้รู้ถึงการทาความดีอย่างง่ายดาย ผู้รับผิดชอบโครงงำน นายนันทวัฒน์ ด้วงโคตะ นายพลวัฒน์ พลทัศน์ นายรัฐพงษ์ สมน้อย นายอนุรักษ์ โตชมภู นายอภิสิทธิ์ เขียวมา โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der 0 เพิ่มความคิดเห็น 5. JUL 5 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 5. บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง บุญกิริยำวัตถุ 10 บุญกิริยาวัตถุ 10 ว่าด้วยเรื่องการทาบุญ บุญกิริยาวัตถุ (อรรถกถา เล่มที่ 75 หน้า427) หมายถึง การกระทาที่เป็นบุญ มีอยู่ 10 อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือ หมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา บุญกิริยาวัตถุ 3 หมวดทาน 1. การทาทาน (ทานมัย) 2. การอุทิศบุญกุศลให้ผู้อื่น (ปัตติทานมัย) 3. การยินดีในความดีของผู้อื่นหรืออนุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย) หมวดศีล 4. การรักษาศีล (สีลมัย) 5. มีความอ่อนน้อมต่อผู้อื่น (อปจายนมัย) 6. ช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ (เวยยาวัจจมัย) หมวดภาวนา 7. การฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย) 8. การแสดงธรรม (ธัมมเทสนามัย) 9. การภาวนา (ภาวนามัย) หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด 10. การทาความคิดเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์) รายละเอียดเกึ่ยวกับการทาบุญทั้ง 10อย่าง 1. บุญสาเร็จด้วยการให้ทาน ทานคือ การให้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. อามิสทาน หมายถึงการให้ทานด้วยวัตถุที่เป็นของนอกกาย เช่นเงิน สิ่งของ หรือของในกาย เช่น การบริจาคเลือด บริจาคอวัยวะ ซึ่งผลบุญที่ได้นั้นจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 4อย่าง (พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 ข้อ 719) 1.1. ผู้ให้ทานมีความบริสุทธิ์ หมายถึง หากเราเป็นคนที่ไม่ถือศีลเลย เวลาเราทาทานเราก็จะได้บุญน้อย หากเราเป็นคนที่ถือศีลเราก็จะได้บุญมากขึ้น ยิ่งศีลของเรามากขึ้น เราก็จะยิ่งได้บุญมากขึ้นด้วย
  • 6. 1.2. วัตถุที่ให้มีความบริสุทธ์ คือ วัตถุทานได้มาโดยชอบไม่ได้ไปเบียดเบียนผู้อื่น เช่นขโมยมา หรือ แย่งมา หรือฆ่าสัตว์เพื่อทาบุญ เป็นต้น 1.3. เจตนาของผู้ให้บริสุทธิ์ หากเราให้ทานด้วยความรู้สึกบริสุทธิ์ใจ ด้วยความเมตตา ด้วยความปรารถนาดี ทั้งก่อนให้ก็มีความสุขที่จะได้ให้ ขณะให้ก็มีความสุขใจ และหลังจากให้แล้วเมื่อนึกถึงที่ได้ทาไปก็รู้สึกสุขใจ จิตจะตั้งอยู่บนความเบิกบานแจ่มใส เราย่อมได้รับผลบุญสูงกว่าให้โดยหวังผลประโยชน์บางอย่างตอบแทน ให้เพราะอยากได้หน้า ให้ไปแล้วรู้สึกเสียดายทั้งก่อนให้ ขณะให้ และหลังจากให้ไปแล้ว จิตของเราจะตั้งอยู่บนความเศร้าหมอง ขุ่นมัว ผลบุญย่อมลดลง เรื่องของเจตนาเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก และสร้างความแตกต่างในบุญได้มากที่สุด เพราะเป็นเรื่องของจิตใจ เจตนาที่ไม่ค่อยบริสุทธิ์กับเจตนาที่บริสุทธิ์มากๆ จะสามารถให้ ผลบุญที่แตกต่างกันเป็นล้านๆ เท่าใน ทานสูตร จากพระไตรปิฎกเล่มที่ 23 ข้อที่ 49 พระพุทธองค์ได้ตรัสกับพระสารีบุตรไว้สรุปใจความได้ดังนี้ ในการให้ทานนั้น บุคคลมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผลให้ทาน มุ่งการสั่งสมให้ทาน ให้ทานด้วยคิดว่าตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นจาตุมมหาราชในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีความหวังให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่า ตายไปแล้วจักได้เสวยผลทานนี้ แต่ให้ทานด้วยคิดว่า ทานเป็นการดี เขาผู้นั้นให้ทานนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่ง เทวดาชั้นดาวดึงส์ บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ไม่ได้ให้ทานด้วยคิดว่าทานเป็นการดี แต่ให้ทานด้วยคิดว่า บิดามารดาปู่ย่าตายายเคยให้เคยทามา เราก็ ไม่ควรทาให้เสียประเพณี เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นยามา บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากิน สมณะและพราหมณ์เหล่านี้ ไม่หุงหากิน เราหุงหากินได้จะไม่ให้ทานแก่ สมณะหรือพราหมณ์ ผู้ไม่หุงหาไม่สมควร เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นดุสิต บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ให้ทานด้วยคิดว่า เราจักเป็นผู้จาแนกแจกทาน เหมือนฤาษีแต่ครั้งก่อน คือ อัฏฐกฤาษี วามกฤาษี วามเทวฤาษี เวสสามิตรฤาษี ยมทัคคิฤาษี อังคีรสฤาษี ภารทวาชฤาษี วาเสฏฐฤาษี กัสสปฤาษี และภคุฤาษี บูชามหายัญ ฉะนั้น เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นนิมมานรดี บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ให้ทานด้วยคิดว่า เมื่อเราให้ทานอย่างนี้ จิตจะเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจและโสมนัส เขาให้ทาน คือ ข้าว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัสดี บุคคลบางคนในโลกนี้ ฯลฯ ให้ทานเป็นเครื่องปรุงแต่งจิต เขาให้ทานเช่นนั้นแล้ว เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดา ชั้นพรหม ดังนั้นในการให้ทาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เราควรทาจิตทาใจในการให้ทาน คือ ให้เพื่อละความตระหนี่ในใจ ให้เพื่อละกิเลสคือความโลภ
  • 7. ให้เพราะต้องการสงเคราะห์และให้เพื่อดารงพระพุทธศาสนาให้ครบห้าพันปี ไม่ใช่ให้ทานเพราะหวังรวย อย่างนี้ได้อานิสงส์น้อย 1.4.ผู้รับมีความบริสุทธิ์ จริงๆ แล้ว การให้ทานกับใครก็ตาม แม้แต่สัตว์เดรัจฉาน ขอทาน หรือ คนชั่ว หากเราให้ด้วยใจบริสุทธิ์อยากช่วยเหลือ เราก็ได้บุญทั้งหมด เพียงแต่ว่าปริมาณของบุญที่ได้จะไม่เท่ากัน หรือที่เราคงเคยได้ยินเรื่อง เนื้อนาบุญ เปรียบดังการหว่านเมล็ดข้าว หากหว่านลงนาดี ย่อมได้ผลผลิตมาก แต่หากหว่านลงไปบนพื้นคอนกรีตก็คงไม่ได้อะไรพระพุทธองค์ได้เปรียบเทียบปริมาณบุญที่เราได้จากทาบุญใ ห้บุคคลที่แตกต่างกัน (พระไตรปิฎก เล่มที่ 14ข้อ711และ เล่มที่ 23ข้อ224) ซึ่งได้ข้อสรุปว่า ยิ่งเราทาบุญกับผู้ที่มีศีลบริสุทธิ์มากกว่า เราจะได้รับบุญมากกว่า เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น จะขอสมมติเป็นหน่วย ดังนี้ ทาบุญกับสัตว์เดรัจฉาน ได้บุญ 100หน่วย ทาบุญกับคนไม่มีศีล ได้บุญ 1,000 หน่วย ทาบุญกับคนมีศีล ๕ ได้บุญ 10,000 หน่วย ทาบุญกับคนมีศีลอุโบสถ ได้บุญ 100,000 หน่วย ทาบุญกับสมมติสงฆ์ (พระที่ถือศีลครบ 227 ข้อ) ได้บุญ 1,000,000 หน่วย ทาบุญกับพระโสดาบัน ได้บุญ 100ล้านหน่วย ทาบุญกับพระสกิทาคามี ได้บุญ 10,000 ล้านหน่วย ทาบุญกับพระอนาคามี ได้บุญ 1,000,000 ล้านหน่วย ทาบุญกับพระอรหันต์ ได้บุญ 100,000,000 ล้านหน่วย ทาบุญกับพระปัจเจกพระพุทธเจ้า 10,000,000,000 ล้านหน่วย ทาบุญกับพระพุทธเจ้า ได้บุญ 1,000,000,000,000 ล้านหน่วย ทาบุญสังฆทานกับคณะสงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน ได้บุญมากกว่าทาบุญกับพระพุทธเจ้า 100เท่า ทาบุญสร้างวิหารทาน ได้บุญมากกว่าทาบุญสังฆทานกับคณะสงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน 100เท่า 2.ธรรมทาน การให้ธรรมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง ดังพุทธพจน์ “สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ”อานิสงส์การให้ธรรมเป็น ทาน..พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “แม้ให้พระพุทธเจ้าพระ ปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกนั่งเรียงกันจากโลกมนุษย์ไปจนถึงพรมโลก แล้วถวายผ้าไตรครบทุกองค์ยังได้บุญน้อยกว่าการให้ธรรมทาน”ว่าด้วยเรื่องการตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ก็เช่นกั น พระพุทธองค์ตรัสว่า บุญคุณพ่อแม่ที่ให้กาเนิดเรามามีมากมายเหลือคณานับ ต่อให้ บุรุษแบกพ่อไว้ไหล่ข้างหนึ่ง อีกไหล่ข้างหนึ่งแบกแม่ไว้ ดูแลพ่อแม่ทุกอย่าง ไม่ให้ได้รับความลาบากตลอดชีวิตของท่าน แม้ทา ขนาดนี้ก็ยังใช้หนี้บุญคุณไม่หมด
  • 8. มีทางเดียวที่จะใช้หนี้ท่านหมดคือ การให้ธรรมะแก่ท่าน ให้ท่านเป็นผู้เที่ยงต่อนิพพาน จึงจะถือว่า เราได้ทดแทนคุณท่านได้หมดแล้ว…เสริมอีกเล็กน้อย เรื่องการทาบุญกับพระอรหันต์ จากที่กล่าวข้างต้นจะเห็นว่าอานิสงส์นั้นมากมาย แต่หลายคนอาจแย้งว่าจะไปทาได้ ที่ไหนเนี่ย จริงๆ เราสามารถทาบุญกับพระอรหันต์ได้ทุกวัน นั่นคือ พ่อแม่ของเรานั่นเอง เพราะพ่อแม่คือ พระอรหันต์ของลูก การทาบุญด้วยการเลี้ยงดูตอบแทนคุณท่าน ย่อมได้อานิสงส์มหาศาล ตรงกันข้าม บางคนที่ทาไม่ดีกับพ่อแม่ ก็ต้องได้รับบาปมหันต์เช่น กัน เพราะเป็นการทาบาปกับพระอรหันต์ นั่นเอง 2.ปัตติทานมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการอุทิศส่วนบุญ ให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้วและผู้อื่น การอุทิศบุญหรือแบ่งบุญให้ผู้อื่น สามารถให้ได้ทั้งผู้ที่มีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว โดยที่ผลบุญของเราไม่ได้ลดน้อยลงแต่อย่างใด ตรงกันข้ามกลับทาให้เราได้บุญมากขึ้นไปอีก เรื่องนี้มีกล่าวในพระไตรปิฎก (พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑– หน้าที่307) เปรียบเสมือนเวลาเราทาบุญมาเหมือนเราได้จุดคบไฟ ทีนี้เมื่อมีคนมาขอต่อไฟ เราก็ยินดีให้เขาต่อไฟ ไฟเราก็ยัง อยู่ แม้จะมีคนมาขอจุดไฟ 100คน ไฟเราก็ไม่ได้หายไปแม้แต่น้อย การอุทิศบุญนั้น ผู้ที่จะรับผลบุญต้องโมทนาบุญคือยินดีในบุญที่เราให้จึงจะได้รับบุญ ถ้าเป็นคนด้วยกันก็สามารถบอกกล่าวกันได้ โดยตรง และเทวดาก็สามารถส่งจิตถึงท่านได้ แต่สาหรับสัตว์ในอบายภูมิปกติจะไม่สามารถรับบุญจากเราได้ ยกเว้นเปรตบาง ประเภทที่เรียกว่า ปรทัตตุปชีวิกเปรตเปรตประเภทนี้อยู่ได้ด้วยการขอส่วนบุญ บางครั้งก็มาเข้าฝัน บางครั้งปรากฏตัวให้เห็น หรือ ทากิริยาอื่นๆ เพื่อให้คนอุทิศบุญไปให้(เป็นส่วนหนึ่งที่เราเรียกว่า ผี นั่นเอง) ผมเคยอ่านหนังสือรวมคาสอนของหลวงพ่อฤาษีฯ วัดท่าซุง ท่านกล่าวถึง สัมภเวสี ที่หมายถึงวิญญาณเร่ร่อน ที่ตายก่อนถึงอายุขัย ด้วยอุปฆาตกกรรม วิญญาณเหล่านี้จะไปเกิดตามภพภูมิอื่นๆ ยังไม่ได้ เพราะยังไม่หมดอายุขัย จึงต้องวนเวียนอยู่อย่างนั้น จนกว่าจะ ครบอายุขัยจึงจะไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามแต่ผลกรรมที่ทามา พวกสัมภเวสีนั้น มีความเป็นอยู่ที่ลาบาก เพราะไม่สามารถรับบุญที่ ตัวเองเคยทามาได้ ต้องอยู่อย่างหิวโหย พวกเขาจึงพยายามติดต่อญาติหรือคนรู้จักให้ทาบุญอุทิศไปให้ หรือที่เรานิยมเรียกว่า ผี อีก เช่นกัน แต่การอุทิศบุญให้สัมภเวสีนั้น จะต้องเฉพาะเจาะจงชื่อ จึงจะได้รับผลบุญ เวลาที่เราทาบุญแล้วอุทิศแบบรวมๆ เขาจะไม่สามารถรับผลบุญได้ หลวงพ่อแนะนะว่า ถ้าจะทาบุญให้สัมภเวสี ให้ถวายสังฆทานพระที่ประกอบด้วยอาหารผ้าไตรและพระพุทธรูป เพราะการถวายพระพุทธรูปจะทาให้เขามีความสว่างมาก คือ เป็นเทวดา (เทวดาเขาวัดกันที่ความสว่าง ใครสว่างมากแสดงว่ามีฤทธิ์มีเดชมากกว่า) 3.ปัตตานุโมทนามัย คือ บุญสาเร็จด้วยการแสดงอนุโมทนาในส่วนบุญร่วมกับผู้อื่น แค่เรากล่าวสาธุ(หรืออนุโมทนาในใจ)ก็ได้บุญแล้ว ไม่เห็นต้องใช้เงินซักบาทเลย หลวงพ่อฤาษีฯ เคยสอนว่า
  • 9. การอนุโมทนานี้ได้ผล มาก ทาให้บารมีเต็มเร็วขึ้น ถ้าจิตเรามีสมาธินี่ได้ถึง 90เปอร์เซ็นต์ของคนทาเลยทีเดียว แล้วถ้าเขาทา 100คน เรานั่งอนุโมทนา อย่างเดียวนี่ ได้บุญมากกว่าคนทาซะอีกเรื่องผลของการอนุโมทนานี้มีกล่าวในพระไตรปิฎก (พระไตรปิฎก เล่มที่26ข้อ44) ที่กล่าวถึงเพื่อนของนางวิสาขามหาอุบาสิกานางไม่มีเงินทาบุญ ได้แต่ยินดีกับมหาทานที่นางวิสาขาทา ปรากฏว่าเมื่อนางตาย ได้ไปเกิดเป็นเทพนารีในสวรรค์ มีวิมานสวยงามหรือแม้แต่พระนางพิมพาเอง ที่ตามมาเกิดเป็นคู่บุญพระพุทธองค์ทุกๆ ชาติ เหตุเพราะเมื่อสมัยที่พระพุทธองค์ของเราเกิดเป็นฤาษี และได้ทาบุญกับพระพุทธเจ้าและเหล่าพระสาวก โดยการทอดกายเป็นสะพานให้พระพุทธเจ้าและเหล่าสาวกเดินผ่านเพื่อไม่ให้เปื้อนโคลน และอธิษฐานขอเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาล ซึ่งพระนางพิมพาในชาตินั้นก็เห็นเหตุการณ์ตลอดและตั้งจิตอนุโมทนาบุญและขอติดตามจนบรรลุธรรมตามพร ะพุทธองค์ในที่สุด 4.สีลมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล ได้แก่ การปฏิบัติตามข้อห้ามตามที่ทรงบัญญัติในพระปาฏิโมกข์เพื่อกาจัดกิเลส ศีลอุโบสถ อานิสงส์มากกว่า ศีล 5ศีล ของพระก็ได้อานิสงส์มากกว่าศีลของเณร อย่างนี้เป็นต้น การรักษาศีลได้อานิสงค์มากกว่าการให้ทาน ในพระไตรปิฎก กล่าวว่า ทาทาน 100ครั้งบุญไม่เท่ารักษาศีล1ครั้ง สาหรับการที่เราจะรับศีล(วิรัติศีล)นั้น ใน พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑ –หน้าที่ 558 ได้กล่าวเอาไว้ ว่า ศีลสามารถวิรัติศีล ได้ 3 วิธีคือ 1.สัมปัตตวิรัติได้แก่ เจตนางดเว้นซึ่งเกิดขึ้นในทันทีทันใด ที่ประจวบกับเหตุที่จะทาให้เสียศีลหมายความว่า เดิมไม่ได้ตั้งใจจะ รักษาศีล ไม่ได้สมาทานไว้ แต่เมื่อพบกับเหตุที่ตนจะล่วงศีลได้ จึงคิดงดเว้นขึ้นในขณะนั้น เช่น - เห็นสัตว์ที่พอจะฆ่าได้ น่าจะฆ่า แต่คิดเว้นเสีย ไม่ฆ่า - เจอกระเป๋าเงิน เจ้าของเขาวางไว้ แม้จะขโมย ก็พอขโมยได้ แต่งดเสีย ไม่ขโมย - หญิงที่จะล่วงประเวณีได้ ก็มี ช่องทางและโอกาสก็อานวยทุกอย่าง แต่ใจคิดงดเว้นการล่วงประเวณีเสีย ไม่ล่วง - ไปดูการดูงานถึงเมืองนอก กลับมาคนเดียว จะเล่าอะไร โกหกให้ใครฟังก็ได้ แต่คิดงดเว้นการโกหกเสีย ไม่พูด
  • 10. - เหล้าจะกิน ก็มีพร้อม จังหวะก็อานวย แต่คิดงดเสีย ไม่ดื่ม การตั้งใจงดเว้นเมื่อประจวบเข้ากับเหตุการณ์อย่างนี้ เรียกว่า สัมปัตตวิรัติ ผู้งดเว้นถือว่ามีศีลเหมือนกัน 2.สมาทานวิรัติ สมาทาน แปลว่า รับสมาทานวิรัติ แปลว่า งดเว้นด้วยการสมาทาน ข้อนี้หมายความว่า เราได้ตั้งใจไว้ก่อนว่า จะรักษาศีล(ไม่ว่าจะเป็นการไปรับสมาทานศีลที่วัด หรือกล่าวเองที่บ้าน หรือ คิดขึ้นมาใน ใจว่าเราจะรักษาศีลที่เรียกว่า เจตนาวิรัติ อย่างนี้ก็ถือเป็นสมาทานวิรัติเหมือนกัน) ครั้นไปพบเหตุการณ์อันชวนให้ล่วงศีล ก็ไม่ล่วงเพราะถือว่า ตนได้สมาทานศีลไว้ จะล่วงก็เสียดายศีล กลัวศีลจะขาด การงดเว้นจากการล่วงศีล ด้วยคานึงถึงศีลที่ตนได้สมาทานไว้อย่างนี้ เรียกว่า สมาทานวิรัติสมาทานวิรัติ กับ สัมปัตตวิรัติ มีผลต่างกันอยู่บ้าง คือ สัมปัตตวิรัติ ทาให้ศีลเกิดขึ้น เฉพาะชั่วระยะหนึ่ง ขณะที่จิตคิดงดเว้นเท่านั้นก่อนนั้นก็ไม่มีศีล หลังจากนั้นก็ไม่มีศีล จาเพาะมีในเวลาตั้งใจ งดเว้นเท่านั้น ส่วน สมาทานวิรัติ คือตั้งใจรักษาศีลอยู่เรื่อยๆ ศีลก็ ย่อมมีอยู่ตลอดเวลา จนกว่าตนเองจะล่วงละเมิดศีล ศีลจึงจะขาด คือเป็น อันสิ้นสุดการสมาทาน ต่อเมื่อได้สมาทานศีลอีก สมาทานวิรัติจึงจะเกิดอีก และเป็นผู้มีศีลสมุจเฉทวิรัติ 3.สมุจเฉทวิรัติ แปลว่า งดเว้นเด็ดขาด หมายถึง การงดเว้นของพระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันเป็นต้นไป พระอริยบุคคลทั้งหลายไม่เคยแม้แต่จะเกิดความคิดว่า เราจักฆ่าสัตว์มีชีวิต หรือ เบียดเบียนผู้อื่น ดังนั้นท่านจึงมีศีลบริสุทธิ์ ตลอด เวลา ไม่มีความเศร้าหมองของศีลในทางปฏิบัติแล้ว สาหรับปุถุชนอาจคิดว่า เรายังต้องประกอบอาชีพที่ยังต้องผิดศีลบ้างบางครั้ง จึงไม่สมาทานศีลดีกว่า จะได้ไม่ผิดศีล…อันนี้เป็นความคิดที่ผิด เพราะการรักษาศีลแม้เพียงชั่วขณะก็ได้กุศลมหาศาล ดังนั้นทางที่ดีเราควรสมาทานรักษาศีลตลอดชีวิต หากพลาดพลั้งทาศีลขาดเมื่อใดก็ให้กาหนดจิต เจตนาวิรัติศีลใหม่ อย่างนี้ศีลเราจะค่อยๆ บริสุทธิ์ขึ้นเอง สมมติว่าเราทาอาชีพแม่ค้าที่ยังต้องฆ่าสัตว์หรืออาชีพประมง แต่อยากรักษาศีลก็สามารถทาได้ โดยครูบาอาจารย์ท่านแนะนาว่า เวลาทาอาชีพก็ทาไป แต่เวลาก่อนนอนให้สมาทานศีลทุกวัน อย่างนี้เวลาเราหลับก็ได้ชื่อว่าเรามีศีลบริสุทธิ์ทุกวัน และในวันพระให้ รักษาศีลให้ได้ตลอดทั้งวัน 5.อปจายนมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการมีกิริยาอ่อนน้อมถ่อมตน อปจายนะ คือ ความอ่อนน้อม ไม่แข็งกระด้าง ผู้มีความประพฤติอ่อนน้อม ผู้ที่ขัดเกลาความมานะ และนิสัยกระด้างออกแล้ว รู้จักบุคคลที่ควรจะ อ่อนน้อมด้วย ในฐานะใดในสภาพใดสาหรับบุคคลที่ควรจะอ่อนน้อมด้วย มี ๓ ประเภท คือ
  • 11. 1. วัยวุฒิ ผู้ที่สูงกว่า ด้วย วัย 2. ชาติวุฒิ ผู้ที่สุงกว่า ด้วยชาติ ตระกูล 3. คุณวุฒิ ผู้ที่สูงกว่า ด้วยคุณธรรม บุคคลผู้มีปกติอ่อนน้อมกราบไหว้ผู้ใหญ่ ย่อมได้รับอานิสงส์ ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ในมงคลสูตร กล่าวว่า ผู้อ่อนน้อมถ่อมตน กาจัดมานะ กาจัดความกระด้างได้ ทาตนให้เป็นเสมือนผ้าเช็ดเท้า เสมอด้วยโคอุสุภะเขาชาด หรือเสมอด้วยงูที่ ถอนเขี้ยวแล้ว ท่านตรัสว่า เป็นมงคล 6.เวยยาวัจจมัย(ออกเสียงว่า ไวยาวัจจะมัย) คือ การงานชอบบุญสาเร็จด้วยการช่วยเหลือกิจการสงฆ์และภาระพระศาสนา ข้อนี้เป็นการทาบุญที่เน้นแรงคือ เอาแรงเข้าช่วย หลวงพ่อฤาษีฯ วัดท่า ซุง เคยสอนเอาไว้ว่า บุญจากการทาเวยยาวัจจมัย นั้น อานิสงส์นี้มีมาก คือ ได้อานิสงส์น้อยกว่าบวชเณรเล็กน้อย 7.ธัมมัสสวนมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการฟังธรรม ได้แก่ การฟังธรรมและนาข้อธรรมมาประพฤติปฏิบัติให้พ้นทุกข์ การฟังธรรม เป็นการศึกษาหาความรู้ เพื่อให้เกิดปัญญา เข้าใจในหลักพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งสามารถจะนา ให้ผู้ประพฤติปฏิบัติตาม ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน พ้นจากทุกข์ในสังสารวัฏนี้ได้ การฟังธรรมมีอานิสงส์มากถึง ๕ ประการ คือ 1. ได้ฟังในสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 2. เรื่องใดที่เคยได้ฟังแล้ว ได้ฟังซ้าอีกย่อมมีความชัดเจนขึ้น 3. บรรเทาความสงสัยเสียได้ 4. ทาความเห็นให้ถูกต้องได้ 5. จิตของผู้ฟังธรรมย่อมผ่องใส
  • 12. การได้ฟังพระธรรม พึงทราบว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุให้ประสบผลวิเศษนานาประการ มีการละจากความชั่ว ประพฤติความดี และ บรรลุธรรมอันเป็นที่สิ้นอาสวะได้ในที่สุด เป็นต้น ในสังยุตตนิกาย สคาถวรรค ปิยังกรสูตร กล่าวไว้ว่า ในเวลาใกล้รุ่งแห่งราตรีหนึ่ง ที่พระวิหารเชตวันฯ ท่านพระอนุรุทธะกาลังกล่าวธรรมอยู่ ครั้งนั้น นางยักษิณีผู้เป็นมารดาของปิยังกระ ได้กล่าวห้ามบุตรว่า “อย่าอึงไป ภิกษุกาลังกล่าวบทธรรมอยู่ ให้ตั้งใจฟัง เมื่อเรารู้แจ้งบทธรรมนั้นแล้วปฏิบัติ ข้อนั้นจักมีประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา หากเราศึกษา ทาตนให้เป็นผู้มีศีลดีนั่นแหละ จักพ้นจากกาเนิด ปีศาจได้”ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า การฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา คือเมื่อฟังแล้วย่อมเกิดความเข้าใจในธรรม ที่มีผู้ยกมาแสดง เมื่อเข้าใจในธรรมนั้นแล้ว น้อมนาคาสอนนั้นมาประพฤติปฏิบัติตามย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ในขณะที่ฟังธรรม แม้จะไม่รู้เรื่องราว ไม่เข้าใจในธรรมนั้น แต่ฟังด้วยความรู้สึกว่า “นั่นคือเสียงแห่งพระธรรม” เลื่อมใสในเสียงที่ได้ยิน บุคคลผู้มีปกติอ่อนน้อมกราบไหว้ผู้ใหญ่ ย่อมได้รับอานิสงส์ ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ในมงคลสูตร กล่าวว่า ผู้อ่อนน้อมถ่อมตน กาจัดมานะ กาจัดความกระด้างได้ ทาตนให้เป็นเสมือนผ้าเช็ดเท้า เสมอด้วยโคอุสุภะเขาชาด หรือเสมอด้วยงูที่ ถอนเขี้ยวแล้ว ท่านตรัสว่า เป็นมงคล 6.เวยยาวัจจมัย(ออกเสียงว่า ไวยาวัจจะมัย) คือ การงานชอบบุญสาเร็จด้วยการช่วยเหลือกิจการสงฆ์และภาระพระศาสนา ข้อนี้เป็นการทาบุญที่เน้นแรงคือ เอาแรงเข้าช่วย หลวงพ่อฤาษีฯ วัดท่า ซุง เคยสอนเอาไว้ว่า บุญจากการทาเวยยาวัจจมัย นั้น อานิสงส์นี้มีมาก คือ ได้อานิสงส์น้อยกว่าบวชเณรเล็กน้อย 7.ธัมมัสสวนมัย คือ บุญสาเร็จด้วยการฟังธรรม ได้แก่ การฟังธรรมและนาข้อธรรมมาประพฤติปฏิบัติให้พ้นทุกข์ การฟังธรรม เป็นการศึกษาหาความรู้ เพื่อให้เกิดปัญญา เข้าใจในหลักพระธรรมคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งสามารถจะนา ให้ผู้ประพฤติปฏิบัติตาม ได้บรรลุมรรคผลนิพพาน พ้นจากทุกข์ในสังสารวัฏนี้ได้ การฟังธรรมมีอานิสงส์มากถึง ๕ ประการ คือ 1. ได้ฟังในสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 2. เรื่องใดที่เคยได้ฟังแล้ว ได้ฟังซ้าอีกย่อมมีความชัดเจนขึ้น 3. บรรเทาความสงสัยเสียได้
  • 13. 4. ทาความเห็นให้ถูกต้องได้ 5. จิตของผู้ฟังธรรมย่อมผ่องใส การได้ฟังพระธรรม พึงทราบว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุให้ประสบผลวิเศษนานาประการ มีการละจากความชั่ว ประพฤติความดี และ บรรลุธรรมอันเป็นที่สิ้นอาสวะได้ในที่สุด เป็นต้น ในสังยุตตนิกาย สคาถวรรค ปิยังกรสูตร กล่าวไว้ว่า ในเวลาใกล้รุ่งแห่งราตรีหนึ่ง ที่พระวิหารเชตวันฯ ท่านพระอนุรุทธะกาลังกล่าวธรรมอยู่ ครั้งนั้น นางยักษิณีผู้เป็นมารดาของปิยังกระ ได้กล่าวห้ามบุตรว่า“อย่าอึงไป ภิกษุกาลังกล่าวบทธรรมอยู่ ให้ตั้งใจฟัง เมื่อเรารู้แจ้งบทธรรมนั้นแล้วปฏิบัติ ข้อนั้นจักมีประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา หากเราศึกษา ทาตนให้เป็นผู้มีศีลดีนั่นแหละ จักพ้นจากกาเนิด ปีศาจได้”ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า การฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา คือเมื่อฟังแล้วย่อมเกิดความเข้าใจในธรรม ที่มีผู้ยกมาแสดง เมื่อเข้าใจในธรรมนั้นแล้ว น้อมนาคาสอนนั้นมาประพฤติปฏิบัติตามย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ในขณะที่ฟังธรรม แม้จะไม่รู้เรื่องราว ไม่เข้าใจในธรรมนั้น แต่ฟังด้วยความรู้สึกว่า “นั่นคือเสียงแห่งพระธรรม”เลื่อมใสในเสียงที่ได้ยินย่อมก่อให้เกิดบุญกุศลได้เช่นกัน ดังท่านเล่าในพระไตรปิฎกไว้ว่า ค้างคาว กบ ได้ยินเสียงพระสวด ด้วยความตั้งใจฟัง และมีจิตเลื่อมใสในเสียงที่กล่าวธรรมนั้น ตายลงในขณะนั้น ทาให้ได้ไปเกิดในสวรรค์ พ้นจากความเป็นสัตว์เดรัจฉานได้ นี่ขนาดฟังไม่รู้เรื่องยังได้อานิสงส์ขนาดนี้ 8.ธัมมเทสนามัย คือ บุญสาเร็จด้วยการแสดงธรรม ได้แก่การอธิบายบรรยายธรรมะให้แก่ผู้ร่วมโลกที่ร่วมทุกข์เกิดแก่เจ็บตาย การแสดงธรรม ด้วยใจที่หวังจะให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์ โดยที่ตนมิได้มุ่งหวังในลาภสักการะใดๆ จัดเป็นบุญที่เรียกว่า“ธรรมทาน”เป็นบุญที่ให้ผลมากว่าทานทั้งปวง ดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า “การให้ธรรมเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง”การแสดงธรรมด้วยการแจกจ่ายธรรมคือแจกแจงพระธรรม ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว เพื่ออนุเคราะห์ให้ผู้ได้รับฟังเกิดจิตเลื่อมใสในพระสัทธรรมของพระพุทธองค์ ที่ทรงพร่าสอนอย่านี้ว่า ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล ธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ เป็นต้นการแสดงธรรมให้เลิกละ จากอกุศลธรรม ให้ตั้งอยู่ในกุศลธรรมทั้งหลายเช่น -การไม่ทาบาปทั้งปวง ๑ -การทากุศลให้ถึงพร้อม ๑
  • 14. -การทาจิตของตนให้ผ่องใส ๑ -การไม่กล่าวร้าย ๑ -การไม่ทาร้าย ๑ -การสารวมในพระปาฏิโมกข์ ๑ -การรู้ประมาณในการบริโภค ๑ -การนอนการนั่งในที่อันสงบสงัด ๑ -ความเพียรประกอบในการทาจิตให้ยิ่ง ๑ ธรรมเหล่านี้เป็นคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย (ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูตร โอวาทปาฏิโมกข์) ในอังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต อุทายีสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผู้อื่น พึงตั้งธรรม ๕ ประการนี้ในใจก่อน แล้วจึงแสดงธรรม คือ -เราจักแสดงธรรมไปโดยลาดับ ๑ -เราจักแสดงธรรมโดยอ้างเหตุผล ๑ -เราจักแสดงธรรมโดยอาศัยความเอ็นดู ๑ -เราจักไม่เป็นผู้เพ่งอามิสในการแสดงธรรม ๑ -เราจักไม่แสดงธรรมให้กระทบตนและผู้อื่น ๑ ผู้ใดตั้งธรรม ๕ ประการนี้ ไว้ภายในใจแล้วแสดงธรรม อย่างนี้ชื่อว่าเป็น “ธรรมทาน”โดยแท้อนึ่ง แม้บุคคลผู้แสดงธรรมเองก็ย่อมได้รับประโยชน์ คือ ได้เข้าใจในความหมายและความลึกซึ้งในธรรมที่ยกมาแสดงนั้นเพิ่มขึ้น ๑ เป็นที่พึงพอใจของพระบรมศาสดา ๑ อาจแทงตลอดเนื้อความอันลึกซึ้งของธรรมนั้น ได้ ๑ เป็นที่สรรเสริญของกัลยาณชน ๑ สาหรับการแสดงธรรมนี้มิได้หมายว่า ภิกษุเท่านั้นที่จะเป็นผู้แสดงธรรมได้ แม้ อุบาสกอุบาสิกา หรือฆราวาสผู้มีความรู้ ผู้ศึกษาธรรม ผู้ปฏิบัติ แม้แต่การอบรมเยาวชน หรือลูกหลานด้วยธรรมะ ก็ชื่อว่า “ธัมมเทสนา” เช่นกัน 9.ภาวนามัย คือ บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ได้แก่ การปฏิบัติใจเพื่อกาจัดกิเลส แบ่งเป็น สมถะภาวนา และวิปัสสนาภาวนา การภาวนาได้ผลบุญมากกว่าการรักษาศีลอีก รักษา ศีล100ครั้งบุญไม่เท่าบาเพ็ญภาวนา 1ครั้ง “ภาวนา”แปลว่า การทาให้มีขึ้น ทาให้เกิดขึ้น ได้แก่ การฝึกอบรมจิตใจให้เกิดความสงบ ขั้นสมาธิและปัญญา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงข้อปฏิบัติไว้ ๒ ประการ คือ สมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา สมถภาวนา คือ การฝึกอบรมจิตใจให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งการเจริญ สมถภาวนา ชื่อว่า กรรมฐาน มี ๔๐ ประเภท คือ
  • 15. -กสิณ ๑๐ -อสุภะ๑๐ -อนุสสติ ๑๐ -พรหมวิหาร ๔ -อรูป ๔ อาหาเรปฏิกูลสัญญา และจตุธาตุววัฏฐาน(รายละเอียดในวิสุทิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒)วิปัสสนาภาวนา คือ การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้เกิดความรู้แจ้งใน สภาพธรรมที่เป็นจริงตามสภาพของไตรลักษณ์ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา กรรมฐาน อันเป็นที่ตั้งของการเจริญวิปัสสนาภาวนา ได้แก่ -ขันธ์ ๕ -อายตนะ ๑๒ -ธาตุ ๑๘ -อินทรีย์ ๒๒ -อริยสัจจ ๔ -ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ว่า หนทางปฏิบัติเพื่อการเข้าไปรู้แจ้งลักษณะของสภาพธรรมทั้ง ๖ ประการนี้ มีเพียง ทางเดียวที่จะนาไปสู่พระนิพพานได้ ทางสายเอกนั้นได้แก่ สติปัฏฐาน ๔ -กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นกายในกาย มี ๑๔ ข้อ -เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มี ๙ ข้อ
  • 16. -จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นจิตในจิต มี ๑๖ ข้อ -ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นธรรมในธรรม มี ๕ ข้อ สาหรับการเจริญภาวนาในขั้น บุญกิริยาวัตถุ นี้ โดยทั่วไป ท่านหมายเอาเพียง มหากุศลธรรมดา แต่หากว่าผู้ใด ได้ศึกษาข้อปริยัติ ให้มีความเข้าใจ ก่อนลงมือปฏิบัติ แล้วพากเพียรปฏิบัติ ให้ถูกต้องตามแนวทางที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ก็สามารถเป็น บันไดให้ก้าวไปถึงฌาน หรือมรรคผลได้(รายละเอียดในมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ สติปัฏฐานสูตร ข้อ ๑๓๑–๑๕๒ และทีฆนิกาย มหาวรรค สติปัฏฐานสูตร ข้อ ๒๗๓ –๓๐๐ 10.ทิฏฐชุกัมม์ คือ การทาความเห็นให้ตรงเป็นสัมมาทิฏฐิ เชื่อในธรรมและการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย สัมมาทิฐิ แปลว่า ความเห็นถูกต้อง หมายถึงความเห็นที่ถูกคลองธรรม เห็นตามความเป็นจริงเป็นความเห็นที่เกิดจากโยนิโส มนสิการ ประกอบด้วยปัญญา ตามวัดส่วนใหญ่เขียนคานี้ตามแบบภาษาบาลีว่า สัมมาทิฏฐิ สัมมาทิฐิ ที่เป็น อริยมรรค มีองค์8หมายถึง ความเห็นในอริยสัจ คือเห็นทุกข์ เห็นสมุทัย เห็นนิโรธ เห็นมรรค สัมมาทิฐิ ที่เป็นมโนสุจริตหมายถึง ความเห็นถูกต้อง 10อย่าง(ตรงข้ามกับ มิจฉาทิฏฐิ 10) คือ เห็นว่าการให้ทาน มีผลจริง (หมายถึงการให้ในระดับแบ่งปันกัน) การบูชามีผลจริง(หมายถึงการให้ในระดับสงเคราะห์กันมีผล) การเคารพบูชามีผลจริง (หมายถึงการยกย่องบูชาบุคคลที่ควรบูชามีผลดีจริง) ผลวิบากของกรรมดีกรรมชั่วมีจริง คุณของมารดามีจริง (หมายถึงมารดามีพระคุณต่อบุตรอย่างยิ่ง บุตรควรตั้งใจตอบแทนพระคุณท่านอย่างเต็มที่) คุณของบิดามีจริง (หมายถึง บิดามีพระคุณต่อบุตรอย่างยิ่ง บุตรควรตั้งใจตอบแทนพระคุณท่านอย่างเต็มที่) โลกนี้มี (หมายถึง โลกนี้มีคุณเป็นอย่างยิ่ง เหมาะสาหรับใช้สร้างบุญบารมี) โลกหน้ามี (หมายถึง โลกหน้ามีจริง ตายแล้วไม่สูญ ความเป็นไปของโลกหน้า เป็นผลมาจากโลกนี้) พวกโอปปาติกะ (ผุดขึ้นเกิด) มี (หมายถึง สัตว์ที่ผุดขึ้นเกิดแล้วโตทันทีมีจริง อาทิเช่น ในภูมิทุคติ ได้แก่ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย ในภูมิสุคติ ได้แก่เทวดา พรหม อรูปพรหม) สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบจนบรรลุมรรคผลนิพพาน รู้แจ้งเห็นจริงด้วยตนเองแล้วสอนให้ผู้รู้ตามด้วยมีจริง จาก มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ ก็สัมมาทิฏฐิเป็นไฉน ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ ความรู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อันนี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ สรุป ในบุญกิริยาวัตถุทั้ง ๑๐ ประการ นี้ เป็นการทาบุญที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ในพระพุทธศาสนา โดยไม่ต้องใช้จ่ายเงินทอง มากมาย มีบุญกิริยาประการเดียวคือ การให้วัตถุทานเท่านั้นที่ต้องใช้เงินทอง บุญกิริยาที่เหลืออีก ๙ ประการ มิต้องใช้เงินทองเลย เพราะฉะนั้นทุกคนสามารถที่จะสั่งสมบุญได้มากขึ้นในชีวิตประจาวัน ถ้ามีความเข้าใจในขั้นตอนของการทาบุญเช่นนี้แล้ว ในคาถาธรรมบท ท่านกล่าวว่า ไม่ควรประมาทในบุญเล็กๆ น้อยๆ ว่ายังไม่ควรทา เพราะแม้บุญเล็กน้อยนั้น ถ้าได้สั่ง บ่อยๆ ก็ยังมีผลให้เกิดความสุข
  • 17. เหมือนหม้อน้าที่เปิดปากไส้ แม้น้าหยดลงที่ละหยด ก็สามารถเต็มหม้อน้านั้นได้ ฉันใดบุญเล็กบุญน้อย ที่บุคคลทาบ่อยๆ ก็ย่อมจะพอกพูนให้เต็มเปี่ยมได้ เหมือนหยดน้าที่หยดลงมาจนเต็มหม้อน้า ฉันนั้นแล โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der 0 เพิ่มความคิดเห็น 6. JUL 5 บทที่3 วิธีการทาโครงงาน บทที่ 3 วิธีกำรทำโครงงำน 1.รวบรวมข้อมูลความรู้ 2.ประชุมวางแผนตั้งแต่วันที่ 1กรกฎาคม 2555 วางแผนดาเนินงานดังนี้ - 1กรกฎาคม 2555 เลือกหัวข้อโครงงาน - 2กรกฎาคม 2555 วางแผนการทางาน - 3-4กรกฎาคม 2555 รวบรวมข้อมูล - 4กรกฎาคม 2555 แยกแยะข้อมูล - 6กรกฎาคม 2555 เรียบเรียงข้อมูล - 7กรกฎาคม 2555 จัดทารูปเล่ม - 8กรกฎาคม 2555 จัดทาป้ายนิเทศ - 9กรกฎาคม 2555 นาเสนอข้อมูล 3.การนาไปใช้ประโยชน์ - นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน - เป็นแนวทางในการเลือกปฏิบัติตน - เป็นแนวทางในการทาความดี โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
  • 18. 0 เพิ่มความคิดเห็น 7. JUL 5 บทที่4 ผลการดาเนินงาน บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำน จากการศึกษาบุญกิริยา 10พบว่า 1.บุญกิริยาวัตถุ 10 เป็นคาสอนของพระพุทธศาสนา 2.องค์ประกอบของบุญกิริยาวัตถุ 10 มีดังนี้ การกระทาที่เป็นบุญ มีอยู่10อย่าง โดยแบ่งเป็น 3หมวด คือหมวดทาน หมวดศีล หมวดภาวนา บุญกิริยาวัตถุ 3 หมวดทาน การทาทาน (ทานมัย) การอุทิศบุญกุศลให้ผู้อื่น (ปัตติทานมัย) การยินดีในความดีของผู้อื่นหรืออนุโมทนา (ปัตตานุโมทนามัย) หมวดศีล การรักษาศีล (สีลมัย) มีความอ่อนน้อมต่อผู้อื่น (อปจายนมัย) ช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ (เวยยาวัจจมัย) หมวดภาวนา การฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย) การแสดงธรรม (ธัมมเทสนามัย) การภาวนา (ภาวนามัย) หมวดที่เข้าได้กับทุกหมวด การทาความคิดเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์) 3.การนาไปใช้ประโยชน์ - นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน - เป็นแนวทางในการเลือกปฏิบัติตน - เป็นแนวทางในการทาความดี ษี โพสต์เมื่อ 5th July 2012 โดย Apisit Der
  • 19. 0 เพิ่มความคิดเห็น 8. JUL 5 บทที่ 5 สรุปผลโครงงาน บทที่ 5 สรุปผลโครงงำน 1.สรุป หลักธรรมเรื่องบุญกิริยาวัตถุ 10นี้ สามารถนามาประยุกต์ปฏิบัติใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างง่ายดาย โยไม่ต้องทาอะไรมาก ไม่ต้องเสียเงินแม้แต่บาทเดียวในการที่เราจะทาบุญ เพียงแค่เรามีจิตใจอันดีงาม รักษาศีล รู้จักการให้ทาน รู้จักการภวนา แค่นี้ก็ถือว่าเป็นการทาบุญแล้ว 2.ข้อเสนอแนะ - อยากให้โครงงานเรื่องนี้มีการเผยแพร่เข้าไปยังสื่อต่างๆมากว่านี้ - อยากให้โครงงานนี้มีนี้หาที่กระชับใจความอ่านแล้วเข้าใจง่ายกว่านี้