SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 7
 กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้
เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียน
มหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็ นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกล
ความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้
บ้าง ซึ่งเป็ นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคือ
อยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจ
ในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และ
เหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความ
ตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มี
การประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะ
ของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็
สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
(ต่อ)
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถ
แก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดย
ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ที่
โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและ
สนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือ
การลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน
หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็ นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่อง
ของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถ
กาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิ ดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตาม
สะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการ
เรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous
Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม
ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ
ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
(ต่อ)
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้
ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา
มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความ
ช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา
สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้
นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจาก
ผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่ม
ชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียน
ได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็ นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็
สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
 อธิบายความหมายและจาแนกประเภท
ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
 สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็ นการ
ออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ
(Methods)” โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ มาเป็ นพื้นฐานในการ
ออกแบบร่วมกับสื่อ และกระตุ้นให้เรียนต้องเป็ นผู้สร้างและขยาย
โครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครูเป็ นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ
ต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการนาวิธีการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
 สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติ
วิสต์ ได้แก่ลักษณะเป็ นโหนด (Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยง
กัน (Link) เป็ นเครือข่ายทั่วโลก ซึ่งแต่ละโหนดความรู้ที่ผู้เรียน
คลิกเข้าไปศึกษาจะสนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงปูพื้น
ฐานความรู้ที่ช่วยในการสร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษะด้าน
การสื่อสารที่สามารถใช้แลกเปลี่ยนความรู้ แนวคิด และขยาย
มุมมองระหว่างกันได้ตลอดเวลา
 มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็ นการนาทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์มาเป็ นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสาน
ร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง
หลายมิติ (Hyperlink )
 ชุดสร้างความรู้ เป็ นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็ น
พื้นฐานในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภท
ต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ โดยมีหลักการและ
องค์ประกอบที่สาคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการ
เรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการ
โค้ช
 วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3
แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็ นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการ
เชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง อยากจะได้
สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการ
เรียนมากขึ้น
โรงเรียนแห่งนี้ควรมีนวัตกรรมทางการศึกษาเข้ามาช่วยใน
กระบวนการเรียนรู้คือ มัลติมีเดีย
ทั้งนี้เพราะว่าเป็ นเครื่องมือที่สาคัญทางการศึกษา มัลติมีเดีย
สามารถที่จะนาเสนอได้ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก
ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถที่จะจาลอง
ภาพของการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก
(Active Learning)
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้าน
สถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่
ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน
ควรเลือกใช้E-Learning เป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาที่
เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เป็ นอยู่เดิม เป็ นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตดาวเทียม วิดีโอเทป แผ่นซีดี ฯลฯ
โรงเรียนมหาชัย
E-Learning ความหมายคือ การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ
ห้องเรียนเสมือนจริง และอื่นๆ มากมาย โดยสถานการณ์ดังกล่าวมีสิ่งที่มี
เหมือนกันอยู่ประการหนึ่งคือ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเป็ นสื่อสารของ
การเรียนรู้
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนนั้นมีหลักการสาคัญ 4 ประการ คือ
ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา
การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะทาให้มีการเรียนรู้อย่างมี
ปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน
ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็ นผู้กระจายถ่ายทอดข้อมูล
มาเป็ นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การประเมิน และการใช้
ประโยชน์จากสารสนเทศที่ค้นมาจากสื่อหลากหลาย
การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข้องกันหลายวิชา
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการ
เรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการ
เผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น
ควรนานวัตกรรมการศึกษาทุกประเภทมาใช้ในการ
ออกแบบโดยใช้หลักการในการออกแบบสื่อและสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
 จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ใน
บทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการ
เรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่
นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้ง
อธิบายเหตุผล
ชุดการสอน เพราะชุดของกิจกรรมการเรียนการสอนจะมีการนาเอาสื่อ
การสอนหลายๆ ชนิดมาประกอบเข้าด้วยกัน ในรูปของสื่อประสมที่
สอดคล้องกับเนื้อหาและประสบการณ์ โดยสื่อการสอนแต่ละชนิดจะ
ส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ
ช่วยให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งเอาไว้เนื่องจากวิชา
คณิตศาสตร์เป็ นวิชาที่ต้องมีการทาความเข้าใจและรู้วิธีการคิด
เพราะฉะนั้นครูก็ยังเป็ นตัวแปรสาคัญในการกระตุ้นให้เด็กได้เกิด
กระบวนการคิดเด็ก และที่สาคัญควรใช้หลักการในการออกแบบสื่อและ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์จะทาให้เด็กได้สร้าง
ความรู้ความเข้าใจระหว่างการแก้สถานการณ์ปัญหา
วิชาคณิตศาสตร์นั้นหากเอาเนื้อหาไปลงเว็บไซด์โดยที่ให้เด็กเรียนรู้หรือทา
ความเข้าใจด้วยตนเองแล้ว อาจจะทาให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้
หรือเข้าใจเนื้อหาเพียงผิวเผิน ไม่ได้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง ดังนั้นสื่อที่ควรใช้คือ
นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
น.ส.พชรธรษ์ จาปีพรหม 553050086-5
นายวิวัฒน์ งามเสน่ห์ 553050100-7

More Related Content

What's hot

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
Ponz Tana
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
Thamonwan Kottapan
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
siri123001
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
Siri Siripirom
 
บทท 7นวัตกรรม
บทท  7นวัตกรรมบทท  7นวัตกรรม
บทท 7นวัตกรรมJessada Wansuk
 

What's hot (13)

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
บทท 7นวัตกรรม
บทท  7นวัตกรรมบทท  7นวัตกรรม
บทท 7นวัตกรรม
 

Viewers also liked

งานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาDoramuNo Vongsuwan
 
Barron Crossing Rezoning
Barron Crossing RezoningBarron Crossing Rezoning
Barron Crossing Rezoning
City of College Station
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
Teaching models
Teaching modelsTeaching models
Teaching models
Noriah Awang
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Mod DW
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
Mamoss CM
 
Cognitive and social constructivism. powell
Cognitive and social constructivism. powellCognitive and social constructivism. powell
Cognitive and social constructivism. powell
Alejandra Gonzalez Garcia
 
Models of teaching
Models of teachingModels of teaching
Models of teaching
ucte vaikom_dipu arayankavu
 
Social Constructivism & Cognitive Development Theory
Social Constructivism & Cognitive Development TheorySocial Constructivism & Cognitive Development Theory
Social Constructivism & Cognitive Development Theory
Sinky Zh
 
Model of Teaching
Model of TeachingModel of Teaching
Model of Teaching
Deepty Gupta
 
Models of teaching
Models of teachingModels of teaching
Models of teaching
Aileen Asim
 
3 hard facts shaping higher education thinking and behavior
3 hard facts shaping higher education thinking and behavior3 hard facts shaping higher education thinking and behavior
3 hard facts shaping higher education thinking and behavior
Grant Thornton LLP
 

Viewers also liked (12)

งานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มนวัตกรรม บทที่ 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
 
Barron Crossing Rezoning
Barron Crossing RezoningBarron Crossing Rezoning
Barron Crossing Rezoning
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
Teaching models
Teaching modelsTeaching models
Teaching models
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
Cognitive and social constructivism. powell
Cognitive and social constructivism. powellCognitive and social constructivism. powell
Cognitive and social constructivism. powell
 
Models of teaching
Models of teachingModels of teaching
Models of teaching
 
Social Constructivism & Cognitive Development Theory
Social Constructivism & Cognitive Development TheorySocial Constructivism & Cognitive Development Theory
Social Constructivism & Cognitive Development Theory
 
Model of Teaching
Model of TeachingModel of Teaching
Model of Teaching
 
Models of teaching
Models of teachingModels of teaching
Models of teaching
 
3 hard facts shaping higher education thinking and behavior
3 hard facts shaping higher education thinking and behavior3 hard facts shaping higher education thinking and behavior
3 hard facts shaping higher education thinking and behavior
 

Similar to Chap.7 (problem)

บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
Sattakamon
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Kanatip Sriwarom
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Tannoi Tesprasit
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
pohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 

Similar to Chap.7 (problem) (15)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 

More from Wiwat Ngamsane

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
Wiwat Ngamsane
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 

More from Wiwat Ngamsane (7)

Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 

Chap.7 (problem)

  • 2.  กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียน มหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็ นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกล ความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้ บ้าง ซึ่งเป็ นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคือ อยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจ ในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และ เหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความ ตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มี การประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะ ของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็ สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม (ต่อ)
  • 3. โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถ แก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดย ประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ที่ โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและ สนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือ การลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็ นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่อง ของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถ กาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิ ดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตาม สะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการ เรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ (ต่อ)
  • 4. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความ ช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจาก ผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่ม ชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียน ได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็ นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็ สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 6.  สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็ นการ ออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ มาเป็ นพื้นฐานในการ ออกแบบร่วมกับสื่อ และกระตุ้นให้เรียนต้องเป็ นผู้สร้างและขยาย โครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครูเป็ นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการนาวิธีการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
  • 7.  สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ ได้แก่ลักษณะเป็ นโหนด (Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยง กัน (Link) เป็ นเครือข่ายทั่วโลก ซึ่งแต่ละโหนดความรู้ที่ผู้เรียน คลิกเข้าไปศึกษาจะสนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงปูพื้น ฐานความรู้ที่ช่วยในการสร้างความรู้ตลอดจนคุณลักษะด้าน การสื่อสารที่สามารถใช้แลกเปลี่ยนความรู้ แนวคิด และขยาย มุมมองระหว่างกันได้ตลอดเวลา
  • 8.  มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็ นการนาทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์มาเป็ นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสาน ร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง หลายมิติ (Hyperlink )
  • 9.  ชุดสร้างความรู้ เป็ นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็ น พื้นฐานในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภท ต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ โดยมีหลักการและ องค์ประกอบที่สาคัญได้แก่ สถานการณ์ปัญหา แหล่งการ เรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการ โค้ช
  • 11. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็ นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการ เชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง อยากจะได้ สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการ เรียนมากขึ้น โรงเรียนแห่งนี้ควรมีนวัตกรรมทางการศึกษาเข้ามาช่วยใน กระบวนการเรียนรู้คือ มัลติมีเดีย ทั้งนี้เพราะว่าเป็ นเครื่องมือที่สาคัญทางการศึกษา มัลติมีเดีย สามารถที่จะนาเสนอได้ทั้งเสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และวีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถที่จะจาลอง ภาพของการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก (Active Learning) โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
  • 12. โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้าน สถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน ควรเลือกใช้E-Learning เป็ นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เป็ นอยู่เดิม เป็ นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตดาวเทียม วิดีโอเทป แผ่นซีดี ฯลฯ โรงเรียนมหาชัย E-Learning ความหมายคือ การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริง และอื่นๆ มากมาย โดยสถานการณ์ดังกล่าวมีสิ่งที่มี เหมือนกันอยู่ประการหนึ่งคือ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเป็ นสื่อสารของ การเรียนรู้
  • 13. การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนนั้นมีหลักการสาคัญ 4 ประการ คือ ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะทาให้มีการเรียนรู้อย่างมี ปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็ นผู้กระจายถ่ายทอดข้อมูล มาเป็ นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การประเมิน และการใช้ ประโยชน์จากสารสนเทศที่ค้นมาจากสื่อหลากหลาย การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข้องกันหลายวิชา
  • 14. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการ เรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการ เผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น ควรนานวัตกรรมการศึกษาทุกประเภทมาใช้ในการ ออกแบบโดยใช้หลักการในการออกแบบสื่อและสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
  • 15.  จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ใน บทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่ นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้ง อธิบายเหตุผล
  • 16. ชุดการสอน เพราะชุดของกิจกรรมการเรียนการสอนจะมีการนาเอาสื่อ การสอนหลายๆ ชนิดมาประกอบเข้าด้วยกัน ในรูปของสื่อประสมที่ สอดคล้องกับเนื้อหาและประสบการณ์ โดยสื่อการสอนแต่ละชนิดจะ ส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ ช่วยให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งเอาไว้เนื่องจากวิชา คณิตศาสตร์เป็ นวิชาที่ต้องมีการทาความเข้าใจและรู้วิธีการคิด เพราะฉะนั้นครูก็ยังเป็ นตัวแปรสาคัญในการกระตุ้นให้เด็กได้เกิด กระบวนการคิดเด็ก และที่สาคัญควรใช้หลักการในการออกแบบสื่อและ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์จะทาให้เด็กได้สร้าง ความรู้ความเข้าใจระหว่างการแก้สถานการณ์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์นั้นหากเอาเนื้อหาไปลงเว็บไซด์โดยที่ให้เด็กเรียนรู้หรือทา ความเข้าใจด้วยตนเองแล้ว อาจจะทาให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้ หรือเข้าใจเนื้อหาเพียงผิวเผิน ไม่ได้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง ดังนั้นสื่อที่ควรใช้คือ
  • 17. นายธวัช ปะธิเก 553050078-4 น.ส.พชรธรษ์ จาปีพรหม 553050086-5 นายวิวัฒน์ งามเสน่ห์ 553050100-7