SlideShare a Scribd company logo
นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7
สถานการณ์ปัญหา
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับ
บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียน ความ
ต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็ก
มีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง และเหมาะสมกับ
การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อน
ทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้
อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้น
มากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่และเวลา โดยประยุกต์
ใช้คุณสมบัติเวิล์ดไวด์ เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน
สิ่งแรกที่ต้องมีคือ การลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ
อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้
ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถกาหนด
กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียน
แบบประสานเวลา และไม่ประสานเวลาและสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้าง
ความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถ
แก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้
ได้ในหลายบริบท เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่
จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้
หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
อธิบายความหมายและจาแนกประเภท
ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
เป็นการออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ
“วิธีการ (Methods)” มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะ
ของสื่อ และระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นการออกแบบโดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะ
ของสื่อบนเครือข่ายที่สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน
2.มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับ
คุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการ
เชื่อมโยงหลายมิติ
3.ชุดสร้างความรู้
เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสานร่วมกับการ
นาสื่อประเภทต่างๆ
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้
ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เพราะ เป็นโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์บันทึกเนื้อหาวิชาที่มีทั้งอักษร ข้อความ
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ แผนภูมิภาพเคลื่อนไหว
และเสียง โดยให้ความรู้แก่ผู้เรียน มีคาถามเพื่อให้
ผู้เรียนตอบ มีการประเมินผลคาตอบของผู้เรียนทันที
เป็นแบบการฝึกทักษะหรือฝึกปฏิบัติ มีการจาลอง
สถานการณ์เพื่อการเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับความจริง หรือ
เป็นเกม ให้ผู้เรียนได้เลือกเล่นและแข่งขัน ที่สอดแทรก
ด้วยเนื้อหาความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนนั่นเอง
1) ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กาหนดลาดับการเข้าเว็บนั้น
หรือตามลาดับที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้
2) การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะเป็นไปได้ดีถ้าเป็นไปตาม
สภาพแวดล้อมตามแนวคิดของนักคอนสตรัคติวิสต์ กล่าวคือมีการ
เรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน
3) ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็นผู้กระจายถ่ายทอดข้อมูลมา
เป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การประเมิน และการใช้ประโยชน์
จากสารสนเทศที่ค้นมาจากสื่อหลากหลาย
4) การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข้องกันหลายวิชา และไม่กาหนด
ว่าจะต้องบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ในเวลาที่กาหนด
หน่วยการเรียนการสอน
เป็นบทเรียนที่ใช้เรียนเป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่มใหญ่ได้ มีลักษณะ
เด่นคือ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย เพื่อ
ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล มี ส่วนประกอบหลัก
ได้แก่ ความมุ่งหมาย กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล
ลักษณะของหน่วยการเรียนการสอน
•โปรแกรมทั้งหมดถูกขยายเป็นส่วนๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซ้อน
และสามารถมองเห็นโครงร่างทั้งหมดของโปรแกรม
•ยึดตัวผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการจัดระบบการเรียนการสอน
•มีจุดประสงค์ในการเรียนที่ชัดเจน
• เน้นการเรียนด้วยตนเอง
•ใช้วิธีการสอนแบบต่างๆไว้หลายอย่าง
• เน้นการนาเอาวิธีระบบ (System Approach) เข้ามาใช้ใน
การสร้าง
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่7
ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
ลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน
พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเรียนรู้ของผู้เรียน ผ่านการปฏิบัติลงมือ
กระทาด้วยตนเอง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ หลักการที่สาคัญ
ครูจะต้องเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อม
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา
แหล่งเรียนรู้
ฐานความช่วยเหลือ
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
การโค้ช
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวพัสตราภรณ์ สักคุณี 553050006-9
นางสาวจันทิมา ชาตะ 553050058-0
นางสาวอภิญญา พลยืน 553050328-7

More Related Content

What's hot

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
Ponz Tana
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
Thamonwan Kottapan
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
siri123001
 

What's hot (13)

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 

Viewers also liked (6)

บท7
บท7บท7
บท7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7.1
นวัตกรรมบทที่ 7.1นวัตกรรมบทที่ 7.1
นวัตกรรมบทที่ 7.1
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Powerpoint7
Powerpoint7Powerpoint7
Powerpoint7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Similar to Chapter 7

บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
Sattakamon
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Kanatip Sriwarom
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
Siri Siripirom
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
pohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Tannoi Tesprasit
 

Similar to Chapter 7 (18)

Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Chapter 7