SlideShare a Scribd company logo
อาณาจักรสัตว์
Animalia kingdom
อาณาจักรสัตว์
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ประกอบด้วยเซลล์ชนิดยูแคริโอต การจาแนกเป็นไฟลัมต่างๆใช้
ลักษณะสาคัญคือ จานวนชั้นของเนื้อเยื่อ ช่องภายในตัว ปล้องขา ลาตัว ชนิดของท่อ
ทางเดินอาหาร สมมาตร(symmetry) ของลาตัว ชนิดของระบบไหลเวียน และการ
พัฒนาของระบบอื่นๆ แบ่งออกเป็นสอง ซับคิงดอม(Subkingdom) คือ ซับคิงดอมพารา
ซัว(Parazoa)ได้แก่ฟองน้าและซับคิงดอมเมทาซัว(Metazoa) ได้แก่สัตว์อื่นๆที่เหลือ ซึ่ง
แบ่งย่อยเป็นไฟลัมต่างๆมากถึง 30ไฟลัมในปัจจุบัน แต่ที่สาคัญมี 10ไฟลัมคือ
1. ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
เป็นสัตว์หลายเซลล์ ไม่มีสมมาตร ลาตัวเป็นรูพรุน มีช่องน้าเข้าและ
ช่องน้าออก มีโครงร่างแข็งหรือเป็นเส้นใยโปรตีน เช่น ฟองน้าแก้ว สกุล
Euplectellaฟองน้าน้าจืด สกุล Spongillaฟองน้าถูตัว สกุล Spongia
2.ไฟลัมซีเลนเทอราตวา(PhylunCoelenterata)
เป็นสัตว์ที่มีเนื้อเยื่อสองชั้น มีสมมาตรแบบรัศมี(radialsymmetry) มีท่อทางเดิน
อาหาร แต่ไม่มีช่องตัว มีเซลล์ไนโดไซต์(cnidocyte)สร้างเข็มพิษ (nematocyst)
แบ่งเป็นสามชั้น
2.1 ชั้นไฮโดรชัว(Hydrozoa) ได้แก่ ไฮดรา (Hydra) แมงกะพรุนไฟ (Physalia)
2.2 ชั้นไซโฟซัว(Scyphozoa) ได้แก่ แมงกะพรุนหนัง (Aurelia) แมงกะพรุนไฟ
(Chironex)
2.3 ชั้นแอนโทซัว(Anthozoa) ได้แก่ ปะการัง (coral) ปะการังเขากวาง
(Acrepora)กัลปังหา(sea fan)
3.ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส(Phylum Platyhelminthes)
ได้แก่ หนอนตัวแบน มีเนื้อเยื่อสามชั้น ไม่มีช่องตัว มีสมมาตรแบบด้านข้าง
(bilateralsymmetry) มีระบบย่อยอาหาร (บางชนิดไม่มี)แบ่งเป็นสามชั้น
3.1 ชั้นเทอร์เบลลาเรีย(Turbellaria) ได้แก่ พลานาเรีย(Dugesia)
3.2 ชั้นทรีมาโทดา (Trematoda) ได้แก่ พยาธิใบไม้ (fluke) เช่น พยาธิใบไม้ในตับ
(Opisthorchisviverrini)
3.3 ชั้นเซสโทดา (Cestoda) ได้แก่ พยาธิตัวตืด (tape worm) เช่น พยาธิตัวตืดหมู
(Taeniasolium)
4.ไฟลัมเนมาโทดา (Nematoda)
ได้แก่ หนอนตัวกลม มีเนื้อเยื่อสามชั้นมีสมมาตรแบบด้านข้าง มีช่องตัว
เทียม (pseudocoet) เช่น พยาธิไส้เดือน (Ascarislumbricoides) โรค
เท้าช้าง(Brugiamalayi)
5.ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
หนอนปล้อง ลาตัวแบ่งเป็นปล้องชัดเจน มีเนื้อเยื่อสามชั้นมีสมมาตรแบบ
ด้านข้าง มีช่องตัวที่แท้จริง (coelom) มีระบบไหลเวียนและระบบประสาท แบ่งเป็น
สามชั้น
5.1 ชั้นโพลีคีตา (Polychaeta) ได้แก่ แม่เพรียง (Nereis) หนอนฉัตร (trbe
worm)
5.2 ชั้นโอลิโกคีตา (Oligochaeta) ได้แก่ ไส้เดือนดิน (Pheretima)
5.3 ชั้นไฮรูดิเนีย(Hirudinea) ได้แก่ ปลิง (leech) ทากดูดเลือด (landleech)
6.ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)
ลาตัวนิ่มมักมีเปลือกหุ้มเนื้อเยื่อสามชั้น มีสมมาตรด้านข้างมีช่องตัวลดรูปจนมี
ขนาดเล็ก มีระบบไหลเวียนและระบบประสาท แบ่งเป็นห้าชั้น
6.1 ชั้นแอมฟินิวรา(Amphimeura) ได้แก่ ลิ่นทะเล (chiton)
6.2 ชั้นแกสโทรโพดา (Gastropoda) ได้แก่ หอยกาบเดี่ยว (snail) หอยทาก (slug)
ทากทะเล (nudibranch)
6.3 ชั้นแพลีไซโพดา (Pelecypoda) ได้แก่ หอยกาบคู่ (bivalves) เช่นหอยแมลงภู่
(Mytilusbiridis)
6.4 ชั้นสแคโฟโพดา (Scaphoposa)ได้แก่ หอยงาช้าง (tusk shell)
6.5 ชั้นเซฟาโลโพดา (Cephalopoda) ได้แก่ ปลาหมึกสาย หรือ
ปลาหมึกยักษ์(Octopus)ปลาหมึกกล้วย (Loligo) หอยงวงช้าง
(nautilus)
7. ไฟลัมอารโทรโพดา (PhylumArthropoda)
สัตว์ที่มีลาตัวแบ่งเป็นปล้องมีโครงร่างภายนอกหรือเปลือกปกคลุม ขาต่อเป็นข้อๆ
สมมาตรแบบด้านข้างมีระบบไหลเวียนและระบบประสาท แบ่งเป็นสองซับไฟลัม คือ
เคลิเซอราตา (Chelicerata)ได้แก่ แมงดาทะเล และแมงมุม และซับไฟลัมแมนดิบูลา
ตา (Mandibulata)เช่น กุ้ง ปู ตะขาบ กิ้งกือ แบ่งเป็นชั้นดังนี้
7.1ไซโฟซูริดา (Xiphosurida) ได้แก่ แมงดาจาน (Tachypleusgigas)
7.2อะแร็กนิดา (Arachnida) ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง
7.3ครัสเตเชีย (Crustacea) ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู เพรียงหิน
7.4 ไคโลโพดา (Chilopida) ได้แก่ ตะขาบ
7.5 ไดโพลโพดา (Diplopoda)ได้แก่ กิ้งกือ
7.6 อินเซกตา(Insecta)ได้แก่ แมลงต่างๆ
8. ไฟลัมอีคิโนเดอรมาตวา (Phylum Echinodermata)
เป็นสัตว์ทะเลทั้งหมด ผิวหนังมีหนาม ตัวอ่อนมีสมมาตรด้านข้าง ตัวเต็มวัยมี
สมมาตรรัศมีมีระบบน้าใช้ในการเคลื่อนที่ มีระบบไหลเวียน ระบบประสาท และระบบ
ท่อทางเดินอาหาร จาแนกเป็นห้าชั้น
8.1 ชั้นแอสเทอรอยเดีย(Asteroidea) ได้แก่ ปลาดาว หรือดาวทะเล (star fish)
8.2 ชั้นโอฟิยูรอยเดีย(Ophiuroidea) เช่น ดาวเปราะ (brittle star)
8.3 ชั้นอีคิยูรอยเดีย(Echiuroidea) เช่น เม่นทะเล (sea urchin)เหรียญ
ทราย(sanddollar)
8.4 ชั้นโฮโลทูรอยเดีย(Holothuroidea)เช่น ปลิงทะเล (sea cucumber)
8.5 ไคนอยเดีย(Crinoidea) เช่น ดาวขนนก (feather star) พลับพลึงทะเล
(sea lilly)
9. ไฟลัมคอรดาตวา (Phylum Chordata)
สัตว์มีกระดูกสันหลัง มีสมมาตรด้านข้าง มีช่องตัวอย่างแท้จริง มี
ระบบต่างๆพัฒนาสูงสุด จาแนกเป็นสามซับไฟลัมคือ
9.1 ซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา (SubphhylumUrochordata) ได้แก่ เพรียง
หัวหอม (tunicate)
9.2 ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตา (SubphylumCephalochordata)
ได้แก่ แอมฟิออกซัส (Amphioxus)
9.3 ซับไฟลัมเวอร์ทีบราตา (Vertebrata) ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ทั้งหมด จาแนกเป็นชั้นดังนี้
9.3.1 ชั้นแอ็กนาทา (Agnatha)ได้แก่ ปลาปากกลม(cyclostome)
9.3.2 ชั้นคอนดริกไทอีส (Chomdrichthyes) ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน เช่น ปลา
ฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน
9.3.3 ชั้นออสทีอิกไทอีส (Osteichthyes) ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง เช่น ปลากะพง
ปลาช่อน ปลาหมอเทศ
9.3.4 ชั้นแอมฟิเบีย(Amphibia) สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก ได้แก่ กบ คางคก เขียด
แซลาแมนเดอร์
9.3.5 ชั้นแรปทิเลีย (Reptilia)สัตว์เลื้อยคลาน ได้แก่ เต่า ตะพาบน้า แย้ ตะกวด
จิ้งจก จิ้งเหลน จระเข้
9.3.6 ชั้นเอวีส(Aves) ได้แก่ นกชนิดต่างๆ เป็ด ไก่
9.3.7 ชั้นแมมมาเลีย (Mammalia)สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ได้แก่ แพลทิปัส
ปากเป็ด(duck-billedplatypus) สัตว์มีถุงหน้าท้อง (marsupials) เช่น
จิงโจ้ โอพอสซัม แทสมาเนียนเดวิล สัตว์มีรก (placenta) เช่น กระรอก
กระต่าย วัว ควาย ช้าง แรด ลิง คน
แหล่งอ้างอิง
http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/final5
4/823/taxonomy2.html
จัดทาโดย ม.6/6
นาย ชิษณุพงศ์ คาเสาร์ เลขที่ 22
นางสาว จิรกานต์ ศรีวิยศ เลขที่ 23
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

More Related Content

What's hot

Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
พัน พัน
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
Pl'nice Destiny
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
oranuch_u
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Ta Lattapol
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
Wichai Likitponrak
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
พัน พัน
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
Thanyamon Chat.
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 

What's hot (20)

Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Animalia kingdom

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
Oui Nuchanart
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
just2miwz
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
Horania Vengran
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
athiwatpc
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467off5230
 
Vertebrates_Part 1 Protochordate.pdf
Vertebrates_Part 1 Protochordate.pdfVertebrates_Part 1 Protochordate.pdf
Vertebrates_Part 1 Protochordate.pdf
Ratarporn Ritmaha
 

Similar to Animalia kingdom (20)

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
 
ิ b
ิ bิ b
ิ b
 
bug
bugbug
bug
 
Vertebrates_Part 1 Protochordate.pdf
Vertebrates_Part 1 Protochordate.pdfVertebrates_Part 1 Protochordate.pdf
Vertebrates_Part 1 Protochordate.pdf
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 

More from Pl'nice Destiny

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
Pl'nice Destiny
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
Pl'nice Destiny
 
Plantae kingdom
Plantae kingdomPlantae kingdom
Plantae kingdom
Pl'nice Destiny
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
Pl'nice Destiny
 
Fungi kindom
Fungi kindomFungi kindom
Fungi kindom
Pl'nice Destiny
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Pl'nice Destiny
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Pl'nice Destiny
 
สร้างบล็อก
สร้างบล็อกสร้างบล็อก
สร้างบล็อกPl'nice Destiny
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Pl'nice Destiny
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษPl'nice Destiny
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Pl'nice Destiny
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาPl'nice Destiny
 
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์Pl'nice Destiny
 

More from Pl'nice Destiny (16)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Plantae kingdom
Plantae kingdomPlantae kingdom
Plantae kingdom
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
Fungi kindom
Fungi kindomFungi kindom
Fungi kindom
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
สร้างบล็อก
สร้างบล็อกสร้างบล็อก
สร้างบล็อก
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
การงงาน
การงงานการงงาน
การงงาน
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Animalia kingdom

  • 2. อาณาจักรสัตว์ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ประกอบด้วยเซลล์ชนิดยูแคริโอต การจาแนกเป็นไฟลัมต่างๆใช้ ลักษณะสาคัญคือ จานวนชั้นของเนื้อเยื่อ ช่องภายในตัว ปล้องขา ลาตัว ชนิดของท่อ ทางเดินอาหาร สมมาตร(symmetry) ของลาตัว ชนิดของระบบไหลเวียน และการ พัฒนาของระบบอื่นๆ แบ่งออกเป็นสอง ซับคิงดอม(Subkingdom) คือ ซับคิงดอมพารา ซัว(Parazoa)ได้แก่ฟองน้าและซับคิงดอมเมทาซัว(Metazoa) ได้แก่สัตว์อื่นๆที่เหลือ ซึ่ง แบ่งย่อยเป็นไฟลัมต่างๆมากถึง 30ไฟลัมในปัจจุบัน แต่ที่สาคัญมี 10ไฟลัมคือ
  • 3. 1. ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) เป็นสัตว์หลายเซลล์ ไม่มีสมมาตร ลาตัวเป็นรูพรุน มีช่องน้าเข้าและ ช่องน้าออก มีโครงร่างแข็งหรือเป็นเส้นใยโปรตีน เช่น ฟองน้าแก้ว สกุล Euplectellaฟองน้าน้าจืด สกุล Spongillaฟองน้าถูตัว สกุล Spongia
  • 4. 2.ไฟลัมซีเลนเทอราตวา(PhylunCoelenterata) เป็นสัตว์ที่มีเนื้อเยื่อสองชั้น มีสมมาตรแบบรัศมี(radialsymmetry) มีท่อทางเดิน อาหาร แต่ไม่มีช่องตัว มีเซลล์ไนโดไซต์(cnidocyte)สร้างเข็มพิษ (nematocyst) แบ่งเป็นสามชั้น 2.1 ชั้นไฮโดรชัว(Hydrozoa) ได้แก่ ไฮดรา (Hydra) แมงกะพรุนไฟ (Physalia) 2.2 ชั้นไซโฟซัว(Scyphozoa) ได้แก่ แมงกะพรุนหนัง (Aurelia) แมงกะพรุนไฟ (Chironex) 2.3 ชั้นแอนโทซัว(Anthozoa) ได้แก่ ปะการัง (coral) ปะการังเขากวาง (Acrepora)กัลปังหา(sea fan)
  • 5. 3.ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส(Phylum Platyhelminthes) ได้แก่ หนอนตัวแบน มีเนื้อเยื่อสามชั้น ไม่มีช่องตัว มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateralsymmetry) มีระบบย่อยอาหาร (บางชนิดไม่มี)แบ่งเป็นสามชั้น 3.1 ชั้นเทอร์เบลลาเรีย(Turbellaria) ได้แก่ พลานาเรีย(Dugesia) 3.2 ชั้นทรีมาโทดา (Trematoda) ได้แก่ พยาธิใบไม้ (fluke) เช่น พยาธิใบไม้ในตับ (Opisthorchisviverrini) 3.3 ชั้นเซสโทดา (Cestoda) ได้แก่ พยาธิตัวตืด (tape worm) เช่น พยาธิตัวตืดหมู (Taeniasolium)
  • 6. 4.ไฟลัมเนมาโทดา (Nematoda) ได้แก่ หนอนตัวกลม มีเนื้อเยื่อสามชั้นมีสมมาตรแบบด้านข้าง มีช่องตัว เทียม (pseudocoet) เช่น พยาธิไส้เดือน (Ascarislumbricoides) โรค เท้าช้าง(Brugiamalayi)
  • 7. 5.ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida) หนอนปล้อง ลาตัวแบ่งเป็นปล้องชัดเจน มีเนื้อเยื่อสามชั้นมีสมมาตรแบบ ด้านข้าง มีช่องตัวที่แท้จริง (coelom) มีระบบไหลเวียนและระบบประสาท แบ่งเป็น สามชั้น 5.1 ชั้นโพลีคีตา (Polychaeta) ได้แก่ แม่เพรียง (Nereis) หนอนฉัตร (trbe worm) 5.2 ชั้นโอลิโกคีตา (Oligochaeta) ได้แก่ ไส้เดือนดิน (Pheretima) 5.3 ชั้นไฮรูดิเนีย(Hirudinea) ได้แก่ ปลิง (leech) ทากดูดเลือด (landleech)
  • 8. 6.ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca) ลาตัวนิ่มมักมีเปลือกหุ้มเนื้อเยื่อสามชั้น มีสมมาตรด้านข้างมีช่องตัวลดรูปจนมี ขนาดเล็ก มีระบบไหลเวียนและระบบประสาท แบ่งเป็นห้าชั้น 6.1 ชั้นแอมฟินิวรา(Amphimeura) ได้แก่ ลิ่นทะเล (chiton) 6.2 ชั้นแกสโทรโพดา (Gastropoda) ได้แก่ หอยกาบเดี่ยว (snail) หอยทาก (slug) ทากทะเล (nudibranch) 6.3 ชั้นแพลีไซโพดา (Pelecypoda) ได้แก่ หอยกาบคู่ (bivalves) เช่นหอยแมลงภู่ (Mytilusbiridis)
  • 9. 6.4 ชั้นสแคโฟโพดา (Scaphoposa)ได้แก่ หอยงาช้าง (tusk shell) 6.5 ชั้นเซฟาโลโพดา (Cephalopoda) ได้แก่ ปลาหมึกสาย หรือ ปลาหมึกยักษ์(Octopus)ปลาหมึกกล้วย (Loligo) หอยงวงช้าง (nautilus)
  • 10. 7. ไฟลัมอารโทรโพดา (PhylumArthropoda) สัตว์ที่มีลาตัวแบ่งเป็นปล้องมีโครงร่างภายนอกหรือเปลือกปกคลุม ขาต่อเป็นข้อๆ สมมาตรแบบด้านข้างมีระบบไหลเวียนและระบบประสาท แบ่งเป็นสองซับไฟลัม คือ เคลิเซอราตา (Chelicerata)ได้แก่ แมงดาทะเล และแมงมุม และซับไฟลัมแมนดิบูลา ตา (Mandibulata)เช่น กุ้ง ปู ตะขาบ กิ้งกือ แบ่งเป็นชั้นดังนี้
  • 11. 7.1ไซโฟซูริดา (Xiphosurida) ได้แก่ แมงดาจาน (Tachypleusgigas) 7.2อะแร็กนิดา (Arachnida) ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง 7.3ครัสเตเชีย (Crustacea) ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู เพรียงหิน 7.4 ไคโลโพดา (Chilopida) ได้แก่ ตะขาบ 7.5 ไดโพลโพดา (Diplopoda)ได้แก่ กิ้งกือ 7.6 อินเซกตา(Insecta)ได้แก่ แมลงต่างๆ
  • 12. 8. ไฟลัมอีคิโนเดอรมาตวา (Phylum Echinodermata) เป็นสัตว์ทะเลทั้งหมด ผิวหนังมีหนาม ตัวอ่อนมีสมมาตรด้านข้าง ตัวเต็มวัยมี สมมาตรรัศมีมีระบบน้าใช้ในการเคลื่อนที่ มีระบบไหลเวียน ระบบประสาท และระบบ ท่อทางเดินอาหาร จาแนกเป็นห้าชั้น 8.1 ชั้นแอสเทอรอยเดีย(Asteroidea) ได้แก่ ปลาดาว หรือดาวทะเล (star fish) 8.2 ชั้นโอฟิยูรอยเดีย(Ophiuroidea) เช่น ดาวเปราะ (brittle star)
  • 13. 8.3 ชั้นอีคิยูรอยเดีย(Echiuroidea) เช่น เม่นทะเล (sea urchin)เหรียญ ทราย(sanddollar) 8.4 ชั้นโฮโลทูรอยเดีย(Holothuroidea)เช่น ปลิงทะเล (sea cucumber) 8.5 ไคนอยเดีย(Crinoidea) เช่น ดาวขนนก (feather star) พลับพลึงทะเล (sea lilly)
  • 14. 9. ไฟลัมคอรดาตวา (Phylum Chordata) สัตว์มีกระดูกสันหลัง มีสมมาตรด้านข้าง มีช่องตัวอย่างแท้จริง มี ระบบต่างๆพัฒนาสูงสุด จาแนกเป็นสามซับไฟลัมคือ 9.1 ซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา (SubphhylumUrochordata) ได้แก่ เพรียง หัวหอม (tunicate) 9.2 ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตา (SubphylumCephalochordata) ได้แก่ แอมฟิออกซัส (Amphioxus) 9.3 ซับไฟลัมเวอร์ทีบราตา (Vertebrata) ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง ทั้งหมด จาแนกเป็นชั้นดังนี้
  • 15. 9.3.1 ชั้นแอ็กนาทา (Agnatha)ได้แก่ ปลาปากกลม(cyclostome) 9.3.2 ชั้นคอนดริกไทอีส (Chomdrichthyes) ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน เช่น ปลา ฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน 9.3.3 ชั้นออสทีอิกไทอีส (Osteichthyes) ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง เช่น ปลากะพง ปลาช่อน ปลาหมอเทศ 9.3.4 ชั้นแอมฟิเบีย(Amphibia) สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก ได้แก่ กบ คางคก เขียด แซลาแมนเดอร์ 9.3.5 ชั้นแรปทิเลีย (Reptilia)สัตว์เลื้อยคลาน ได้แก่ เต่า ตะพาบน้า แย้ ตะกวด จิ้งจก จิ้งเหลน จระเข้ 9.3.6 ชั้นเอวีส(Aves) ได้แก่ นกชนิดต่างๆ เป็ด ไก่
  • 16. 9.3.7 ชั้นแมมมาเลีย (Mammalia)สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ได้แก่ แพลทิปัส ปากเป็ด(duck-billedplatypus) สัตว์มีถุงหน้าท้อง (marsupials) เช่น จิงโจ้ โอพอสซัม แทสมาเนียนเดวิล สัตว์มีรก (placenta) เช่น กระรอก กระต่าย วัว ควาย ช้าง แรด ลิง คน
  • 18. จัดทาโดย ม.6/6 นาย ชิษณุพงศ์ คาเสาร์ เลขที่ 22 นางสาว จิรกานต์ ศรีวิยศ เลขที่ 23 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย