SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 9
การนาหลักสูตรไปใช้
มโนทัศน์(Concept)
การนาหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนที่สาคัญยิ่งในการพัฒนาหลักสูตรเพราะเป็นการนาอุดมการณ์
จุดหมายของหลักสูตร เนื้ อหาวิชาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่คัดสรรอย่างดีแล้วไปสู่ผู้เรียน
นักพัฒน าห ลักสู ตรทุกคน ต่างก็ยอมรับความสาคัญ ของขั้น ตอน ใน การน าห ลักสู ตรไปใ ช้
ว่ามีความสาคัญยิ่งกว่าขั้นตอนอื่นใดทั้งหมด เป็นตัวบ่งชี้ถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวของหลักสูตรโดยตรง
หลักสูตรแม้จะได้สร้างไว้ดีเพียงใดก็ตาม ยังไม่สามารถจะกล่าวได้ว่าจะประสบความสาเร็จ หรือไม่
ถ้าหากว่าการนาหลักสูตรไปใช้ดาเนินไปโดยไม่ถูกต้องหรือไม่ดีเพียงพอความล้มเหลวของหลักสูตรจะบังเกิดขึ้
น อ ย่ า ง ห ลี ก เ ลี่ ย ง ไ ม่ ไ ด้
เพราะฉะนั้นการนาหลักสูตรไปใช้จึงมีความสาคัญที่บุคคลผู้เกี่ยวข้องในการนาหลักสูตรไปใช้จะต้องทาความเข้
า ใ จ กั บ วิ ธี ก า ร ขั้ น ต อ น ต่ า ง ๆ
เพื่อให้ความสามารถนาหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุดสมความมุ่งหมายทุกประการ
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
4. มีความรู้ ความเข้าใจ การนาหลักสูตรไปใช้
5. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้
6. สามารถบอกบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อการประสานงานเมื่อนาหลักสูตรไปใช้
สาระเนื้อหา(Content)
การนาหลักสูตรไปใช้
ก าร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ เ ป็ น ขั้ น ต อ น ส า คั ญ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร
เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ใน การนาหลักสูตรไปสู่โรงเรียน และจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุจุดหมายของหลักสู ตร
การน าหลักสูตรไปใช้เป็ น งานเกี่ยวข้องกับบุคคลห ลายฝ่ ายตั้งแต่ระดับกระทรวงศึกษาธิการ
แต่ละฝ่ ายมีความเกี่ยวข้องใน แต่ละส่วน ของการน าหลักสู ตรไปใช้ เช่น หน่วยงาน ส่วน กลาง
เกี่ยวข้องใน ด้านการบริหารและบริการหลักสู ตรกับการนิเทศและติดตามผลการใช้หลักสูตร
ผู้บริหารสถานศึกษาเกี่ยวข้องในด้านการบริหารและบริการหลักสูตร การจัดปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่างๆ
ภายในสถานศึกษาครูผู้สอน เกี่ยวข้องในด้านการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรใน
ก า ร น าห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ จ าต้ อ ง เป็ น ขั้ น ต อ น ต า ม ล า ดับ นั บ แ ต่ขั้ น ก าร ว าง แ ผ น
และ เตรี ยมการใ น ก ารป ระ ช าสั มพัน ธ์ ห ลักสู ต ร แล ะ ก าร เต รี ยมบุ ค ลากรที่ เกี่ยว ข้อ ง
ขั้นต่อมาคือดาเนิ นการนาห ลักสูตรไปใช้อย่างมีระบบ นับแต่การจัดครูเข้าสอนตามห ลักสูตร
ก ารบ ริ ก ารวัส ดุ ห ลัก สู ต รแ ล ะ สิ่ ง อ าน ว ย ค วาม ส ะ ด ว ก ใ น ก าร น าห ลัก สู ต ร ไป ใ ช้
และการดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ส่วนขั้นสุดท้ายต้องติดตามประเมินผลการนาหลักสูตรไปใช้
นับแต่นิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตร การติดตามและประเมินผล การใช้หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้
ถือ เป็ น กระ บ ว น ก ารที่ ส าคัญ ที่ จะ ท าใ ห้ ห ลัก สู ตร ที่ ส ร้าง ขึ้ น บ รรลุ ผ ลต ามจุ ดห มาย
และเป็นกระบวนการที่ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคคล ที่เกี่ยวข้องหลายๆ ฝ่าย และที่สาคัญที่สุดคือครูผู้สอน
1. ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้
การนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งเป็นขั้นตอนที่นาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง
ท าใ ห้ ก าร ใ ห้ ค ว ามห ม าย ข อ ง ค า ว่าก าร น าห ลัก สู ต ร ไ ป ใ ช้ แ ต ก ต่า ง กัน อ อ ก ไ ป
นักการศึกษาหลายท่านได้แสดงความคิดเห็นหรือให้คานิยามของคาว่าการนาหลักสูตรไปใช้ดังนี้
โบ แช มป์ (Beauchamp, 1975 : 164) ได้ใ ห้ ความห มายขอ งก ารน าห ลักสู ตรไปใ ช้ว่า
การนาหลักสูตรไปใช้ หมายถึง การนาหลักสูตรไปปฏิบัติ โดยประกอบด้วยกระบวนการที่สาคัญที่สุดคือ
การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้ครูได้พัฒนาการเรียนการสอน
สั น ต์ ธ ร ร ม บ า รุ ง (2527:120) ก ล่ า ว ว่ า
การนาหลักสูตรไปใช้หมายถึงการที่ผู้บริหารโรงเรียนและครูนาโครงการของหลักสูตรที่เป็ นรูปเล่มนั้นไปปฏิบั
ติ บั ง เ กิ ด ผ ล
และรวมถึงการบริหารงานด้วยวิชาการของโรงเรียนเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียนสามารถสอนและ
เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จั น ท ร า (Chandra, 1977 : 1)
ได้ให้ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ว่าเป็นการทดลองใช้เนื้อหาวิชาวิธีการสอน เทคนิคการประเมิน
การใ ช้อุ ปกรณ์ การส อบ แบบ เรียน แล ะ ทรัพ ยากรต่าง ๆ ใ ห้ เกิด ประ โยช น์ แก่นั กเรี ยน
โดยมีครูและผู้ร่างหลักสูตรเป็นผู้ปัญหาแล้วหาคาตอบให้ได้จากการประเมินผล
รายงานการประชุมทางวิชาการเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรของประเทศในภูมิภาค (APEID,1977: 3)
ก ล่ า ว ว่ า
การนาหลักสูตรไปใช้มีความหมายครอบคลุมตั้งแต่การพัฒนาหลักสูตรไปจนถึงการอบรมครูผู้สอนให้เป็นผู้มีส
มรรถนะที่จาเป็น พร้อมที่จะนาหลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
ธ า ร ง บั ว ศ รี (2514 : 165) ก ล่ า ว ว่า ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ห ม า ย ถึ ง
กระบวนการเรียนการสอนสาหรับสอนเป็นประจาทุกๆ วัน
สุ มิ ต ร คุ ณ า ก ร (2520 : 130) ก ล่ า ว ว่ า
การน าห ลัก สู ต รไป ใ ช้เป็ น กระ บ วน การที่ ท าใ ห้ ห ลัก สู ตรก ล ายเป็ น การป ฏิ บั ติจริ ง
และเป็นขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรและมีกิจกรรมที่จะกระทาได้ 3ประการ คือ
1. การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน
2. การจัดปัจจัยและสภาพต่างๆ ภายในโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร
3. การสอนของครู
จากความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ ตามที่นักการศึกษาได้ให้ไว้ข้างต้น พอสรุปได้ว่า
ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ห ม า ย ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ในอันที่จะทาให้หลักสูตรที่สร้างขึ้นดาเนินไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนับแต่การเตรียมบุคลากร
อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สภาพแวดล้อม และการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน
2. แนวคิดเกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้
ถ้าเรายอมรับว่าการนาหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญที่สุดที่จะทาให้หลักสูตรบังเกิด
ผ ล ต่ อ ก า ร ใ ช้ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว
การนาหลักสูตรไปใช้ก็ควรจะเป็นวิธีการปฏิบัติการที่มีหลักเกณฑ์และมีกระบวนการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพพอ
ที่จะ มั่น ใ จได้ว่า ห ลักสู ตรที่ส ร้าง ขึ้ น นั้ น จะ ได้มีโอกาสน าไป ปฏิบัติจริงๆ อย่าง แน่น อน
นักการศึกษาต่างก็ให้ทัศนะซึ่งเป็นแนวคิดในการนาหลักสูตรไปใช้ดังนี้
โบแชมป์ (Beauchamp, 1975:169) กล่าวว่าสิ่งแรกที่ควรทาคือ การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน
ค รู ผู้ น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ มี ห น้ า ที่ แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร ไ ป สู่ ก า ร ส อ น
โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ห ลั ก ใ น ก า ร พั ฒ น า ก ล วิ ธี ก า ร ส อ น
สิ่งที่ควรคานึงถึงในการนาหลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลตามเป้าหมาย
1. ครูผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการร่างหลักสูตร
2.ผู้บริหารต้องเห็ น ความสาคัญ และสนับสนุ น การดาเนิ น ง าน ให้เกิดผลสาเร็จได้
ผู้นาที่สาคัญที่จะรับผิดชอบได้ดี คือครูใหญ่
ท า น ก า ร์ ด (Tankard, 1974 : 46-88) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ว่ า
ความสาเร็จของการนาหลักสูตรไปใช้อยู่ที่การวางแผนการทดลองใช้ ซึ่งมีองค์ประกอบต่างๆ คือ
1. รายละเอียดของโครงการ
2. ปรัชญาและจุดมุ่งหมาย
3. แผนการนาไปใช้และการดาเนินการ
ผู้เกี่ยวข้องใน การน าหลักสูตรไปใช้ซึ่งมีศึกษานิ เทศ ก์ ครูใหญ่ ผู้บริหารระดับต่างๆ
เป็นส่วนใหญ่จะต้องร่วมมือกันดาเนินงานตั้งแต่การทาโครงการปรับปรุงหลักสูตร กาหนดจุดมุ่งหมาย
จัดทาเนื้อหาแผนการนาไปทดลองใช้ และการประเมินผล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการนาไปทดลองใช้
จะต้องบันทึกไว้ทั้งหมด เพื่อนาไปเป็นข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร
ส า ห รั บ เ ว อ ร์ ดุ น (Verduin, 1977 : 88-90) เ ข า ใ ห้ ทั ศ น ะ ว่ า
การน าห ลักสู ตรไปใช้จะต้องเริ่มดาเนิ นการโดยการนิ เทศให้ครูใน โรงเรียนเข้าใจห ลักสูตร
แล้วตั้งกลุ่มปฏิบัติการขึ้นเพื่อการศึกษาปัญหาที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการใช้หลักสูตรจากพื้นที่ที่เป็นปัญหาหลาย
ๆ แ ห่ ง เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ม า ก ที่ สุ ด
กลุ่มปฏิบัติการนี้จะต้องเข้าไปทางานร่วมกันกับครูผู้สอนอย่างจริงจังเพื่อให้เกิดความเห็นอกเห็นใจและมีความ
สั ม พั น ธ์ อั น ดี ต่ อ กั น
การจัดการอบรมปฏิบัติการแก่ครูประจาการถือว่าเป็ นกิจกรรมที่สาคัญที่สุดในการนาหลักสูตรไปใช้
ต้องใช้วิทยากรผู้เชี่ยวชาญการสอนโดยเฉพาะสามารถฝึกผู้อื่นได้ดีและมีวิธีการให้ครูเ กิดความสนใจ
ถ้ามีข้อเสนอแนะให้มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างการใช้หลักสูตรควรเลือกครูผู้สอนที่อาสาสมัครและเต็มใจ
ไม่ควรใช้ครูทุกคนในโรงเรียนเพราะอาจมีบางคนที่ไม่เห็นด้วยและไม่เต็มใจกับการเปลี่ยนแปลง
จึ ง ค ว ร ท า แ บ บ ค่ อ ย เ ป็ น ค่ อ ย ไ ป เ พื่ อ ใ ห้ ค รู ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ข้ า ใ จ
จะทาให้การเปลี่ยนแปลงมีความหมายและได้รับการยอมรับโดยปริยาย
จ า ก เอ ก ส า ร ก า ร ป ร ะ ชุ ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต่าง ๆ ใ น เอ เ ชี ย (APEID, 1977 : 29)
ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ท บ ท ว น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ต่า ง ๆ ข อ ง ป ร ะ เท ศ ใ น เ อ เ ชี ย เรื่ อ ง
ยุทธศาสตร์การนาหลักสูตรไปใช้ได้สรุปเป็นองค์ประกอบที่สาคัญได้ดังนี้
1.
วางแผนและเตรียมการนาหลักสูตรไปใช้โดยให้คนหลายกลุ่มเข้าร่วมแสวงหาการสนับสนุนจากประชาชนและ
จัดเตรียมทรัพยากร (มนุษย์และวัสดุ) ให้พร้อม
2. จัดให้มีหน่วยงานส่งเสริมการนาหลักสูตรไปใช้ให้เป็นไปได้สะดวกและรวดเร็ว
3.กาหนดวิถีทางและกระบวนการน าหลักสูตรไปใช้อย่างเป็ นขั้นตอน รวมเหตุผลต่างๆ
ที่จะใช้ในการจูงใจครูและติดตามผลการปฏิบัติงาน
ธ า ร ง บั ว ศ รี (2514: 165-195)
ได้สรุปชี้ให้เห็นปัจจัยจะนาไปสู่ความสาเร็จของการนาหลักสูตรไปใช้ไว้ว่าควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1.โครงการสอน เช่น การวางโครงการสอนแบบหน่วย (Unit Organizationof Instruction, Teaching
Unit) ป ร ะ เภ ท ข อ ง ห น่ วย ก าร ส อ น มี 2 ป ระ เภ ท คื อ ห น่ วย ราย วิช า (Subject Matter Unit)
และหน่วยงานประสบการณ์ (Experience Unit)
2. ห น่วยวิท ยาก าร (Resource Unit) เป็ น แห ล่ง ใ ห้ ความรู้แ ก่ครู เช่น เอ กส าร คู่มือ
และแนวการปฏิบัติต่างๆ
3.องค์ประกอบอื่นๆ ที่ช่วยในการสอน เช่น สถานที่และเครื่องมือเครื่องใช้อุปกรณ์การเรียนการสอน
วิธีการสอนและวัดผลการศึกษา กิจกรรมร่วมหลักสูตร การแนะนาการจัดและบริหารโรงเรียนเป็นต้น
วิ ชั ย ว ง ษ์ ใ ห ญ่ (2521: 140 -141) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ว่ า
ผู้มีบทบาทในการนาหลักสูตรไปใช้ให้บรรลุจุดหมายมี 3กลุ่ม คือ ครูใหญ่ครูประจาชั้น และชุมชน
ในจานวนนี้ครูใหญ่เป็นผู้ที่มีบทบาทมากที่สุดที่จะต้องศึกษาและวางแผนเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโดยมีขั้นตอน
สรุปสั้นๆ ได้ดังนี้
1. เตรียมวางแผน
2. เตรียมจัดอบรม
3. การจัดครูเข้าสอน
4. การจัดตารางสอน
5. การจัดวัสดุประกอบหลักสูตร
6. การประชาสัมพันธ์
7. การจัดสภาพแวดล้อมและการเลือกกิจกรรมเสริมหลักสูตร
8. การจัดโครงการประเมิน
จากเอกสารทางวิชาการของแผนกวิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2516:
11) กล่าวถึงบทบาทของโรงเรียนในการนาหลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลที่ควรจัดกิจกรรมดังนี้
1. ประชุมครูเพื่อศึกษาหลักสูตรและทาโครงการสอน
2. จัดอบรมครู เพื่อให้เพิ่มพูนความรู้จากวิทยากรในด้วยวิธีการสอนแบบใหม่ๆ
3. เตรียมเอกสารทุกชนิดไว้ให้ค้นคว้าและอ่านประกอบ
จาก คู่มือการน าห ลักสู ตรประ ถมศึกษ า พ .ศ. 2521 ไป ใช้ (กรมวิช าการ 2520: 279)
ได้กล่าวไว้ในเรื่องการเตรียมการในการใช้หลักสูตรว่ามีขั้นตอนสรุปได้ดังนี้
1. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
2. จัดตั้งกลุ่มปฏิบัติการหลักสูตรขึ้นในส่วนภูมิภาคทุกเขตการศึกษา
3. ประสานงานกับกรมการฝึกหัดครู
4. ฝึกอบรมครู
5. จัดสรรงบประมาณ
6. จัดตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อจัดปัญหาและอุปสรรคการใช้หลักสูตร
จาก แ น วคิ ด ขอ ง ก าร น าห ลัก สู ตรไ ป ใ ช้ที่ ได้ยก ตัวอ ย่าง ข้าง ต้น จะ เห็ น ได้ว่า
การนาหลักสูตรไปใช้นั้นเป็นงานหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย นับแต่ผู้บริหารระดับกระทรวง
ก ร ม ก อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ โ ร ง เรี ย น ค รู ผู้ ส อ น ศึ ก ษ า นิ เท ศ ก์ แ ล ะ บุ ค ค ล อื่ น ๆ
ข อ บ เข ต แ ล ะ ง า น ข อ ง ก าร น าห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ เป็ น ง า น ที่ มีข อ บ เข ต ก ว้าง ข ว า ง
เพราะฉะนั้นการนาหลักสูตรไปใช้จึงเป็นสิ่งที่ต้องทาอย่างรอบคอบและระมัดระวัง
3. หลักการที่สาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้
จากแนวคิดดังกล่าว สรุปเป็นหลักการสาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้ได้ดังนี้
1. จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ เ ต รี ย ม ก า ร ใ น ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้
ทั้ ง นี้ บุ ค ล า ก ร ผู้ มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง ค ว ร จ ะ ไ ด้ ศึ ก ษ า วิ เ ค ร า ะ ห์
ทาความเข้าใจหลักสูตรที่จะนาไปใช้ให้มีความเข้าใจตรงกัน เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปในทานองเดียวกัน
และสอดคล้องต่อเนื่องกัน
2.
จะต้องมีองค์คณะบุคคลทั้งส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นที่จะต้องทาหน้าที่ประสานงานกันเป็นอย่างดีในแต่ละขั้น
ตอนของการนาหลักสูตรไปใช้นับแต่การเตรียมการนาหลักสูตรไปใช้ในด้านวิธีการ สื่อ การประเมินผล
การจัดอบรมผู้ที่จะไปพัฒนาครู การอบรมผู้ใช้หลักสูตรใน ท้องถิ่น การน าหลักสูตรไปใช้ของครู
และการติดตามผลประเมินการใช้หลักสูตรของครู ฯลฯ
3.
การนาหลักสูตรไปใช้จะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบเป็นไปตามขั้นตอนที่วางแผนและเตรียมการไว้
4.
การนาหลักสูตรไปใช้จะต้องคานึงถึงปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้การนาหลักสูตรไปใช้ประสบความสาเร็จได้
ปัจจัยต่างๆ เหล่านั้ นคือ งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เอกสารหลักสูตรต่างๆ ตลอดจนสถานที่ต่างๆ
ที่จะเป็ น แหล่งให้ความรู้ประสบการณ์ต่างๆ สิ่ งเหล่านี้ จะต้องได้รับการจัดเตรียมไว้เป็ น อย่างดี
และพร้อมที่จะให้การสนับสนุนได้เมื่อได้รับการร้องขอ
5. ค รู เ ป็ น บุ ค ล า ก ร ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้
ดังนั้ น ครู จะ ต้อง ได้รับก ารพัฒ น าอย่าง เต็มที่ และ จริ งจัง เริ่ มตั้ง แต่การอบ รมให้ ความ รู้
ความเข้าใจทักษะและเจตคติเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรอย่างเข้มแข็ง การให้การสนับสนุนด้านปัจจัยต่างๆแก่ครู
ไ ด้ แ ก่ ก า ร ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ก าร ส อ น ข อ ง ค รู อ ย่า ง เป็ น ร ะ บ บ
และการพัฒนาตัวครูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การสอน เช่น การจัดอบรมสัมมน าเป็ น ระ ยะ ๆ
การเผยแพ ร่เอกสารที่เป็ น ประโยช น์ การพ าไปทัศน ศึกษา การเชิญ วิทยากรมาให้ ความรู้
และการสร้างขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงาน ฯลฯ
6. การน าห ลัก สู ตรไป ใ ช้ ค วรจัดตั้ ง ใ ห้ มีห น่ วยง าน ที่ มีผู้เชี่ ยวช าญ ก ารพิ เศ ษ
เพื่อให้การสนับสนุ น และ พัฒน าครู โดยทาหน้าที่นิ เทศ ติดตามผลการน าหลักสู ตรไปใ ช้
และควรปฏิบัติงานร่วมกับครูอย่างใกล้ชิด
7. ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ใ น ฝ่ า ย ต่ า ง ๆ
ที่ เ กี่ย วข้ อ ง กับ ก าร น าห ลัก สู ต รไ ป ใ ช้ ไ ม่ว่าจ ะ เป็ น ส่ว น ก ล า ง ห รื อ ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น
ต้องปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่และเต็มความสามารถในส่วนที่รับผิดชอบ
ซึ่ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ โ ด ย ต ร ง ต่ อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ข อ ง ค รู
ลักษณะเช่นนี้จะเป็นตัวบ่งชี้ว่าการนาหลักสูตรไปใช้จะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลว
8. ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ส า ห รั บ ผู้ ที่ มี บ ท บ า ท เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทุ ก ฝ่ า ย
ทุกหน่วยงานจะต้องมีการติดตามและประเมินผลเป็ นระยะๆ ซึ่งจะต้องกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ จ ะ ไ ด้ น า ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ม า ป ร ะ เ มิ น วิ เ ค ร า ะ ห์
เพื่อพัฒนาทั้งในแง่ของการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและการวางแนวทางในการนาหลักสูตรไปใช้ให้มีประสิทธิภา
พดียิ่งขึ้น
4. กิจกรรม/งานที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้
กิ จ ก ร ร ม ห รื อ ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร นั้ น
นักพัฒนาหลักสูตรและนักการศึกษาได้เสนอแนะไว้ดังนี้
สุ มิ ต ร คุ ณ า นุ ก ร (2520 : 130-132)
ได้เสนอกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้ว่าประกอบด้วยกิจกรรม 3ประเภท คือ
1. ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร ไ ป สู่ ก า ร ส อ น คื อ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย
และการกาหนดรายละเอียดของหลักสูตร โดยจะดาเนินการในรูปแบบเอกสารประกอบหลักสูตร
และวัสดุอุปกรณ์การสอน เช่น โครงการสอน ประมวลการสอน คู่มือครู เป็นต้น
2. ก า ร จั ด ปั จ จั ย แ ล ะ ส ภ า พ ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น
เพื่ อใ ห้ ห ลักสู ตรบรรลุเป้ าห มายผู้บริ ห ารโรงเรี ยน ค วรส ารวจดูปั จจัยแล ะ สภ าพ ต่าง ๆ
ของโรงเรียนว่าเหมาะสมกับสภาพการนาหลักสูตรมาปฏิบัติหรือไม่
3.การสอน ซึ่งเป็นหน้าที่ของครูประจาการ ถือว่าเป็ นหั วใจสาคัญของการนาหลักสูตรไปใช้
ครูจึงเป็นตัวจักรที่สาคัญที่สุด ครูต้องสอนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรเลือกวิธีสอนให้เหมาะสม
โดยผู้บริหารคอยให้ความสะดวกให้คาแนะนา และให้กาลังใจ
วิ ชั ย ว ง ษ์ ใ ห ญ่ (2537 : 198) ก ล่ า ว ว่ า
เอกสารหลักสูตรเมื่อได้จัดทาเสร็จเรียบร้อยแล้วก่อนที่จะนาไปใช้ควรจะได้ทบทวนตรวจสอบอีกครั้ง ดังนั้น
ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้มีดังนี้
1. ตรวจสอบทบทวนหลักสูตรตามหลักการของทฤษฎีหลักสูตร
2. ทาโครงการและวางแผนการศึกษานาร่องเพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตร
3. ประเมินโครงการศึกษาทดลอง
4. ประชาสัมพันธ์หลักสูตร
5. การอบรมครูผู้บริหารผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร
6. นาหลักสูตรไปปฏิบัติจริงหรือเรียกว่าขั้นดาเนินการใช้หลักสูตรเต็มรูป
7. การอบรมครูเพิ่มเติมในส่วนที่จาเป็นในระหว่างการใช้หลักสูตร
8. การติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร
ภาพประกอบ 29 แสดงขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ของวิชัย วงษ์ใหญ่(2537: 175)
สงัด อุทรานันท์ (2532: 263-271) กล่าวว่า การนาหลักสูตรไปใช้มีงานหลัก 3 ประการ คือ
1.งานบริหารและบริการหลักสูตรจะเกี่ยวข้องกับ งานเตรียมบุคลากร การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร
การบริหารและบริการวัสดุหลักสูตร การบริการหลักสูตรภายในโรงเรียน
2. ง า น ด า เ นิ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น การจัดทาแผนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.งานสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรประกอบด้วยการนิเทศและติดตามผลการใช้หลักสูตร
และการตั้งศูนย์บริการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
การตรวจสอบหลักสูตร
ปรับแก้ ยอมรับ ใช้ไม่ได้
โครงการ
ศึกษานาร่อง
ปรับแก้ ยอมรับ ใช้ไม่ได้
การฝึกอบรม
เพิ่มเติม
นาไปปฏิบัติจริง
การฝึกอบรมครู
บริการสนับสนุน
การติดตามและประเมิล
ผล
จะ เห็ น ได้ว่ากิจกรรมหรื องาน ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ การน าห ลักสู ตรไป ใช้มีมาก
นับแต่งานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเพื่อการเตรียมการใช้หลักสูตร เช่น การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
ผู้บริหารสถาน ศึกษา ครูผู้สอน นักเรี ยน งาน ที่เกี่ยวข้องกับการน าหลักสู ตรไปใช้จริง เช่น
การจัดการเรียน การส อน ห รื อ ง าน ที่ ต้อง กระ ท าห ลัง การน าห ลักสู ต รไป ใ ช้แล้ว เช่น
การนิ เทศและ ติดตามผลการใช้หลักสู ตร การประเมิ นผลการใช้หลักสู ตร ลักษณะงาน ต่าง ๆ
นี้จะเห็นได้ชัดเจนตามขั้นตอนของการนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งจะกล่าวต่อไปนี้
5. ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้
จากลักษณะงานและกิจกรรมของการนาหลักสูตรไปใช้ดังกล่าวสามารถสรุปขั้นตอนของ
การนาหลักสูตรไปใช้ดังนี้
1. ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร
2. ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร
3. ขั้นติดตามและประเมินผล
5.1 ขั้นเตรียมการใช้หลักสูตร
ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ขั้ น ต อ น ที่ ส า คั ญ
เพราะการนาเอาหลักสูตรใหม่เข้ามาแทนที่หลักสูตรเดิมจะสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ต่อเมื่อได้มีการเตรียมการเป็นอ
ย่าง ดี นั บ แ ต่ก าร ต ร ว จ ส อ บ ท บ ท วน ห ลัก สู ต รต า มห ลัก ก าร ท ฤ ษ ฎี ข อ ง ห ลัก สู ต ร
การทาโครงการและวางแผนการศึกษานาร่องเพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตรหรือการทดลองใช้หลักสูตรการ
ป ร ะ เ มิ น โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า ท ด ล อ ง
การประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการใช้หลักสูตร
1.การตรวจสอบลักษณะหลักสูตร
จุดประสงค์ของการตรวจสอบหรือทบทวนหลักสูตรเพื่อต้องการทราบว่าหลักสูตรที่พัฒนาเสร็จเรียบ
ร้ อ ย แ ล้ ว นั้ น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก น้ อ ย เ พี ย ง ใ ด
เพื่อศึกษาหาวิธีการที่จะนาหลักสูตรไปใช้ปฏิบัติได้จริงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร รวมทั้งศึกษาองค์ประกอบ
และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรและบริบททางสังคมอื่นๆ ที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร
การต รวจ ส อ บ ลัก ษ ณ ะ ห ลัก สู ต รเพื่ อดู ค วามชัดเจ น ข อ ง ห ลัก สู ต ร ซึ่ ง ได้แ ก่
ความกระจ่างชัดของคาชี้แจง คาอธิบายสาระสาคัญแนะปฏิบัติต่าง ๆ ของหลักสูตร นอกจากนั้ น
จะ ดูความสอดคล้อง ขององค์ประ กอบห ลักสู ตร ได้แก่จุดประสง ค์การเรียน เนื้ อหาสาระ
กิจกรรมประสบการณ์การเรียน และการประเมินผลมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด
มีค ว า ม เห มา ะ ส ม กับ พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ผู้ เรี ย น ที่ เ ป็ น ก ลุ่ ม เป้ าห ม า ย จ ริ ง ห รื อ ไ ม่
ร ว ม ทั้ ง ค ว า ม ห วัง ข อ ง สั ง ค ม ไ ด้ ส ะ ท้ อ น เข้ าม าอ ยู่ใ น ส่ ว น ใ ด ข อ ง ตั ว ห ลั ก สู ต ร
ความซับซ้อนของเนื้อห ามีมากน้อยเพียงใด สิ่งสาคัญอีกประการณ์หนึ่ งคือรายละ เอียดต่าง ๆ
ที่ปรากฏในหลักสูตรนั้นสามารถที่จะนาไปปฏิบัติได้จริงตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือไม่
รวม ทั้ ง บุ ค ล าก รแ ล ะ สิ่ ง อื่ น ๆ โด ยเฉ พ าะ อ ย่าง ยิ่ง ค รู ผู้ส อน ผู้บ ริ ห าร ง บ ป ร ะ ม าณ
การบริหารสนับสนุนการใช้หลักสูตรได้ตามจุดประสงค์
คณะบุคคลที่ทาการตรวจสอบหลักสูตร ได้แก่คณะกรรมการยกร่างหลักสูตรผู้บริหาร ครู
ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ นั ก วิ ช า ก า ร ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ผู้ ป ก ค ร อ ง
ซึ่งควรจะได้มีบทบาทในการประชุมสัมมนาเพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตร เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน
เห็นคุณค่า เกิดการยอมรับ และมีทัศนคติที่ดีต่อหลักสูตรซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญในการจะนาหลักสูตรไปใช้ต่อไป
2. การวางแผนและทาโครงการศึกษานาร่อง
การวางแผนและทาโครงการศึกษานาร่องเป็นสิ่งที่จาเป็นจะตรวจสอบคุณภาพความเป็นไปได้ของหลั
ก สู ต ร ก่ อ น ที่ จ ะ น า ไ ป ใ ช้ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง
วิธีการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติประการแรกคือเลือกตัวแทนของกลุ่มเป้าหมายก่อนที่จะทาการใช้หลักสูตร
จ าก นั้ น แ ป ล ง ห ลัก สู ต ร สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น พั ฒ น าวัส ดุ ห ลัก สู ต ร
เตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมในการใช้หลักสูตร จัดหาแหล่งบริการที่สนับสนุนการใช้หลักสูตร งบประมาณ
จัดสิ่ ง แวดล้อมที่จะสนั บสนุ น การสอน ติดตามผลการทดลอง ทั้งระ ยะ สั้ น และ ระยะยาว
รวมทั้งศึกษาระบบการบริหารของโรงเรียนในปัจจุบันว่าระบบหลักสูตรจะเข้าไปปรับใช้ให้เข้ากับระบบบริหาร
ที่มีอยู่เดิมให้ผสมผสานกันได้อย่างไร โดยไม่เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเดิม
3. การประเมินโครงการศึกษานาร่อง
ก าร ป ร ะ เมิ น โ ค ร ง ก าร ศึ ก ษ าน าร่อ ง อ า จจ ะ ก ร ะ ท าไ ด้ห ล าย รู ป แ บ บ เช่น
การประ เมิน ผลการเรี ยน จากผู้เรี ยน โดยการประเมิน แบบย่อย และการปร ะเมิน รวมยอด
การประเมิน ห ลักสู ตรห รือการประเมินทั้งระบบการใช้ห ลักสูตร และปรับแก้จากข้อค้น พ บ
โ ด ย ป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า กั บ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล ะ ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร
เพื่อนาความคิดเห็นบางส่วนมาปรับปรุงหลักสูตรให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
4. การประชาสัมพันธ์หลักสูตร
การเปลี่ยน แปลงใดๆ ก็ตามย่อมมีผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องเสมอ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ ง
การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรก็เช่นเดียวกัน ผู้ที่เกี่ยวข้องนับตั้งแต่ผู้บริหารการศึกษา ศึกษาธิการจังหวัด
ศึกษาธิการอาเภอผู้อานวยการประถมศึกษาจังหวัดและอาเภอศึกษานิเทศก์ผู้อานวยการโรงเรียนอาจารย์ใหญ่
ครูใหญ่ ครูผู้สอน ซึ่งจะต้องได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งสิ้นมากบ้างน้อยบ้างตามแต่กรณี
ที่ ก ล่ า ว เ ช่ น นี้ ก็ เ พ ร า ะ ห ลั ก สู ต ร เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ สิ่ ง ต่ า ง ๆ
หลายอย่างไม่เฉพาะเรื่องการเรียนการสอนเท่านั้นแต่ยังเกี่ยวพันไปถึงวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
อาคารสถานที่ และงบประมาณค่าใช้จ่าย ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับบุคคลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
ซึ่งจะต้องปรับตัวแก้ไขวิธีการทางานและปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้การใช้หลักสูตรผลสาเร็จตามจุดหม
ายที่ได้กาหนดไว้ด้วยเหตุนี้ เขาเหล่านั้นจึงจาต้องทราบว่ากาลังจะมีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้น
อัน ที่ จริ ง การประ ช าสัม พัน ธ์ ไม่ใ ช่ว่าจะ มาเริ่ ม ตอน จัดท าห ลักสู ตรต้น แ บบ เสร็ จแล้ว
แต่ควรเริ่มต้นตั้งแต่มีแผนการที่จะเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตรโดยให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบเป็นระยะๆ ว่า
ได้มีการดาเนินการไปแล้วแค่ไหนเพียงใด
การประชาสัมพันธ์อาจได้หลายรูปแบบ เช่น การออกเอกสารสิ่งพิมพ์ การใช้สื่อมวลชน เช่น วิทยุ
โ ท ร ทั ศ น์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ เ ป็ น ต้ น
นอกจากนี้ การประชุมและการประชุมและการสัมมนากี่ครั้งเป็ นเรื่องที่จะต้องพิจารณาเป็นรายๆ ไป
อย่าง ไรก็ตามสิ่ ง ที่ควรให้ ผู้เกี่ยวข้อง ทราบก็คือสิ่ ง สาคัญ ที่ เปลี่ยน แป ลงไปนั้ น คืออะ ไร
จะมีประโยชน์แก่ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องอย่างไร และจะมีผลต่อบทบาท
5. การเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
การอบรมผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรต้องคานึงและต้องกระทาอย่างรอบคอบ
นับแต่ขั้นเตรียมการสารวจข้อมูลเบื้องต้นที่น ามาใช้ในการวางแผน และวิธีการฝึ กบุคลากร เช่น
ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการใช้หลักสูตรซึ่งจะมีความแตกต่างของความพร้อมของใช้หลักโรงเรียนในตัวเมืองขนา
ดใหญ่ย่อมมีความพร้อมหลายๆ ด้านมากกว่าโรงเรียนขนาดเล็กในชนบท และบุคลากรฝ่ายต่างๆเช่น ผู้บริหาร
ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ ค รู ก ลุ่ ม ผู้ ส นั บ ส นุ น ร ว ม ทั้ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง วิ ธี ก า ร อ บ ร ม
ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมและงบประมาณที่ใช้ในแผนนี้
วิธี ก ารฝึ กอบ รมจะ แต กต่าง กัน ไปต ามกลุ่มเป้ าห มายของ การใ ช้ห ลักสู ตร เช่น
ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง วิ ธี ก า ร อ บ ร ม จ ะ มุ่ ง เ น้ น เ กี่ ย ว กั บ น โ ย บ า ย
เจตนารมณ์ของหลักสูตรการจัดงบประมาณและบริการสนับสนุนการใช้หลักสูตรและการสอน
วิธีการที่ใช้ส่วน มากจะเป็ น การประชุมชี้ แจงสาระ สาคัญและ แน วทางการปฏิบัติ เป็ น ต้น
วิ ธี ก า ร ที่ ใ ช้ ส่ ว น ม า ก จ ะ เ ป็ น มุ่ ง เ น้ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร
เพราะการที่จะเข้าใจหลักสูตรจนสามารถปฏิบัติการสอนได้นั้นต้องลงมือฝึกปฏิบัติจริงครูจึงจะเห็นภาพรวมและ
เกิดความมั่นใจในการสอน วิธีการฝึกอบรมแบบนี้จะสิ้นเปลืองงบประมาณและต้องใช้ระยะเวลานานพอสมควร
ดั ง นั้ น ท รั พ ย า ก ร ต่ า ง ๆ ก า ร เ ต รี ย ม วั ส ดุ ส า ห รั บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม
จะต้องมีการวางแผนอย่างดีเพื่อไม่ให้ครูเกิดความสับสนและไม่แน่ใจซึ่งเป็นเหตุการณ์ไม่ยอมรับหลักสูตรใหม่
ตามมา นอกจากนั้นครูให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อให้ทราบผลของการฝึกอบรมปัญหาและแนวทางแก้ไข
โ ด ย ใ ห้ ผู้ อ บ ร ม ไ ด้ มี ส่ ว น ว า ง แ ผ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ตั ด สิ น ใ จ
สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผลของการพัฒนาหลักสูตรดาเนินไปสู่การปฏิวัติจริงได้มากขึ้น
5.2 ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร
การนาหลักสูตรไปใช้เป็นการแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การใช้หลักสูตรจะมีงานหลัก 3
ลักษณะ คือ
1. การบริหารและบริการหลักสูตร
2. การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
3. การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
1. ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ บ ริ ก า ร ห ลั ก สู ต ร
หน่วยงานบริการหลักสูตรส่วนกลางของคณะพัฒนาหลักสูตรจะมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเตรียมบุคลากรเ
พื่ อ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ บ ริ ก า ร ห ลั ก สู ต ร
ส่วนงานบริหารและบริการหลักสูตรในระดับท้องถิ่นซึ่งได้แก่โรงเรียนก็จะเกี่ยวข้องกับการจัดบุคลากรเข้าสอน
ตามความถนัดและความเหมาะสม การบริหารและการบริการหลักสูตรในโรงเรียนได้แก่
1.1 ก า ร จั ด ค รู เ ข้ า ส อ น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ก า ร จั ด ค รู เ ข้ า ส อ น ห ม า ย ถึ ง
การจัดและดาเนินการเกี่ยวกับการสรรหาและกลวิธีการใช้บุคลากรอย่างเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ
ค ว า ม ส น ใ จ ค ว า ม ถ นั ด แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ร ว ม ทั้ ง ส าม า ร ถ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร เพื่ อ ใ ห้ มี ค ว า มส า มา ร ถ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่
และมีความรับผิดชอบต่อการงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดครูเข้าสอน โดยห ลักสูตรทั่วไปจะเป็ นงานของหัวหน้าสถาน ศึกษาแต่ละแห่ง
การรับ ครู เข้าส อน จาเป็ น ต้อง คานึ ง ถึ ง ความรู้ ความส ามารถ ความส น ใ จ ค วามถนั ด
แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ต ล อ ด จ น ค ว า ม ส มั ค ร ใ จ ข อ ง ค รู แ ต่ ล ะ ค น ด้ ว ย
ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้หลักสูตรแต่ละคนมีโอกาสได้ใช้ศักยภาพของตนให้เป็นประโยชน์ต่อการใช้หลักสูตรให้มากที่สุ
ด
1.2 บ ริ ก า ร พั ส ดุ ห ลั ก สู ต ร วั ส ดุ ห ลั ก สู ต ร ที่ ก ล่ า ว ถึ ง นี้ ไ ด้ แ ก่
เอ กส ารห ลัก สู ตรแล ะ สื่ อ การเรี ยน การสอ น ทุ ก ช นิ ดที่ จัดท าขึ้ น เพื่ อใ ห้ ค วามส ะ ดว ก
แ ล ะ ช่ ว ย เ ห ลื อ ค รู ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง
งานบริการหลักสูตรจึงเป็นภารกิจของหน่วยงานส่วนกลางซึ่งมีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตรจึงเป็นหน้าที่ของห
น่วยงานส่วนกลางซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องดาเนินการบริหารและบริการสื่อหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพเพื่อใ
ห้ถึงมือผู้ใช้ในโรงเรียนแต่ละแห่งอย่างครบถ้วนและทันกาหนด
1.3การบริหารหลักสูตรภายในโรงเรียน การจัดบริการหลักสูตรภายในโรงเรียนได้แก่
ก า ร จั ด สิ่ ง อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ต่ า ง ๆ แ ก่ ผู้ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ช่ น
ก ารบ ริ ห าร ห้ อ ง ส อ น วิช าเฉ พ าะ บ ริ ก าร เกี่ยว กับ ห้ อ ง ส มุ ด สื่ อ ก ารเรี ยน ก าร ส อ น
บ ริ ก ารเกี่ยว กับ เค รื่ อ ง มือ ใ น ก ารวัด ผ ล แ ล ะ ป ระ เมิน ผ ล แ ล ะ ก าร แ น ะ แ น ว เป็ น ต้น
ผู้บริ หารโรงเรียน ควรอาน วยความสะ ดวกใน การจัดทาหรื อจัดหาแห ล่งวิช าการต่าง ๆ
รวมถึงการใช้ประโยชน์จากบุคคลและหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ภายนอกโรงเรียนอีกด้วย
2. การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
2.1 ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น
เนื่องจากหลักสูตรที่ร่างขึ้นมาเพื่อใช้กับประชากรโดยส่วนรวมในพื้นที่กว้างขวางทั่วประเทศนั้น
มัก จ ะ ไ ม่ส อ ด ค ล้ อ ง กับ ส ภ า พ ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก าร ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ดั ง นั้ น
เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับสภาพของสังคมในท้องถิ่น และสามารถสนองความต้องการของผู้เรียน
ควรจะได้มีการปรับหลักสูตรกลางให้มีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่นที่ใช้หลักสูตรนั้นๆ
2.2
การจัดทาแผนการสอนอการจัดทาแผนการสอนเป็นการขยายรายละเอียดของหลักสูตรให้ไปสู่ภาคปฏิบัติโดยกา
รกาหนดกิจกรรมและเวลาไว้อย่างชัดเจน สามารถนาไปปฏิบัติได้ แผนการสอนควรจะแบ่งออกเป็น 2ส่วน คือ
1. แผนการสอนระยะยาว จัดทาเป็นรายภาคหรือรายปี
2. แ ผ น ก า ร ส อ น ร ะ ย ะ สั้ น
นาแผนการสอนระยะยาวมาขยายเป็นรายละเอียดสาหรับการสอนในแต่ละครั้ง
1. ว า ง เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ส อ น
ซึ่งจะช่วยให้ความสะดวกแก่ครูผู้ใช้หลักสูตรสามารถดาเนินการสอนให้ได้ตามความมุ่งหมายของหลักสูตร
2. ใ ห้ ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ก่ ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์
ในการช่วยเหลือแนะนาและติดตามผลการเรียนการสอน
3.เป็นแนวทางในการสร้างข้อทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนการสอนเพื่อให้มีการ
ครอบคลุมกับเนื้อหาสาระที่ได้สอนไปแล้ว
จะ เห็ น ได้ว่าแ ผ น ก ารส อ น จะ เป็ น แ น วท าง ใ น ก ารใ ช้ห ลัก สู ต รข อ ง ค รู
ถ้ า ห า ก ไ ม่ มี ก า ร จั ด ท า แ ผ น ก า ร ส อ น
การใช้หลักสูตรก็จะเป็นไปอย่างไม่มีจุดหมายทาให้เสียเวลาหรือมีข้อบกพร่องในการใช้หลักสูตรเป็นอย่างมากอั
นจะส่งผลให้การบริหารหลักสูตรเกิดความล้มเหลว
2.3 ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
มีนั ก ป ร า ช ญ์ ท า ง ด้ า ง ห ลั ก สู ต ร ห ล า ย ค น ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่า
เป็ น กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก าร ส อ น ช นิ ด ต่า ง ๆ ที่ จัด โ ด ยโ ร ง เ รี ย น ดัง นั้ น จึ ง ถื อ ว่า
กิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งจัดขึ้นโดยครูเพื่อให้สนองต่อเจตนารมณ์ของหลักสูตรจึงเป็นส่วนของการนาหลัก
สูตรไปสู่ภาคปฏิบัติโดยแท้จริง
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละครั้งจาเป็นจะต้องเริ่มจากการพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของกา
รสอน การจัดกิจกรรมการเรียน การส อน ใ น เรื่ อง ใดเรื่อง ห นึ่ ง อาจจะ ทาได้ห ลายๆ ช นิ ด
ซึ่งจะ มีความแตกต่าง กัน ไปอย่างมากใน เรื่องการใช้เวลา การใช้แรงงาน การใ ช้ทรัพ ยากร
ต ล อ ด จ น ก า ร ใ ช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ
โดยเหตุนี้ครูผู้สอนในฐานะเป็นผู้จัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนควรพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมที่เห็นว่าจะก่อให้เกิดคว
ามรู้ หรือประสบการณ์ และสามารถทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ง่ายที่สุด เร็วที่สุด ประหยัดเวลาที่สุด
ประ ห ยัดแรงงาน และ ค่าใช่จ่ายมากที่สุด การสอน เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายใ ดเป้าหมายหนึ่ ง
อาจจะ เลือ ก ใ ช้เฉ พ าะ กิจกร รมที่ เห็ น ว่ามีป ระ สิ ท ธิ ภ าพ มากที่ สุ ด เพี ยง 1-2 กิจก รร ม
ก็ เ พี ย ง พ อ แ ล้ ว ไ ม่ จ า เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง ท า ทุ ก ๆ
กิจกรรมเพราะการทาเช่นนี้นั้นนอกจากไม่เป็นการประหยัดด้วยประการทั้งปวงแล้วอาจจะก่อให้เกิดความเบื่อห
น่ายอีกด้วย
2.4การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ในการนาหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น
มี ขั้ น ต อ น ห นึ่ ง ที่ จ ะ ข า ด เ สี ย มิ ไ ด้ คื อ ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล
เพราะการวัดและประเมินผลจะได้ข้อมูลย้อนกลับที่สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้
ว่าบ ร รลุ ต ามจุ ด ป ระ ส ง ค์ ข อ ง ก า รส อ น แ ล ะ ค ว ามมุ่ง ห ม ายข อ ง ห ลัก สู ต ร ห รื อ ไ ม่
การวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพของนักการศึกษาในระดับการศึกษ
าต่างๆเพราะผลจากการวัดจะเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจของครูและนักการศึกษาเพื่อใช้ปรับปรุงวิธีการสอน
ก า ร แ น ะ แ น ว
การประเมินหลักสูตรแบบเรียนการใช้อุปกรณ์การสอนตลอดจนการจัดระบบบริหารทั่วไปของโรงเรียน
และนอกจากนี้ยังไม่ช่วยปรับปรุงการเรียนของนักเรียนให้เรียนถูกวิธียิ่งขึ้น เช่น ผลการสอบของนักเรียนที่ไม่ดี
ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ แ ส ด ง ค ว า ม อ่ อ น ข อ ง นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น เ ท่ า นั้ น
เพราะถ้าพิจารณาผลการสอบรวมทั้งโรงเรียนก็จะแสดงถึงความบกพร่องในการสอนไม่ดีของครูด้วย
และถ้าพิจารณาผลการสอบรวมทั้งโรงเรียนก็จะแสดงถึงความบกพร่องในด้านการบริหารโรงเรียนของครูใหญ่
แล ะ ค ณ ะ ผู้บ ริ ห าร ยิ่ ง กว่านั้ น ถ้าเราพิ จารณ าผล ส อบ รวม ทั้ ง ป ระ เท ศอี กด้วย ดัง นั้ น
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนจึงนับว่ามีความสาคัญยิ่งในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษา
การวัดและประเมินผลเป็นส่วนที่จะใช้พิจารณาตัดสินว่าผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายของการสอนตามที่
ก า ห น ด ไ ว้ ห รื อ ไ ม่ เ พี ย ง ใ ด
การวัดและประเมินผลจึงเป็นกระบวนการต่อเนื่องสัมพันธ์กับกระบวนการการเรียนการสอนซึ่งจาเป็นต้องจัดใ
ห้เป็ น ระบบที่ชัดเจน เหมาะ สมเพื่อประ สิ ทธิภ าพ และ ประ สิ ทธิผลของการเรี ยน การสอน
อันเป็นส่วนสาคัญของการนาหลักสูตรไปใช้
3. การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
3.1
การจัดงบประมาณเพื่อการเรียนการสอนนั้นเป็นสิ่งจาเป็นและมีความสาคัญมากสาหรับสถานศึกษาทุกระดับ
ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องบริหารงานงบประมาณของโรงเรียนประจาปีการศึกษาหนึ่งๆ
ให้มีประ สิ ทธิ ภ าพ สู ง และ ยังประสิ ทธิ ผลตามเป้าห มายที่กาห น ดไว้ หรืออีกนั ยหนึ่ งก็คือ
ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเงินของโรงเรียนจะต้องมีสมรรถภาพในการจัดงบประมาณของ
โ ร ง เ รี ย น ไ ด้ ดี ไ ม่ มี ผิ ด พ ล า ด
จึงจะสามารถจัดงบประมาณของโรงเรียนให้สอดคล้องกับแผนการเรียนการสอนของแต่ละกลุ่มวิชาได้เป็นอย่าง
ดี
3.2การใช้อาคารสถาน ที่ เป็ น สิ่งสนับสนุ น การใช้ห ลักสูตรซึ่งผู้บริหารการศึกษา
พึ ง ต ร ะ ห นั ก อ ยู่ เ ส ม อ ว่า อ า ค า ร ส ถ า น ที่ แ ล ะ สิ่ ง ป ลู ก ส ร้ า ง ต่ า ง ๆ
ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ย่ อ ม เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ต่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
และการอบรมบ่มเพราะนิสัยแก่ผู้เรียนได้ทั้งสิ้นแต่เนื่องจากสถานศึกษาแต่ละแห่งอาจมีปริมาณและคุณภาพของ
อ า ค า ร ส ถ า น ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
ฉะนั้นผู้บริห ารจาเป็ น จะต้องวางโครงการและแผน การใช้อาคารสถานที่ทุกแห่งให้เหมาะสม
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเท่าที่จะสามารถกระทาได้โดยจะต้องสารวจศึกษาวิเคราะห์อย่างละเอียดรอบคอบ
แล้วจึงวางแผนว่าควรดาเนินการอย่างไรจึงจะบรรลุตามเจตนารมณ์ หรืออุดมการณ์ของหลักสูตรที่กาหนดไว้
3.3 ก า ร อ บ ร ม เ พิ่ ม เ ติ ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร
ข ณ ะ ที่ ด า เ นิ น ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง ศึ ก ษ า ปั ญ ห า แ ล ะ ป รั บ แ ก้ สิ่ ง ต่ า ง ๆ
ใ ห้ เ ข้ า กั บ ส ภ า พ จ ริ ง แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด เ ท่ า ที่ จ ะ ม า ก ไ ด้
ทั้งนี้ โดยไม่ให้เสียหลักการใหญ่ของหลักสูตรสิ่งที่ครูต้องการมากที่สุดคือการฝึ กอบรมเพิ่มเติม
เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม มั่ น ใ จ ม า ก ขึ้ น
การฝึกอบรมจะกระทาจากการวิเคราะห์ส่วนที่ขาดในบทบาทหน้าที่ของครู เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร
เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและที่สาคัญที่สุดคือการเพิ่มพูนประสิทธิภาพของกร
ะบวนการเรียนการสอน
3.4การจัดตั้งศูน ย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรภารกิจเกี่ยวกับ
การจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนกลางซึ่งเป็นผู้
พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร
หน่วยงานนี้ควรหาทางสนับสนุนและส่งเสริมหน่วยงานผู้ใช้หลักสูตรให้สามารถดาเนินการใช้หลักสูตรด้วยคว
ามมั่น ใจ การจัดตั้งศูน ย์วิช าการ อาจจะ ทาใน ลักษณะ ของศูน ย์ใ ห้บริ การแน ะ น าช่วยเหลือ
หรือจัดตั้งโรงเรียน ตัวอย่าง ห รือดังที่กรมวิช าการได้จัดตั้ง “โรงเรียน ผู้น าการใช้หลักสูตร ”
ที่ ศูน ย์พั ฒ น าห ลักสู ต รก็ได้ โ รง เรี ยน ผู้น าก ารใ ช้ห ลักสู ต รที่ ก รม วิช าก ารจัด ตั้ ง ขึ้ น
จะเป็นโรงเรียนที่สามารถดาเนินการใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพในลักษณะใดลักษณะหนึ่งซึ่งพอจะเป็น
แ บ บ อ ย่ า ง ใ ห้ แ ก่ โ ร ง เ รี ย น อื่ น ๆ ไ ด้
วิธีการเช่นนี้จะเป็นการกระตุ้นให้โรงเรียนผู้ใช้หลักสูตรได้มีความกระตือรือร้นในการพัฒนาประสิทธิภาพในกา
ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ใ น โ ร ง เ รี ย น ข อ ง ต น
และส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการใช้หลักสูตรระหว่างโรงเรียนต่างๆ ด้วย
5.3 ขั้นติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร
1.ก า ร นิ เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ใ น โ ร ง เ รี ย น
การนิ เทศมีความจาเป็ น อย่าง ยิ่งใ น ห น่วยงาน ทุกแห่ง โดยเฉพ าะ อย่าง ยิ่งใ น วง การศึกษ า
เพื่ อเป็ น การช่วยป รับ ปรุ ง การเรี ยน การส อน ส งัด อุท รานั น ท์ (2532 : 268-269) กล่าวว่า
ก าร นิ เ ท ศ แ ล ะ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ใ น ร ะ ห ว่า ง ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร นั้ น
หน่วยงานส่วนกลางในฐานะผู้พัฒนาหลักสูตรควรจัดส่งเสริมเจ้าหน้าที่ไปให้คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรเ
พิ่มเติม และ ติดตามผลการใช้ห ลักสูตรใน โรงเรียน ว่าได้ดาเนิ นก ารด้วยความถูกต้องหรือไม่
มีปัญหาใดเกิดขึ้นหรือไม่หากไม่มีปัญหาก็จะได้แก้ไขให้ลุล่วงไปสาหรับหน่วยงานในระดับท้องถิ่นอาจดาเนิน
การให้คาปรึกษาแนะนาและช่วยเหลือแก่ครูผู้ใช้หลักสูตรให้ดาเนินการใช้หลักสูตรอย่างถูกต้อง
ก า ร นิ เ ท ศ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ห รื อ นิ เ ท ศ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ห ลั ก ส า คั ญ ข อ ง ก า ร นิ เ ท ศ คื อ
การให้คาแน ะน าช่วยเหลือไม่ใช่การตรวจสอบเพื่อจับผิดแต่ประการใ ด โดยลักษณ ะเช่น นี้
ผู้นิ เท ศ จาเป็ น จะ ต้อ ง ส ร้าง ค วามสั ม พั น ธ์ แ ล ะ ค ว ามเข้าใ จ อัน ดี กับ ผู้รับ ก ารนิ เท ศ
การดาเนินการนิเทศจะต้องดาเนินไปด้วยบรรยากาศแห่งความเป็นประชาธิปไตยและร่วมมือกัน
2.ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร
จะ ต้อ ง มี ก าร ว าง แ ผ น ไ ว้ใ ห้ ชั ด เ จน ว่าจ ะ ท าก าร ป ร ะ เมิ น ส่ ว น ใ ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
ถ้าการวางแผนเกี่ยวกับการประเมินไม่ชัดเจนเมื่อมีความต้องการจะทาการประเมินในหัวข้อนั้นหรือส่วนนั้น
บางครั้งอาจจะกระทาไม่ได้ต่อเนื่ อง ดังนั้น การวางแผนเพื่อการประเมินหลักสูตรจะต้องชัดเจน
และจะต้องใช้วิธีการประเมินอย่างไรจึงจะได้ผลเป็นภาพรวมที่สามารถนามาอธิบายได้ว่า สิ่งใดเป็นบรรยากาศ
หรือสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออานวยเท่าที่ดาเนินการใช้หลักสูตรไปแล้วบรรลุถึงสิ่งที่กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด
สามารถตอบสนองความมุ่งหมายหลักที่กาหนดไว้หรือไม่การประเมินหลักสูตรว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่
การออกแบบประเมินที่กว้างและลึก คือการมองภาพรวมทั้งหมดของการใช้หลักสูตรการหาตัวบ่งชี้สาคัญๆ
นั้นจะต้องระมัดระวังเรื่องตัวแปรทางด้านวัฒนธรรมสังคมและทางเศรษฐกิจด้วยเพราะบางอย่างผู้ประเมินอาจจ
ะมองข้ามไป เช่น โรงเรียนขนาดใหญ่ย่อมได้เปรียบกว่าโรงเรียนขนาดเล็กองค์ประกอบที่ตั้งของโรงเรียน
ถ้าชุมชนให้ความสนับสนุนอย่างดีก็มีผลต่อการใช้หลักสูตรหรือโรงเรียนเล็กมากเกินไป เช่น มีนักเรียน 40-50
คน มีครู 2-3คนบางครั้งอาจจะเป็นปัจจัยที่ทาให้ไม่สามารถที่จะพัฒนาได้มากเท่าที่ควรหลักการจะร่างให้ดี
ส ม บู ร ณ์ สั ก เท่า ใ ด ก็ ต า ม ก า ร น า ห ลัก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ก็ ค ว ร จ ะ พิ จ า ณ า ใ ห้ ร อ บ ค อ บ
ถึ ง แ ม้ว่า ปั จ จุ บั น นี้ จ ะ มี ร ะ บ บ ก ลุ่ม โ ร ง เรี ย น ช่ว ย เ ห ลื อ ก็ ต าม บ ริ บ ท ท า ง สั ง ค ม
เศรษฐกิจและวัฒนธรรมจะเป็นสิ่งที่มาช่วยเสริมให้สามารถอธิบายได้ชัดเจนว่าเหตุใดการนาหลักสูตรไปใช้ได้ผ
ล ห รื อ ไ ม่ ไ ด้ ผ ล เ พ ร า ะ มี ปั จ จั ย แ ท ร ก ซ้ อ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
สังคมและค่านิยมของบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยข้อพิจารณาในการประเมินหลักสูตรสรุปได้ดังนี้
ภาพประกอบ 30 แสดงข้อพิจารณาในการประเมินหลักสูตร
ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล เ พื่ อ ค ว บ คุ ม ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
ในแง่ของการปฏิบัติการกระบวนการของการประเมินผลเพื่อควบคุมคุณภาพของหลักสูตรแบ่งออกเป็น 3
ขั้น ตอ น คือ ก ารตรวจส อบ ห าป ระ สิ ท ธิ ผล และ ค วามต กต่าของ คุณ ภ าพ ข อง ห ลักสู ต ร
ก าร ต ร ว จ ส อ บ ห าส าเ ห ตุ ข อ ง ค ว ามต ก ต่ า ข อ ง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ก าร น า วิธี ก าร ต่า ง ๆ
มาแก้ไขพร้อมทั้งตรวจสอบประสิทธิผลของวิธีการเหล่านั้น รายละเอียดของแต่ละขั้นตอน มีดังนี้
1. การต รว จส อบ ป ระสิ ท ธิผ ล แล ะค ว าม ต กต่ าข อ งคุณ ภ าพ ข อ งห ลั กสู ต ร
วิ ธี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ เ ริ่ ม ด้ ว ย ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ( Basic Data)
เ พื่ อ ใ ช้ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร
ข้อมูลพื้ น ฐาน นี้ ค วรเก็บรวบ รวมใ น ระ ห ว่าง ที่ น าห ลัก สู ตรไป ท ดลอ ง ใ น ภ าค ส น าม
ค ว ร เ ก็ บ ใ ห้ ไ ด้ ม า ก แ ล ะ ห ล า ก ห ล า ย
เร าจะ ส รุ ป ว่าคุณ ภ าพ ข อ ง ห ลัก สู ต ร ต่ าลง ก็ต่อ เมื่อ ข้อมูล ผ ล สั มฤ ท ธิ์ ใ น ด้าน ต่าง ๆ
การประเมินหลักสูตร
การบรรลุเป้าหมาย
ด้านสังคม วัฒนธรรม
ด้านงบประมาณ
ด้านระบบบริหาร
ด้านการบริหารสนับสนุน
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง
ด้านเทคนิค
ด้านบรรยากาศในการทางาน
ด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อทราบ
- การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
- ปัญหาและแนวทางแก้ไข
9 170819173701
9 170819173701
9 170819173701
9 170819173701
9 170819173701
9 170819173701
9 170819173701
9 170819173701

More Related Content

Similar to 9 170819173701

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
parkpoom11z
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Theerayut Ponman
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Phonchanitmelrdie
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
fernfielook
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Dook dik
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
katay sineenart
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Theerayut Ponman
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
poppai041507094142
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
wanitchaya001
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
fernfielook
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
benty2443
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
nattapong147
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
teerayut123
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
wanneemayss
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
gam030
 

Similar to 9 170819173701 (20)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 

More from teerayut123

Random 170819173908
Random 170819173908Random 170819173908
Random 170819173908
teerayut123
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
teerayut123
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
teerayut123
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
teerayut123
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
teerayut123
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
teerayut123
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
teerayut123
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
teerayut123
 

More from teerayut123 (9)

Random 170819173908
Random 170819173908Random 170819173908
Random 170819173908
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

9 170819173701

  • 1. บทที่ 9 การนาหลักสูตรไปใช้ มโนทัศน์(Concept) การนาหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนที่สาคัญยิ่งในการพัฒนาหลักสูตรเพราะเป็นการนาอุดมการณ์ จุดหมายของหลักสูตร เนื้ อหาวิชาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่คัดสรรอย่างดีแล้วไปสู่ผู้เรียน นักพัฒน าห ลักสู ตรทุกคน ต่างก็ยอมรับความสาคัญ ของขั้น ตอน ใน การน าห ลักสู ตรไปใ ช้ ว่ามีความสาคัญยิ่งกว่าขั้นตอนอื่นใดทั้งหมด เป็นตัวบ่งชี้ถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวของหลักสูตรโดยตรง หลักสูตรแม้จะได้สร้างไว้ดีเพียงใดก็ตาม ยังไม่สามารถจะกล่าวได้ว่าจะประสบความสาเร็จ หรือไม่ ถ้าหากว่าการนาหลักสูตรไปใช้ดาเนินไปโดยไม่ถูกต้องหรือไม่ดีเพียงพอความล้มเหลวของหลักสูตรจะบังเกิดขึ้ น อ ย่ า ง ห ลี ก เ ลี่ ย ง ไ ม่ ไ ด้ เพราะฉะนั้นการนาหลักสูตรไปใช้จึงมีความสาคัญที่บุคคลผู้เกี่ยวข้องในการนาหลักสูตรไปใช้จะต้องทาความเข้ า ใ จ กั บ วิ ธี ก า ร ขั้ น ต อ น ต่ า ง ๆ เพื่อให้ความสามารถนาหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุดสมความมุ่งหมายทุกประการ ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 4. มีความรู้ ความเข้าใจ การนาหลักสูตรไปใช้ 5. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ 6. สามารถบอกบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อการประสานงานเมื่อนาหลักสูตรไปใช้ สาระเนื้อหา(Content) การนาหลักสูตรไปใช้ ก าร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ เ ป็ น ขั้ น ต อ น ส า คั ญ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ใน การนาหลักสูตรไปสู่โรงเรียน และจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุจุดหมายของหลักสู ตร
  • 2. การน าหลักสูตรไปใช้เป็ น งานเกี่ยวข้องกับบุคคลห ลายฝ่ ายตั้งแต่ระดับกระทรวงศึกษาธิการ แต่ละฝ่ ายมีความเกี่ยวข้องใน แต่ละส่วน ของการน าหลักสู ตรไปใช้ เช่น หน่วยงาน ส่วน กลาง เกี่ยวข้องใน ด้านการบริหารและบริการหลักสู ตรกับการนิเทศและติดตามผลการใช้หลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษาเกี่ยวข้องในด้านการบริหารและบริการหลักสูตร การจัดปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่างๆ ภายในสถานศึกษาครูผู้สอน เกี่ยวข้องในด้านการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรใน ก า ร น าห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ จ าต้ อ ง เป็ น ขั้ น ต อ น ต า ม ล า ดับ นั บ แ ต่ขั้ น ก าร ว าง แ ผ น และ เตรี ยมการใ น ก ารป ระ ช าสั มพัน ธ์ ห ลักสู ต ร แล ะ ก าร เต รี ยมบุ ค ลากรที่ เกี่ยว ข้อ ง ขั้นต่อมาคือดาเนิ นการนาห ลักสูตรไปใช้อย่างมีระบบ นับแต่การจัดครูเข้าสอนตามห ลักสูตร ก ารบ ริ ก ารวัส ดุ ห ลัก สู ต รแ ล ะ สิ่ ง อ าน ว ย ค วาม ส ะ ด ว ก ใ น ก าร น าห ลัก สู ต ร ไป ใ ช้ และการดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ส่วนขั้นสุดท้ายต้องติดตามประเมินผลการนาหลักสูตรไปใช้ นับแต่นิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตร การติดตามและประเมินผล การใช้หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ ถือ เป็ น กระ บ ว น ก ารที่ ส าคัญ ที่ จะ ท าใ ห้ ห ลัก สู ตร ที่ ส ร้าง ขึ้ น บ รรลุ ผ ลต ามจุ ดห มาย และเป็นกระบวนการที่ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคคล ที่เกี่ยวข้องหลายๆ ฝ่าย และที่สาคัญที่สุดคือครูผู้สอน 1. ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ การนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งเป็นขั้นตอนที่นาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง ท าใ ห้ ก าร ใ ห้ ค ว ามห ม าย ข อ ง ค า ว่าก าร น าห ลัก สู ต ร ไ ป ใ ช้ แ ต ก ต่า ง กัน อ อ ก ไ ป นักการศึกษาหลายท่านได้แสดงความคิดเห็นหรือให้คานิยามของคาว่าการนาหลักสูตรไปใช้ดังนี้ โบ แช มป์ (Beauchamp, 1975 : 164) ได้ใ ห้ ความห มายขอ งก ารน าห ลักสู ตรไปใ ช้ว่า การนาหลักสูตรไปใช้ หมายถึง การนาหลักสูตรไปปฏิบัติ โดยประกอบด้วยกระบวนการที่สาคัญที่สุดคือ การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้ครูได้พัฒนาการเรียนการสอน สั น ต์ ธ ร ร ม บ า รุ ง (2527:120) ก ล่ า ว ว่ า การนาหลักสูตรไปใช้หมายถึงการที่ผู้บริหารโรงเรียนและครูนาโครงการของหลักสูตรที่เป็ นรูปเล่มนั้นไปปฏิบั ติ บั ง เ กิ ด ผ ล และรวมถึงการบริหารงานด้วยวิชาการของโรงเรียนเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียนสามารถสอนและ เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จั น ท ร า (Chandra, 1977 : 1) ได้ให้ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ว่าเป็นการทดลองใช้เนื้อหาวิชาวิธีการสอน เทคนิคการประเมิน
  • 3. การใ ช้อุ ปกรณ์ การส อบ แบบ เรียน แล ะ ทรัพ ยากรต่าง ๆ ใ ห้ เกิด ประ โยช น์ แก่นั กเรี ยน โดยมีครูและผู้ร่างหลักสูตรเป็นผู้ปัญหาแล้วหาคาตอบให้ได้จากการประเมินผล รายงานการประชุมทางวิชาการเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรของประเทศในภูมิภาค (APEID,1977: 3) ก ล่ า ว ว่ า การนาหลักสูตรไปใช้มีความหมายครอบคลุมตั้งแต่การพัฒนาหลักสูตรไปจนถึงการอบรมครูผู้สอนให้เป็นผู้มีส มรรถนะที่จาเป็น พร้อมที่จะนาหลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ธ า ร ง บั ว ศ รี (2514 : 165) ก ล่ า ว ว่า ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ห ม า ย ถึ ง กระบวนการเรียนการสอนสาหรับสอนเป็นประจาทุกๆ วัน สุ มิ ต ร คุ ณ า ก ร (2520 : 130) ก ล่ า ว ว่ า การน าห ลัก สู ต รไป ใ ช้เป็ น กระ บ วน การที่ ท าใ ห้ ห ลัก สู ตรก ล ายเป็ น การป ฏิ บั ติจริ ง และเป็นขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรและมีกิจกรรมที่จะกระทาได้ 3ประการ คือ 1. การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน 2. การจัดปัจจัยและสภาพต่างๆ ภายในโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร 3. การสอนของครู จากความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ ตามที่นักการศึกษาได้ให้ไว้ข้างต้น พอสรุปได้ว่า ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ห ม า ย ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ในอันที่จะทาให้หลักสูตรที่สร้างขึ้นดาเนินไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนับแต่การเตรียมบุคลากร อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สภาพแวดล้อม และการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้ ถ้าเรายอมรับว่าการนาหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญที่สุดที่จะทาให้หลักสูตรบังเกิด ผ ล ต่ อ ก า ร ใ ช้ อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว การนาหลักสูตรไปใช้ก็ควรจะเป็นวิธีการปฏิบัติการที่มีหลักเกณฑ์และมีกระบวนการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพพอ ที่จะ มั่น ใ จได้ว่า ห ลักสู ตรที่ส ร้าง ขึ้ น นั้ น จะ ได้มีโอกาสน าไป ปฏิบัติจริงๆ อย่าง แน่น อน นักการศึกษาต่างก็ให้ทัศนะซึ่งเป็นแนวคิดในการนาหลักสูตรไปใช้ดังนี้ โบแชมป์ (Beauchamp, 1975:169) กล่าวว่าสิ่งแรกที่ควรทาคือ การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน ค รู ผู้ น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ มี ห น้ า ที่ แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร ไ ป สู่ ก า ร ส อ น โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ห ลั ก ใ น ก า ร พั ฒ น า ก ล วิ ธี ก า ร ส อ น สิ่งที่ควรคานึงถึงในการนาหลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลตามเป้าหมาย
  • 4. 1. ครูผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการร่างหลักสูตร 2.ผู้บริหารต้องเห็ น ความสาคัญ และสนับสนุ น การดาเนิ น ง าน ให้เกิดผลสาเร็จได้ ผู้นาที่สาคัญที่จะรับผิดชอบได้ดี คือครูใหญ่ ท า น ก า ร์ ด (Tankard, 1974 : 46-88) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ว่ า ความสาเร็จของการนาหลักสูตรไปใช้อยู่ที่การวางแผนการทดลองใช้ ซึ่งมีองค์ประกอบต่างๆ คือ 1. รายละเอียดของโครงการ 2. ปรัชญาและจุดมุ่งหมาย 3. แผนการนาไปใช้และการดาเนินการ ผู้เกี่ยวข้องใน การน าหลักสูตรไปใช้ซึ่งมีศึกษานิ เทศ ก์ ครูใหญ่ ผู้บริหารระดับต่างๆ เป็นส่วนใหญ่จะต้องร่วมมือกันดาเนินงานตั้งแต่การทาโครงการปรับปรุงหลักสูตร กาหนดจุดมุ่งหมาย จัดทาเนื้อหาแผนการนาไปทดลองใช้ และการประเมินผล ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการนาไปทดลองใช้ จะต้องบันทึกไว้ทั้งหมด เพื่อนาไปเป็นข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร ส า ห รั บ เ ว อ ร์ ดุ น (Verduin, 1977 : 88-90) เ ข า ใ ห้ ทั ศ น ะ ว่ า การน าห ลักสู ตรไปใช้จะต้องเริ่มดาเนิ นการโดยการนิ เทศให้ครูใน โรงเรียนเข้าใจห ลักสูตร แล้วตั้งกลุ่มปฏิบัติการขึ้นเพื่อการศึกษาปัญหาที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการใช้หลักสูตรจากพื้นที่ที่เป็นปัญหาหลาย ๆ แ ห่ ง เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ม า ก ที่ สุ ด กลุ่มปฏิบัติการนี้จะต้องเข้าไปทางานร่วมกันกับครูผู้สอนอย่างจริงจังเพื่อให้เกิดความเห็นอกเห็นใจและมีความ สั ม พั น ธ์ อั น ดี ต่ อ กั น การจัดการอบรมปฏิบัติการแก่ครูประจาการถือว่าเป็ นกิจกรรมที่สาคัญที่สุดในการนาหลักสูตรไปใช้ ต้องใช้วิทยากรผู้เชี่ยวชาญการสอนโดยเฉพาะสามารถฝึกผู้อื่นได้ดีและมีวิธีการให้ครูเ กิดความสนใจ ถ้ามีข้อเสนอแนะให้มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างการใช้หลักสูตรควรเลือกครูผู้สอนที่อาสาสมัครและเต็มใจ ไม่ควรใช้ครูทุกคนในโรงเรียนเพราะอาจมีบางคนที่ไม่เห็นด้วยและไม่เต็มใจกับการเปลี่ยนแปลง จึ ง ค ว ร ท า แ บ บ ค่ อ ย เ ป็ น ค่ อ ย ไ ป เ พื่ อ ใ ห้ ค รู ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ข้ า ใ จ จะทาให้การเปลี่ยนแปลงมีความหมายและได้รับการยอมรับโดยปริยาย จ า ก เอ ก ส า ร ก า ร ป ร ะ ชุ ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต่าง ๆ ใ น เอ เ ชี ย (APEID, 1977 : 29) ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ท บ ท ว น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ต่า ง ๆ ข อ ง ป ร ะ เท ศ ใ น เ อ เ ชี ย เรื่ อ ง ยุทธศาสตร์การนาหลักสูตรไปใช้ได้สรุปเป็นองค์ประกอบที่สาคัญได้ดังนี้
  • 5. 1. วางแผนและเตรียมการนาหลักสูตรไปใช้โดยให้คนหลายกลุ่มเข้าร่วมแสวงหาการสนับสนุนจากประชาชนและ จัดเตรียมทรัพยากร (มนุษย์และวัสดุ) ให้พร้อม 2. จัดให้มีหน่วยงานส่งเสริมการนาหลักสูตรไปใช้ให้เป็นไปได้สะดวกและรวดเร็ว 3.กาหนดวิถีทางและกระบวนการน าหลักสูตรไปใช้อย่างเป็ นขั้นตอน รวมเหตุผลต่างๆ ที่จะใช้ในการจูงใจครูและติดตามผลการปฏิบัติงาน ธ า ร ง บั ว ศ รี (2514: 165-195) ได้สรุปชี้ให้เห็นปัจจัยจะนาไปสู่ความสาเร็จของการนาหลักสูตรไปใช้ไว้ว่าควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1.โครงการสอน เช่น การวางโครงการสอนแบบหน่วย (Unit Organizationof Instruction, Teaching Unit) ป ร ะ เภ ท ข อ ง ห น่ วย ก าร ส อ น มี 2 ป ระ เภ ท คื อ ห น่ วย ราย วิช า (Subject Matter Unit) และหน่วยงานประสบการณ์ (Experience Unit) 2. ห น่วยวิท ยาก าร (Resource Unit) เป็ น แห ล่ง ใ ห้ ความรู้แ ก่ครู เช่น เอ กส าร คู่มือ และแนวการปฏิบัติต่างๆ 3.องค์ประกอบอื่นๆ ที่ช่วยในการสอน เช่น สถานที่และเครื่องมือเครื่องใช้อุปกรณ์การเรียนการสอน วิธีการสอนและวัดผลการศึกษา กิจกรรมร่วมหลักสูตร การแนะนาการจัดและบริหารโรงเรียนเป็นต้น วิ ชั ย ว ง ษ์ ใ ห ญ่ (2521: 140 -141) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ว่ า ผู้มีบทบาทในการนาหลักสูตรไปใช้ให้บรรลุจุดหมายมี 3กลุ่ม คือ ครูใหญ่ครูประจาชั้น และชุมชน ในจานวนนี้ครูใหญ่เป็นผู้ที่มีบทบาทมากที่สุดที่จะต้องศึกษาและวางแผนเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรโดยมีขั้นตอน สรุปสั้นๆ ได้ดังนี้ 1. เตรียมวางแผน 2. เตรียมจัดอบรม 3. การจัดครูเข้าสอน 4. การจัดตารางสอน 5. การจัดวัสดุประกอบหลักสูตร 6. การประชาสัมพันธ์ 7. การจัดสภาพแวดล้อมและการเลือกกิจกรรมเสริมหลักสูตร 8. การจัดโครงการประเมิน จากเอกสารทางวิชาการของแผนกวิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2516: 11) กล่าวถึงบทบาทของโรงเรียนในการนาหลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลที่ควรจัดกิจกรรมดังนี้
  • 6. 1. ประชุมครูเพื่อศึกษาหลักสูตรและทาโครงการสอน 2. จัดอบรมครู เพื่อให้เพิ่มพูนความรู้จากวิทยากรในด้วยวิธีการสอนแบบใหม่ๆ 3. เตรียมเอกสารทุกชนิดไว้ให้ค้นคว้าและอ่านประกอบ จาก คู่มือการน าห ลักสู ตรประ ถมศึกษ า พ .ศ. 2521 ไป ใช้ (กรมวิช าการ 2520: 279) ได้กล่าวไว้ในเรื่องการเตรียมการในการใช้หลักสูตรว่ามีขั้นตอนสรุปได้ดังนี้ 1. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 2. จัดตั้งกลุ่มปฏิบัติการหลักสูตรขึ้นในส่วนภูมิภาคทุกเขตการศึกษา 3. ประสานงานกับกรมการฝึกหัดครู 4. ฝึกอบรมครู 5. จัดสรรงบประมาณ 6. จัดตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อจัดปัญหาและอุปสรรคการใช้หลักสูตร จาก แ น วคิ ด ขอ ง ก าร น าห ลัก สู ตรไ ป ใ ช้ที่ ได้ยก ตัวอ ย่าง ข้าง ต้น จะ เห็ น ได้ว่า การนาหลักสูตรไปใช้นั้นเป็นงานหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย นับแต่ผู้บริหารระดับกระทรวง ก ร ม ก อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ โ ร ง เรี ย น ค รู ผู้ ส อ น ศึ ก ษ า นิ เท ศ ก์ แ ล ะ บุ ค ค ล อื่ น ๆ ข อ บ เข ต แ ล ะ ง า น ข อ ง ก าร น าห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ เป็ น ง า น ที่ มีข อ บ เข ต ก ว้าง ข ว า ง เพราะฉะนั้นการนาหลักสูตรไปใช้จึงเป็นสิ่งที่ต้องทาอย่างรอบคอบและระมัดระวัง 3. หลักการที่สาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้ จากแนวคิดดังกล่าว สรุปเป็นหลักการสาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้ได้ดังนี้ 1. จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ เ ต รี ย ม ก า ร ใ น ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ทั้ ง นี้ บุ ค ล า ก ร ผู้ มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง ค ว ร จ ะ ไ ด้ ศึ ก ษ า วิ เ ค ร า ะ ห์ ทาความเข้าใจหลักสูตรที่จะนาไปใช้ให้มีความเข้าใจตรงกัน เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปในทานองเดียวกัน และสอดคล้องต่อเนื่องกัน 2. จะต้องมีองค์คณะบุคคลทั้งส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นที่จะต้องทาหน้าที่ประสานงานกันเป็นอย่างดีในแต่ละขั้น ตอนของการนาหลักสูตรไปใช้นับแต่การเตรียมการนาหลักสูตรไปใช้ในด้านวิธีการ สื่อ การประเมินผล การจัดอบรมผู้ที่จะไปพัฒนาครู การอบรมผู้ใช้หลักสูตรใน ท้องถิ่น การน าหลักสูตรไปใช้ของครู และการติดตามผลประเมินการใช้หลักสูตรของครู ฯลฯ
  • 7. 3. การนาหลักสูตรไปใช้จะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบเป็นไปตามขั้นตอนที่วางแผนและเตรียมการไว้ 4. การนาหลักสูตรไปใช้จะต้องคานึงถึงปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้การนาหลักสูตรไปใช้ประสบความสาเร็จได้ ปัจจัยต่างๆ เหล่านั้ นคือ งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เอกสารหลักสูตรต่างๆ ตลอดจนสถานที่ต่างๆ ที่จะเป็ น แหล่งให้ความรู้ประสบการณ์ต่างๆ สิ่ งเหล่านี้ จะต้องได้รับการจัดเตรียมไว้เป็ น อย่างดี และพร้อมที่จะให้การสนับสนุนได้เมื่อได้รับการร้องขอ 5. ค รู เ ป็ น บุ ค ล า ก ร ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ดังนั้ น ครู จะ ต้อง ได้รับก ารพัฒ น าอย่าง เต็มที่ และ จริ งจัง เริ่ มตั้ง แต่การอบ รมให้ ความ รู้ ความเข้าใจทักษะและเจตคติเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรอย่างเข้มแข็ง การให้การสนับสนุนด้านปัจจัยต่างๆแก่ครู ไ ด้ แ ก่ ก า ร ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ก าร ส อ น ข อ ง ค รู อ ย่า ง เป็ น ร ะ บ บ และการพัฒนาตัวครูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การสอน เช่น การจัดอบรมสัมมน าเป็ น ระ ยะ ๆ การเผยแพ ร่เอกสารที่เป็ น ประโยช น์ การพ าไปทัศน ศึกษา การเชิญ วิทยากรมาให้ ความรู้ และการสร้างขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงาน ฯลฯ 6. การน าห ลัก สู ตรไป ใ ช้ ค วรจัดตั้ ง ใ ห้ มีห น่ วยง าน ที่ มีผู้เชี่ ยวช าญ ก ารพิ เศ ษ เพื่อให้การสนับสนุ น และ พัฒน าครู โดยทาหน้าที่นิ เทศ ติดตามผลการน าหลักสู ตรไปใ ช้ และควรปฏิบัติงานร่วมกับครูอย่างใกล้ชิด 7. ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ใ น ฝ่ า ย ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ย วข้ อ ง กับ ก าร น าห ลัก สู ต รไ ป ใ ช้ ไ ม่ว่าจ ะ เป็ น ส่ว น ก ล า ง ห รื อ ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น ต้องปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่และเต็มความสามารถในส่วนที่รับผิดชอบ ซึ่ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ โ ด ย ต ร ง ต่ อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ข อ ง ค รู ลักษณะเช่นนี้จะเป็นตัวบ่งชี้ว่าการนาหลักสูตรไปใช้จะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลว 8. ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ส า ห รั บ ผู้ ที่ มี บ ท บ า ท เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทุ ก ฝ่ า ย ทุกหน่วยงานจะต้องมีการติดตามและประเมินผลเป็ นระยะๆ ซึ่งจะต้องกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ จ ะ ไ ด้ น า ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ม า ป ร ะ เ มิ น วิ เ ค ร า ะ ห์ เพื่อพัฒนาทั้งในแง่ของการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและการวางแนวทางในการนาหลักสูตรไปใช้ให้มีประสิทธิภา พดียิ่งขึ้น 4. กิจกรรม/งานที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้
  • 8. กิ จ ก ร ร ม ห รื อ ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร นั้ น นักพัฒนาหลักสูตรและนักการศึกษาได้เสนอแนะไว้ดังนี้ สุ มิ ต ร คุ ณ า นุ ก ร (2520 : 130-132) ได้เสนอกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้ว่าประกอบด้วยกิจกรรม 3ประเภท คือ 1. ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร ไ ป สู่ ก า ร ส อ น คื อ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย และการกาหนดรายละเอียดของหลักสูตร โดยจะดาเนินการในรูปแบบเอกสารประกอบหลักสูตร และวัสดุอุปกรณ์การสอน เช่น โครงการสอน ประมวลการสอน คู่มือครู เป็นต้น 2. ก า ร จั ด ปั จ จั ย แ ล ะ ส ภ า พ ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น เพื่ อใ ห้ ห ลักสู ตรบรรลุเป้ าห มายผู้บริ ห ารโรงเรี ยน ค วรส ารวจดูปั จจัยแล ะ สภ าพ ต่าง ๆ ของโรงเรียนว่าเหมาะสมกับสภาพการนาหลักสูตรมาปฏิบัติหรือไม่ 3.การสอน ซึ่งเป็นหน้าที่ของครูประจาการ ถือว่าเป็ นหั วใจสาคัญของการนาหลักสูตรไปใช้ ครูจึงเป็นตัวจักรที่สาคัญที่สุด ครูต้องสอนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรเลือกวิธีสอนให้เหมาะสม โดยผู้บริหารคอยให้ความสะดวกให้คาแนะนา และให้กาลังใจ วิ ชั ย ว ง ษ์ ใ ห ญ่ (2537 : 198) ก ล่ า ว ว่ า เอกสารหลักสูตรเมื่อได้จัดทาเสร็จเรียบร้อยแล้วก่อนที่จะนาไปใช้ควรจะได้ทบทวนตรวจสอบอีกครั้ง ดังนั้น ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้มีดังนี้ 1. ตรวจสอบทบทวนหลักสูตรตามหลักการของทฤษฎีหลักสูตร 2. ทาโครงการและวางแผนการศึกษานาร่องเพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตร 3. ประเมินโครงการศึกษาทดลอง 4. ประชาสัมพันธ์หลักสูตร 5. การอบรมครูผู้บริหารผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร 6. นาหลักสูตรไปปฏิบัติจริงหรือเรียกว่าขั้นดาเนินการใช้หลักสูตรเต็มรูป 7. การอบรมครูเพิ่มเติมในส่วนที่จาเป็นในระหว่างการใช้หลักสูตร 8. การติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร
  • 9. ภาพประกอบ 29 แสดงขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ของวิชัย วงษ์ใหญ่(2537: 175) สงัด อุทรานันท์ (2532: 263-271) กล่าวว่า การนาหลักสูตรไปใช้มีงานหลัก 3 ประการ คือ 1.งานบริหารและบริการหลักสูตรจะเกี่ยวข้องกับ งานเตรียมบุคลากร การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร การบริหารและบริการวัสดุหลักสูตร การบริการหลักสูตรภายในโรงเรียน 2. ง า น ด า เ นิ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น การจัดทาแผนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.งานสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรประกอบด้วยการนิเทศและติดตามผลการใช้หลักสูตร และการตั้งศูนย์บริการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร การตรวจสอบหลักสูตร ปรับแก้ ยอมรับ ใช้ไม่ได้ โครงการ ศึกษานาร่อง ปรับแก้ ยอมรับ ใช้ไม่ได้ การฝึกอบรม เพิ่มเติม นาไปปฏิบัติจริง การฝึกอบรมครู บริการสนับสนุน การติดตามและประเมิล ผล
  • 10. จะ เห็ น ได้ว่ากิจกรรมหรื องาน ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ การน าห ลักสู ตรไป ใช้มีมาก นับแต่งานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเพื่อการเตรียมการใช้หลักสูตร เช่น การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ผู้บริหารสถาน ศึกษา ครูผู้สอน นักเรี ยน งาน ที่เกี่ยวข้องกับการน าหลักสู ตรไปใช้จริง เช่น การจัดการเรียน การส อน ห รื อ ง าน ที่ ต้อง กระ ท าห ลัง การน าห ลักสู ต รไป ใ ช้แล้ว เช่น การนิ เทศและ ติดตามผลการใช้หลักสู ตร การประเมิ นผลการใช้หลักสู ตร ลักษณะงาน ต่าง ๆ นี้จะเห็นได้ชัดเจนตามขั้นตอนของการนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งจะกล่าวต่อไปนี้ 5. ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ จากลักษณะงานและกิจกรรมของการนาหลักสูตรไปใช้ดังกล่าวสามารถสรุปขั้นตอนของ การนาหลักสูตรไปใช้ดังนี้ 1. ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร 2. ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร 3. ขั้นติดตามและประเมินผล 5.1 ขั้นเตรียมการใช้หลักสูตร ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ขั้ น ต อ น ที่ ส า คั ญ เพราะการนาเอาหลักสูตรใหม่เข้ามาแทนที่หลักสูตรเดิมจะสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ต่อเมื่อได้มีการเตรียมการเป็นอ ย่าง ดี นั บ แ ต่ก าร ต ร ว จ ส อ บ ท บ ท วน ห ลัก สู ต รต า มห ลัก ก าร ท ฤ ษ ฎี ข อ ง ห ลัก สู ต ร การทาโครงการและวางแผนการศึกษานาร่องเพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตรหรือการทดลองใช้หลักสูตรการ ป ร ะ เ มิ น โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า ท ด ล อ ง การประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการใช้หลักสูตร 1.การตรวจสอบลักษณะหลักสูตร จุดประสงค์ของการตรวจสอบหรือทบทวนหลักสูตรเพื่อต้องการทราบว่าหลักสูตรที่พัฒนาเสร็จเรียบ ร้ อ ย แ ล้ ว นั้ น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก น้ อ ย เ พี ย ง ใ ด เพื่อศึกษาหาวิธีการที่จะนาหลักสูตรไปใช้ปฏิบัติได้จริงตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร รวมทั้งศึกษาองค์ประกอบ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรและบริบททางสังคมอื่นๆ ที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร การต รวจ ส อ บ ลัก ษ ณ ะ ห ลัก สู ต รเพื่ อดู ค วามชัดเจ น ข อ ง ห ลัก สู ต ร ซึ่ ง ได้แ ก่ ความกระจ่างชัดของคาชี้แจง คาอธิบายสาระสาคัญแนะปฏิบัติต่าง ๆ ของหลักสูตร นอกจากนั้ น จะ ดูความสอดคล้อง ขององค์ประ กอบห ลักสู ตร ได้แก่จุดประสง ค์การเรียน เนื้ อหาสาระ กิจกรรมประสบการณ์การเรียน และการประเมินผลมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด
  • 11. มีค ว า ม เห มา ะ ส ม กับ พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ผู้ เรี ย น ที่ เ ป็ น ก ลุ่ ม เป้ าห ม า ย จ ริ ง ห รื อ ไ ม่ ร ว ม ทั้ ง ค ว า ม ห วัง ข อ ง สั ง ค ม ไ ด้ ส ะ ท้ อ น เข้ าม าอ ยู่ใ น ส่ ว น ใ ด ข อ ง ตั ว ห ลั ก สู ต ร ความซับซ้อนของเนื้อห ามีมากน้อยเพียงใด สิ่งสาคัญอีกประการณ์หนึ่ งคือรายละ เอียดต่าง ๆ ที่ปรากฏในหลักสูตรนั้นสามารถที่จะนาไปปฏิบัติได้จริงตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ รวม ทั้ ง บุ ค ล าก รแ ล ะ สิ่ ง อื่ น ๆ โด ยเฉ พ าะ อ ย่าง ยิ่ง ค รู ผู้ส อน ผู้บ ริ ห าร ง บ ป ร ะ ม าณ การบริหารสนับสนุนการใช้หลักสูตรได้ตามจุดประสงค์ คณะบุคคลที่ทาการตรวจสอบหลักสูตร ได้แก่คณะกรรมการยกร่างหลักสูตรผู้บริหาร ครู ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ นั ก วิ ช า ก า ร ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ผู้ ป ก ค ร อ ง ซึ่งควรจะได้มีบทบาทในการประชุมสัมมนาเพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตร เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน เห็นคุณค่า เกิดการยอมรับ และมีทัศนคติที่ดีต่อหลักสูตรซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญในการจะนาหลักสูตรไปใช้ต่อไป 2. การวางแผนและทาโครงการศึกษานาร่อง การวางแผนและทาโครงการศึกษานาร่องเป็นสิ่งที่จาเป็นจะตรวจสอบคุณภาพความเป็นไปได้ของหลั ก สู ต ร ก่ อ น ที่ จ ะ น า ไ ป ใ ช้ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง วิธีการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติประการแรกคือเลือกตัวแทนของกลุ่มเป้าหมายก่อนที่จะทาการใช้หลักสูตร จ าก นั้ น แ ป ล ง ห ลัก สู ต ร สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น พั ฒ น าวัส ดุ ห ลัก สู ต ร เตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมในการใช้หลักสูตร จัดหาแหล่งบริการที่สนับสนุนการใช้หลักสูตร งบประมาณ จัดสิ่ ง แวดล้อมที่จะสนั บสนุ น การสอน ติดตามผลการทดลอง ทั้งระ ยะ สั้ น และ ระยะยาว รวมทั้งศึกษาระบบการบริหารของโรงเรียนในปัจจุบันว่าระบบหลักสูตรจะเข้าไปปรับใช้ให้เข้ากับระบบบริหาร ที่มีอยู่เดิมให้ผสมผสานกันได้อย่างไร โดยไม่เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบเดิม 3. การประเมินโครงการศึกษานาร่อง ก าร ป ร ะ เมิ น โ ค ร ง ก าร ศึ ก ษ าน าร่อ ง อ า จจ ะ ก ร ะ ท าไ ด้ห ล าย รู ป แ บ บ เช่น การประ เมิน ผลการเรี ยน จากผู้เรี ยน โดยการประเมิน แบบย่อย และการปร ะเมิน รวมยอด การประเมิน ห ลักสู ตรห รือการประเมินทั้งระบบการใช้ห ลักสูตร และปรับแก้จากข้อค้น พ บ โ ด ย ป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า กั บ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล ะ ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เพื่อนาความคิดเห็นบางส่วนมาปรับปรุงหลักสูตรให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4. การประชาสัมพันธ์หลักสูตร การเปลี่ยน แปลงใดๆ ก็ตามย่อมมีผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องเสมอ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ ง การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรก็เช่นเดียวกัน ผู้ที่เกี่ยวข้องนับตั้งแต่ผู้บริหารการศึกษา ศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาธิการอาเภอผู้อานวยการประถมศึกษาจังหวัดและอาเภอศึกษานิเทศก์ผู้อานวยการโรงเรียนอาจารย์ใหญ่
  • 12. ครูใหญ่ ครูผู้สอน ซึ่งจะต้องได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งสิ้นมากบ้างน้อยบ้างตามแต่กรณี ที่ ก ล่ า ว เ ช่ น นี้ ก็ เ พ ร า ะ ห ลั ก สู ต ร เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ สิ่ ง ต่ า ง ๆ หลายอย่างไม่เฉพาะเรื่องการเรียนการสอนเท่านั้นแต่ยังเกี่ยวพันไปถึงวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ อาคารสถานที่ และงบประมาณค่าใช้จ่าย ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับบุคคลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ซึ่งจะต้องปรับตัวแก้ไขวิธีการทางานและปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้การใช้หลักสูตรผลสาเร็จตามจุดหม ายที่ได้กาหนดไว้ด้วยเหตุนี้ เขาเหล่านั้นจึงจาต้องทราบว่ากาลังจะมีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้น อัน ที่ จริ ง การประ ช าสัม พัน ธ์ ไม่ใ ช่ว่าจะ มาเริ่ ม ตอน จัดท าห ลักสู ตรต้น แ บบ เสร็ จแล้ว แต่ควรเริ่มต้นตั้งแต่มีแผนการที่จะเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตรโดยให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบเป็นระยะๆ ว่า ได้มีการดาเนินการไปแล้วแค่ไหนเพียงใด การประชาสัมพันธ์อาจได้หลายรูปแบบ เช่น การออกเอกสารสิ่งพิมพ์ การใช้สื่อมวลชน เช่น วิทยุ โ ท ร ทั ศ น์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ เ ป็ น ต้ น นอกจากนี้ การประชุมและการประชุมและการสัมมนากี่ครั้งเป็ นเรื่องที่จะต้องพิจารณาเป็นรายๆ ไป อย่าง ไรก็ตามสิ่ ง ที่ควรให้ ผู้เกี่ยวข้อง ทราบก็คือสิ่ ง สาคัญ ที่ เปลี่ยน แป ลงไปนั้ น คืออะ ไร จะมีประโยชน์แก่ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องอย่างไร และจะมีผลต่อบทบาท 5. การเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การอบรมผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรต้องคานึงและต้องกระทาอย่างรอบคอบ นับแต่ขั้นเตรียมการสารวจข้อมูลเบื้องต้นที่น ามาใช้ในการวางแผน และวิธีการฝึ กบุคลากร เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการใช้หลักสูตรซึ่งจะมีความแตกต่างของความพร้อมของใช้หลักโรงเรียนในตัวเมืองขนา ดใหญ่ย่อมมีความพร้อมหลายๆ ด้านมากกว่าโรงเรียนขนาดเล็กในชนบท และบุคลากรฝ่ายต่างๆเช่น ผู้บริหาร ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ ค รู ก ลุ่ ม ผู้ ส นั บ ส นุ น ร ว ม ทั้ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง วิ ธี ก า ร อ บ ร ม ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมและงบประมาณที่ใช้ในแผนนี้ วิธี ก ารฝึ กอบ รมจะ แต กต่าง กัน ไปต ามกลุ่มเป้ าห มายของ การใ ช้ห ลักสู ตร เช่น ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง วิ ธี ก า ร อ บ ร ม จ ะ มุ่ ง เ น้ น เ กี่ ย ว กั บ น โ ย บ า ย เจตนารมณ์ของหลักสูตรการจัดงบประมาณและบริการสนับสนุนการใช้หลักสูตรและการสอน วิธีการที่ใช้ส่วน มากจะเป็ น การประชุมชี้ แจงสาระ สาคัญและ แน วทางการปฏิบัติ เป็ น ต้น วิ ธี ก า ร ที่ ใ ช้ ส่ ว น ม า ก จ ะ เ ป็ น มุ่ ง เ น้ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร เพราะการที่จะเข้าใจหลักสูตรจนสามารถปฏิบัติการสอนได้นั้นต้องลงมือฝึกปฏิบัติจริงครูจึงจะเห็นภาพรวมและ เกิดความมั่นใจในการสอน วิธีการฝึกอบรมแบบนี้จะสิ้นเปลืองงบประมาณและต้องใช้ระยะเวลานานพอสมควร ดั ง นั้ น ท รั พ ย า ก ร ต่ า ง ๆ ก า ร เ ต รี ย ม วั ส ดุ ส า ห รั บ ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม
  • 13. จะต้องมีการวางแผนอย่างดีเพื่อไม่ให้ครูเกิดความสับสนและไม่แน่ใจซึ่งเป็นเหตุการณ์ไม่ยอมรับหลักสูตรใหม่ ตามมา นอกจากนั้นครูให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อให้ทราบผลของการฝึกอบรมปัญหาและแนวทางแก้ไข โ ด ย ใ ห้ ผู้ อ บ ร ม ไ ด้ มี ส่ ว น ว า ง แ ผ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ตั ด สิ น ใ จ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผลของการพัฒนาหลักสูตรดาเนินไปสู่การปฏิวัติจริงได้มากขึ้น 5.2 ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้เป็นการแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การใช้หลักสูตรจะมีงานหลัก 3 ลักษณะ คือ 1. การบริหารและบริการหลักสูตร 2. การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร 3. การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร 1. ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ บ ริ ก า ร ห ลั ก สู ต ร หน่วยงานบริการหลักสูตรส่วนกลางของคณะพัฒนาหลักสูตรจะมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเตรียมบุคลากรเ พื่ อ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ บ ริ ก า ร ห ลั ก สู ต ร ส่วนงานบริหารและบริการหลักสูตรในระดับท้องถิ่นซึ่งได้แก่โรงเรียนก็จะเกี่ยวข้องกับการจัดบุคลากรเข้าสอน ตามความถนัดและความเหมาะสม การบริหารและการบริการหลักสูตรในโรงเรียนได้แก่ 1.1 ก า ร จั ด ค รู เ ข้ า ส อ น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ก า ร จั ด ค รู เ ข้ า ส อ น ห ม า ย ถึ ง การจัดและดาเนินการเกี่ยวกับการสรรหาและกลวิธีการใช้บุคลากรอย่างเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ ค ว า ม ส น ใ จ ค ว า ม ถ นั ด แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ร ว ม ทั้ ง ส าม า ร ถ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร เพื่ อ ใ ห้ มี ค ว า มส า มา ร ถ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ และมีความรับผิดชอบต่อการงานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดครูเข้าสอน โดยห ลักสูตรทั่วไปจะเป็ นงานของหัวหน้าสถาน ศึกษาแต่ละแห่ง การรับ ครู เข้าส อน จาเป็ น ต้อง คานึ ง ถึ ง ความรู้ ความส ามารถ ความส น ใ จ ค วามถนั ด แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ต ล อ ด จ น ค ว า ม ส มั ค ร ใ จ ข อ ง ค รู แ ต่ ล ะ ค น ด้ ว ย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้หลักสูตรแต่ละคนมีโอกาสได้ใช้ศักยภาพของตนให้เป็นประโยชน์ต่อการใช้หลักสูตรให้มากที่สุ ด 1.2 บ ริ ก า ร พั ส ดุ ห ลั ก สู ต ร วั ส ดุ ห ลั ก สู ต ร ที่ ก ล่ า ว ถึ ง นี้ ไ ด้ แ ก่ เอ กส ารห ลัก สู ตรแล ะ สื่ อ การเรี ยน การสอ น ทุ ก ช นิ ดที่ จัดท าขึ้ น เพื่ อใ ห้ ค วามส ะ ดว ก
  • 14. แ ล ะ ช่ ว ย เ ห ลื อ ค รู ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง งานบริการหลักสูตรจึงเป็นภารกิจของหน่วยงานส่วนกลางซึ่งมีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตรจึงเป็นหน้าที่ของห น่วยงานส่วนกลางซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องดาเนินการบริหารและบริการสื่อหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพเพื่อใ ห้ถึงมือผู้ใช้ในโรงเรียนแต่ละแห่งอย่างครบถ้วนและทันกาหนด 1.3การบริหารหลักสูตรภายในโรงเรียน การจัดบริการหลักสูตรภายในโรงเรียนได้แก่ ก า ร จั ด สิ่ ง อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ต่ า ง ๆ แ ก่ ผู้ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ช่ น ก ารบ ริ ห าร ห้ อ ง ส อ น วิช าเฉ พ าะ บ ริ ก าร เกี่ยว กับ ห้ อ ง ส มุ ด สื่ อ ก ารเรี ยน ก าร ส อ น บ ริ ก ารเกี่ยว กับ เค รื่ อ ง มือ ใ น ก ารวัด ผ ล แ ล ะ ป ระ เมิน ผ ล แ ล ะ ก าร แ น ะ แ น ว เป็ น ต้น ผู้บริ หารโรงเรียน ควรอาน วยความสะ ดวกใน การจัดทาหรื อจัดหาแห ล่งวิช าการต่าง ๆ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากบุคคลและหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ภายนอกโรงเรียนอีกด้วย 2. การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร 2.1 ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น เนื่องจากหลักสูตรที่ร่างขึ้นมาเพื่อใช้กับประชากรโดยส่วนรวมในพื้นที่กว้างขวางทั่วประเทศนั้น มัก จ ะ ไ ม่ส อ ด ค ล้ อ ง กับ ส ภ า พ ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก าร ข อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ดั ง นั้ น เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับสภาพของสังคมในท้องถิ่น และสามารถสนองความต้องการของผู้เรียน ควรจะได้มีการปรับหลักสูตรกลางให้มีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่นที่ใช้หลักสูตรนั้นๆ 2.2 การจัดทาแผนการสอนอการจัดทาแผนการสอนเป็นการขยายรายละเอียดของหลักสูตรให้ไปสู่ภาคปฏิบัติโดยกา รกาหนดกิจกรรมและเวลาไว้อย่างชัดเจน สามารถนาไปปฏิบัติได้ แผนการสอนควรจะแบ่งออกเป็น 2ส่วน คือ 1. แผนการสอนระยะยาว จัดทาเป็นรายภาคหรือรายปี 2. แ ผ น ก า ร ส อ น ร ะ ย ะ สั้ น นาแผนการสอนระยะยาวมาขยายเป็นรายละเอียดสาหรับการสอนในแต่ละครั้ง 1. ว า ง เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ส อ น ซึ่งจะช่วยให้ความสะดวกแก่ครูผู้ใช้หลักสูตรสามารถดาเนินการสอนให้ได้ตามความมุ่งหมายของหลักสูตร 2. ใ ห้ ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ก่ ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ ในการช่วยเหลือแนะนาและติดตามผลการเรียนการสอน 3.เป็นแนวทางในการสร้างข้อทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนการสอนเพื่อให้มีการ ครอบคลุมกับเนื้อหาสาระที่ได้สอนไปแล้ว
  • 15. จะ เห็ น ได้ว่าแ ผ น ก ารส อ น จะ เป็ น แ น วท าง ใ น ก ารใ ช้ห ลัก สู ต รข อ ง ค รู ถ้ า ห า ก ไ ม่ มี ก า ร จั ด ท า แ ผ น ก า ร ส อ น การใช้หลักสูตรก็จะเป็นไปอย่างไม่มีจุดหมายทาให้เสียเวลาหรือมีข้อบกพร่องในการใช้หลักสูตรเป็นอย่างมากอั นจะส่งผลให้การบริหารหลักสูตรเกิดความล้มเหลว 2.3 ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น มีนั ก ป ร า ช ญ์ ท า ง ด้ า ง ห ลั ก สู ต ร ห ล า ย ค น ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่า เป็ น กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก าร ส อ น ช นิ ด ต่า ง ๆ ที่ จัด โ ด ยโ ร ง เ รี ย น ดัง นั้ น จึ ง ถื อ ว่า กิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งจัดขึ้นโดยครูเพื่อให้สนองต่อเจตนารมณ์ของหลักสูตรจึงเป็นส่วนของการนาหลัก สูตรไปสู่ภาคปฏิบัติโดยแท้จริง ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละครั้งจาเป็นจะต้องเริ่มจากการพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของกา รสอน การจัดกิจกรรมการเรียน การส อน ใ น เรื่ อง ใดเรื่อง ห นึ่ ง อาจจะ ทาได้ห ลายๆ ช นิ ด ซึ่งจะ มีความแตกต่าง กัน ไปอย่างมากใน เรื่องการใช้เวลา การใช้แรงงาน การใ ช้ทรัพ ยากร ต ล อ ด จ น ก า ร ใ ช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ โดยเหตุนี้ครูผู้สอนในฐานะเป็นผู้จัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนควรพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมที่เห็นว่าจะก่อให้เกิดคว ามรู้ หรือประสบการณ์ และสามารถทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ง่ายที่สุด เร็วที่สุด ประหยัดเวลาที่สุด ประ ห ยัดแรงงาน และ ค่าใช่จ่ายมากที่สุด การสอน เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายใ ดเป้าหมายหนึ่ ง อาจจะ เลือ ก ใ ช้เฉ พ าะ กิจกร รมที่ เห็ น ว่ามีป ระ สิ ท ธิ ภ าพ มากที่ สุ ด เพี ยง 1-2 กิจก รร ม ก็ เ พี ย ง พ อ แ ล้ ว ไ ม่ จ า เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง ท า ทุ ก ๆ กิจกรรมเพราะการทาเช่นนี้นั้นนอกจากไม่เป็นการประหยัดด้วยประการทั้งปวงแล้วอาจจะก่อให้เกิดความเบื่อห น่ายอีกด้วย 2.4การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ในการนาหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น มี ขั้ น ต อ น ห นึ่ ง ที่ จ ะ ข า ด เ สี ย มิ ไ ด้ คื อ ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล เพราะการวัดและประเมินผลจะได้ข้อมูลย้อนกลับที่สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ว่าบ ร รลุ ต ามจุ ด ป ระ ส ง ค์ ข อ ง ก า รส อ น แ ล ะ ค ว ามมุ่ง ห ม ายข อ ง ห ลัก สู ต ร ห รื อ ไ ม่ การวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพของนักการศึกษาในระดับการศึกษ าต่างๆเพราะผลจากการวัดจะเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจของครูและนักการศึกษาเพื่อใช้ปรับปรุงวิธีการสอน ก า ร แ น ะ แ น ว การประเมินหลักสูตรแบบเรียนการใช้อุปกรณ์การสอนตลอดจนการจัดระบบบริหารทั่วไปของโรงเรียน
  • 16. และนอกจากนี้ยังไม่ช่วยปรับปรุงการเรียนของนักเรียนให้เรียนถูกวิธียิ่งขึ้น เช่น ผลการสอบของนักเรียนที่ไม่ดี ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ แ ส ด ง ค ว า ม อ่ อ น ข อ ง นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น เ ท่ า นั้ น เพราะถ้าพิจารณาผลการสอบรวมทั้งโรงเรียนก็จะแสดงถึงความบกพร่องในการสอนไม่ดีของครูด้วย และถ้าพิจารณาผลการสอบรวมทั้งโรงเรียนก็จะแสดงถึงความบกพร่องในด้านการบริหารโรงเรียนของครูใหญ่ แล ะ ค ณ ะ ผู้บ ริ ห าร ยิ่ ง กว่านั้ น ถ้าเราพิ จารณ าผล ส อบ รวม ทั้ ง ป ระ เท ศอี กด้วย ดัง นั้ น การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนจึงนับว่ามีความสาคัญยิ่งในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษา การวัดและประเมินผลเป็นส่วนที่จะใช้พิจารณาตัดสินว่าผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายของการสอนตามที่ ก า ห น ด ไ ว้ ห รื อ ไ ม่ เ พี ย ง ใ ด การวัดและประเมินผลจึงเป็นกระบวนการต่อเนื่องสัมพันธ์กับกระบวนการการเรียนการสอนซึ่งจาเป็นต้องจัดใ ห้เป็ น ระบบที่ชัดเจน เหมาะ สมเพื่อประ สิ ทธิภ าพ และ ประ สิ ทธิผลของการเรี ยน การสอน อันเป็นส่วนสาคัญของการนาหลักสูตรไปใช้ 3. การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร 3.1 การจัดงบประมาณเพื่อการเรียนการสอนนั้นเป็นสิ่งจาเป็นและมีความสาคัญมากสาหรับสถานศึกษาทุกระดับ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องบริหารงานงบประมาณของโรงเรียนประจาปีการศึกษาหนึ่งๆ ให้มีประ สิ ทธิ ภ าพ สู ง และ ยังประสิ ทธิ ผลตามเป้าห มายที่กาห น ดไว้ หรืออีกนั ยหนึ่ งก็คือ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเงินของโรงเรียนจะต้องมีสมรรถภาพในการจัดงบประมาณของ โ ร ง เ รี ย น ไ ด้ ดี ไ ม่ มี ผิ ด พ ล า ด จึงจะสามารถจัดงบประมาณของโรงเรียนให้สอดคล้องกับแผนการเรียนการสอนของแต่ละกลุ่มวิชาได้เป็นอย่าง ดี 3.2การใช้อาคารสถาน ที่ เป็ น สิ่งสนับสนุ น การใช้ห ลักสูตรซึ่งผู้บริหารการศึกษา พึ ง ต ร ะ ห นั ก อ ยู่ เ ส ม อ ว่า อ า ค า ร ส ถ า น ที่ แ ล ะ สิ่ ง ป ลู ก ส ร้ า ง ต่ า ง ๆ ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ย่ อ ม เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ต่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น และการอบรมบ่มเพราะนิสัยแก่ผู้เรียนได้ทั้งสิ้นแต่เนื่องจากสถานศึกษาแต่ละแห่งอาจมีปริมาณและคุณภาพของ อ า ค า ร ส ถ า น ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ฉะนั้นผู้บริห ารจาเป็ น จะต้องวางโครงการและแผน การใช้อาคารสถานที่ทุกแห่งให้เหมาะสม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเท่าที่จะสามารถกระทาได้โดยจะต้องสารวจศึกษาวิเคราะห์อย่างละเอียดรอบคอบ แล้วจึงวางแผนว่าควรดาเนินการอย่างไรจึงจะบรรลุตามเจตนารมณ์ หรืออุดมการณ์ของหลักสูตรที่กาหนดไว้
  • 17. 3.3 ก า ร อ บ ร ม เ พิ่ ม เ ติ ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ข ณ ะ ที่ ด า เ นิ น ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง ศึ ก ษ า ปั ญ ห า แ ล ะ ป รั บ แ ก้ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ ห้ เ ข้ า กั บ ส ภ า พ จ ริ ง แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด เ ท่ า ที่ จ ะ ม า ก ไ ด้ ทั้งนี้ โดยไม่ให้เสียหลักการใหญ่ของหลักสูตรสิ่งที่ครูต้องการมากที่สุดคือการฝึ กอบรมเพิ่มเติม เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม มั่ น ใ จ ม า ก ขึ้ น การฝึกอบรมจะกระทาจากการวิเคราะห์ส่วนที่ขาดในบทบาทหน้าที่ของครู เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและที่สาคัญที่สุดคือการเพิ่มพูนประสิทธิภาพของกร ะบวนการเรียนการสอน 3.4การจัดตั้งศูน ย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรภารกิจเกี่ยวกับ การจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนกลางซึ่งเป็นผู้ พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร หน่วยงานนี้ควรหาทางสนับสนุนและส่งเสริมหน่วยงานผู้ใช้หลักสูตรให้สามารถดาเนินการใช้หลักสูตรด้วยคว ามมั่น ใจ การจัดตั้งศูน ย์วิช าการ อาจจะ ทาใน ลักษณะ ของศูน ย์ใ ห้บริ การแน ะ น าช่วยเหลือ หรือจัดตั้งโรงเรียน ตัวอย่าง ห รือดังที่กรมวิช าการได้จัดตั้ง “โรงเรียน ผู้น าการใช้หลักสูตร ” ที่ ศูน ย์พั ฒ น าห ลักสู ต รก็ได้ โ รง เรี ยน ผู้น าก ารใ ช้ห ลักสู ต รที่ ก รม วิช าก ารจัด ตั้ ง ขึ้ น จะเป็นโรงเรียนที่สามารถดาเนินการใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพในลักษณะใดลักษณะหนึ่งซึ่งพอจะเป็น แ บ บ อ ย่ า ง ใ ห้ แ ก่ โ ร ง เ รี ย น อื่ น ๆ ไ ด้ วิธีการเช่นนี้จะเป็นการกระตุ้นให้โรงเรียนผู้ใช้หลักสูตรได้มีความกระตือรือร้นในการพัฒนาประสิทธิภาพในกา ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ใ น โ ร ง เ รี ย น ข อ ง ต น และส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการใช้หลักสูตรระหว่างโรงเรียนต่างๆ ด้วย 5.3 ขั้นติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร 1.ก า ร นิ เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ใ น โ ร ง เ รี ย น การนิ เทศมีความจาเป็ น อย่าง ยิ่งใ น ห น่วยงาน ทุกแห่ง โดยเฉพ าะ อย่าง ยิ่งใ น วง การศึกษ า เพื่ อเป็ น การช่วยป รับ ปรุ ง การเรี ยน การส อน ส งัด อุท รานั น ท์ (2532 : 268-269) กล่าวว่า ก าร นิ เ ท ศ แ ล ะ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ใ น ร ะ ห ว่า ง ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร นั้ น หน่วยงานส่วนกลางในฐานะผู้พัฒนาหลักสูตรควรจัดส่งเสริมเจ้าหน้าที่ไปให้คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรเ พิ่มเติม และ ติดตามผลการใช้ห ลักสูตรใน โรงเรียน ว่าได้ดาเนิ นก ารด้วยความถูกต้องหรือไม่ มีปัญหาใดเกิดขึ้นหรือไม่หากไม่มีปัญหาก็จะได้แก้ไขให้ลุล่วงไปสาหรับหน่วยงานในระดับท้องถิ่นอาจดาเนิน การให้คาปรึกษาแนะนาและช่วยเหลือแก่ครูผู้ใช้หลักสูตรให้ดาเนินการใช้หลักสูตรอย่างถูกต้อง
  • 18. ก า ร นิ เ ท ศ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ห รื อ นิ เ ท ศ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ห ลั ก ส า คั ญ ข อ ง ก า ร นิ เ ท ศ คื อ การให้คาแน ะน าช่วยเหลือไม่ใช่การตรวจสอบเพื่อจับผิดแต่ประการใ ด โดยลักษณ ะเช่น นี้ ผู้นิ เท ศ จาเป็ น จะ ต้อ ง ส ร้าง ค วามสั ม พั น ธ์ แ ล ะ ค ว ามเข้าใ จ อัน ดี กับ ผู้รับ ก ารนิ เท ศ การดาเนินการนิเทศจะต้องดาเนินไปด้วยบรรยากาศแห่งความเป็นประชาธิปไตยและร่วมมือกัน 2.ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร จะ ต้อ ง มี ก าร ว าง แ ผ น ไ ว้ใ ห้ ชั ด เ จน ว่าจ ะ ท าก าร ป ร ะ เมิ น ส่ ว น ใ ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ถ้าการวางแผนเกี่ยวกับการประเมินไม่ชัดเจนเมื่อมีความต้องการจะทาการประเมินในหัวข้อนั้นหรือส่วนนั้น บางครั้งอาจจะกระทาไม่ได้ต่อเนื่ อง ดังนั้น การวางแผนเพื่อการประเมินหลักสูตรจะต้องชัดเจน และจะต้องใช้วิธีการประเมินอย่างไรจึงจะได้ผลเป็นภาพรวมที่สามารถนามาอธิบายได้ว่า สิ่งใดเป็นบรรยากาศ หรือสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออานวยเท่าที่ดาเนินการใช้หลักสูตรไปแล้วบรรลุถึงสิ่งที่กาหนดไว้มากน้อยเพียงใด สามารถตอบสนองความมุ่งหมายหลักที่กาหนดไว้หรือไม่การประเมินหลักสูตรว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่ การออกแบบประเมินที่กว้างและลึก คือการมองภาพรวมทั้งหมดของการใช้หลักสูตรการหาตัวบ่งชี้สาคัญๆ นั้นจะต้องระมัดระวังเรื่องตัวแปรทางด้านวัฒนธรรมสังคมและทางเศรษฐกิจด้วยเพราะบางอย่างผู้ประเมินอาจจ ะมองข้ามไป เช่น โรงเรียนขนาดใหญ่ย่อมได้เปรียบกว่าโรงเรียนขนาดเล็กองค์ประกอบที่ตั้งของโรงเรียน ถ้าชุมชนให้ความสนับสนุนอย่างดีก็มีผลต่อการใช้หลักสูตรหรือโรงเรียนเล็กมากเกินไป เช่น มีนักเรียน 40-50 คน มีครู 2-3คนบางครั้งอาจจะเป็นปัจจัยที่ทาให้ไม่สามารถที่จะพัฒนาได้มากเท่าที่ควรหลักการจะร่างให้ดี ส ม บู ร ณ์ สั ก เท่า ใ ด ก็ ต า ม ก า ร น า ห ลัก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ก็ ค ว ร จ ะ พิ จ า ณ า ใ ห้ ร อ บ ค อ บ ถึ ง แ ม้ว่า ปั จ จุ บั น นี้ จ ะ มี ร ะ บ บ ก ลุ่ม โ ร ง เรี ย น ช่ว ย เ ห ลื อ ก็ ต าม บ ริ บ ท ท า ง สั ง ค ม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมจะเป็นสิ่งที่มาช่วยเสริมให้สามารถอธิบายได้ชัดเจนว่าเหตุใดการนาหลักสูตรไปใช้ได้ผ ล ห รื อ ไ ม่ ไ ด้ ผ ล เ พ ร า ะ มี ปั จ จั ย แ ท ร ก ซ้ อ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สังคมและค่านิยมของบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยข้อพิจารณาในการประเมินหลักสูตรสรุปได้ดังนี้
  • 19. ภาพประกอบ 30 แสดงข้อพิจารณาในการประเมินหลักสูตร ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล เ พื่ อ ค ว บ คุ ม ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ในแง่ของการปฏิบัติการกระบวนการของการประเมินผลเพื่อควบคุมคุณภาพของหลักสูตรแบ่งออกเป็น 3 ขั้น ตอ น คือ ก ารตรวจส อบ ห าป ระ สิ ท ธิ ผล และ ค วามต กต่าของ คุณ ภ าพ ข อง ห ลักสู ต ร ก าร ต ร ว จ ส อ บ ห าส าเ ห ตุ ข อ ง ค ว ามต ก ต่ า ข อ ง คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ก าร น า วิธี ก าร ต่า ง ๆ มาแก้ไขพร้อมทั้งตรวจสอบประสิทธิผลของวิธีการเหล่านั้น รายละเอียดของแต่ละขั้นตอน มีดังนี้ 1. การต รว จส อบ ป ระสิ ท ธิผ ล แล ะค ว าม ต กต่ าข อ งคุณ ภ าพ ข อ งห ลั กสู ต ร วิ ธี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ เ ริ่ ม ด้ ว ย ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ( Basic Data) เ พื่ อ ใ ช้ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข้อมูลพื้ น ฐาน นี้ ค วรเก็บรวบ รวมใ น ระ ห ว่าง ที่ น าห ลัก สู ตรไป ท ดลอ ง ใ น ภ าค ส น าม ค ว ร เ ก็ บ ใ ห้ ไ ด้ ม า ก แ ล ะ ห ล า ก ห ล า ย เร าจะ ส รุ ป ว่าคุณ ภ าพ ข อ ง ห ลัก สู ต ร ต่ าลง ก็ต่อ เมื่อ ข้อมูล ผ ล สั มฤ ท ธิ์ ใ น ด้าน ต่าง ๆ การประเมินหลักสูตร การบรรลุเป้าหมาย ด้านสังคม วัฒนธรรม ด้านงบประมาณ ด้านระบบบริหาร ด้านการบริหารสนับสนุน ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง ด้านเทคนิค ด้านบรรยากาศในการทางาน ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อทราบ - การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย - ปัญหาและแนวทางแก้ไข