SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 10
การประเมินหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
ในการทางานหรือการประกอบกิจการใดก็ตามจะมีขั้นตอนในการดาเนินงานขั้นตอนหนึ่งซึ่งจะข
าดเสียมิได้คือการประเมินผล (Evaluation) เพื่อให้ทราบว่าการทางานหรือประกอบกิจกรรมนั้นๆ
ได้ผลตามความมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่เพียงใดมีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรบ้างเพื่อที่จะดาเนินการแก้ไข
ปรับปรุงพัฒนาต่อไปในทางการศึกษาก็เช่นกันการที่จะทราบว่าการจัดการศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนด
ไ ว้เ พี ย ง ใ ด นั้ น ส่ ว น ห นึ่ ง ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ไ ด้ คื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร
การประเมินผลหลักสูตรเป็นเครื่องมือชี้ให้เห็นว่าการกาหนดหลักสูตรไปใช้จะได้ผลมากน้อยเพียงใดเพราะ
ฉะนั้นการประเมินหลักสูตรจึงเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตรและผล
ที่ได้จากการประเมินหลักสูตรจะเป็นข้อมูลในการตัดสินเพื่อแก้ไขปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร เรื่อง การประเมินหลักสูตร
2. สามารถให้คาแนะนาในการประสานตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประเมินหลักสูตร
สาระเนื้อหา(Content)
การประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรเป็นขั้นตอนในการศึกษาคุณค่าของว่าดีหรือไม่อย่างไรบกพร่องในส่วนไห
นเพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรในโอกาสต่อไปการประเมินหลักสูตรนั้นมีขอบเขตและระยะก
ารประเมินแตกต่างกันออกไปแล้วแต่จุดประสงค์ของการประเมินเช่นการประเมินเอกสารหลักสูตรในระ ยะ
ก่อนนาหลักสูตรไปใช้การประเมินการใช้หลักสูตรในขณะที่ดาเนินการใช้หลักสูตรหรือประเมินสัมฤทธิผล
ของหลักสูตรและประเมินระบบหลักสูตรหลังจากการใช้หลักสูตรแล้วการประเมินผลหลักสูตรนั้นต้องกาห
นดลงไปให้แน่ชัดว่าต้องการประเมินอะไรข้อมูลที่นามาประเมินต้องเชื่อถือได้การวิเคราะห์ผลการประเมิน
ต้องทาอย่างรอบคอบ
การประเมินหลักสูตรต้องทาเป็นกระบวนการตามลาดับขั้นตอนตั้งแต่กาหนดวัตถุประสงค์ของกา
รประเมินวางแผนและออกแบบการประเมินรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลรายงานและสรุปผลการประเมินเ
พื่อที่จะนาผลที่ได้จากการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรในโอกาสต่อไปจากขั้นตอนการประเมินนักศึ
กษาได้พัฒนารูปแบบการประเมินไว้หลายรูปแบบเป็นต้นว่ารูปแบบการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ๆ
ซึ่งเป็นการประเมินผลก่อนการนาหลักสูตรไปใช้เช่นรูปแบบการประเมินหลักสูตรด้วยเทคนิคการวิเคราะห์
แบบปุยแซงค์หรือรูปแบบการประเมินหลักสู ตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตรเ ช่น
รู ปแบบการ ป ระ เ มิน ห ลัก สู ต รข อง ไทเ ล อร์ , สเ ตค, สตัฟ เ ฟิ ลบีมหรื อ ด อริ ส โ ก ว์
แต่ละรูปแบบแม้จะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปเราก็สามารถนาแนวคิดในการประเมินหลักสูตรมาประยุกต์
เป็นรูปแบบการประเมินหลักสูตรที่เหมาะสมกับสิ่งที่เราต้องการจะประเมินนั้นๆ ได้
1. ความหมายของการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศตลอดจนกิจกรรมต่างๆเกี่ยวกับ
หลักสูตรเพื่อนามาตัดสินค่าหรือคุณภาพของหลักสูตรนั้นนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการ
ประเมินหลักสูตรไว้ต่างๆ กันดังนี้คือ
กู๊ ด ( Good, 1945 : 209)
ได้ให้ความหมายไว้ว่าการประเมินหลักสูตรคือการประเมินผลของกิจกรรมการเรียนภายในขอบข่ายของการ
สอนที่เน้นเฉพาะจุดประสงค์ของการตัดสินใจในความถูกต้องของจุดมุ่งหมายความสัมพันธ์และความต่อเนื่
องของเนื้อหาและผลสัมฤทธิ์ของวัตถุประสงค์เฉพาะซึ่งนาไปสู่การตัดสินใจในการวางแผนการจัดโครงการ
ต่อเนื่องและการหมุนเวียนของกิจกรรมโครงการต่างๆ ที่จะจัดให้มีขึ้น
ลี ค ร อ น บ า ช ( Lee J. Cronbach, 1970: 231)
ให้ความหมายว่าการประเมินหลักสูตรคือการรวบรวมข้อมูลและการใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจในเรื่องโปรแกร
มหรือหลักสูตรการศึกษา
ส ตั ฟ เ ฟิ ล บี ม แ ล ะ ค ณ ะ ( Stufflebeam Daniel L. et. , 1971: 128)
ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรว่าการประเมินหลักสูตรคือกระบวนการหาข้อมูลเก็บข้อมูลเพื่อนาไ
ปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจหาทางเลือกที่ดีกว่าเดิม
วิ ชั ย ว ง ษ์ ใ ห ญ่ ( 2521 : 192)
ให้ความหมายของประเมินหลักสูตรไว้ว่าการประเมินหลักสูตรเป็นการพิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตร
โ ด ย ใ ช้ ผ ล จ า ก ก า ร วั ด ใ น แ ง่ มุ ม ต่ า ง ๆ
ของสิ่งที่ประเมินเพื่อนามาพิจารณาร่วมกันและสรุปว่าจะให้คุณค่าของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมานั้นว่าอย่างไร
มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใดหรือได้ผลตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดหรือไม่มีส่วนใดที่จะต้องปรับปรุงแก้ไข
สุ จ ริ ต เ พี ย ร ช อ บ ( 2548 : 64)
กล่าวถึงการประเมินหลักสูตรไว้ว่าเป็นกระบวนการที่สาคัญเพราะเป็นการหาคาตอบว่าหลักสูตรสัมฤทธิ์ ผล
ตามที่ได้ตั้งจุดมุ่งหมายไว้หรือไม่มากน้อยเพียงใดอะไรเป็นสาเหตุผู้ประเมินหลักสูตรจะต้องเป็นผู้ที่มีความ
รู้ดีทั้งทางด้านหลักสูตรและด้านการประเมินผลซึ่งจะต้องเน้นการประเมินทั้งโปรแกรมการศึกษามิใช่แต่เพีย
งผลการเรียนปีสุดท้ายเท่านั้นแต่ควรประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนด้วย
จากความหมายของการประเมินหลักสูตรที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าการประเมินหลักสูตรคือกระ
บ ว น ก า ร ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ตั ด สิ น คุ ณ ค่า ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่า ห ลั ก สู ต ร นั้ น ๆ
มีประสิทธิภาพแค่ไหนเมื่อนาไปใช้แล้วบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่มีอะไรที่ต้องแก้ไขเพื่อนาผลที่
ได้มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจหาทางเลือกที่ดีกว่าต่อไป
2. จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและมีขอบเขตที่กว้างขวางการประเมินห
ลักสูตรจะต้องครอบคลุมขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตรเพราะฉะนั้นการประเมินหลักสูตรจึงมีขอบเขตขอ
งการประเมินที่กว้างขวางด้วยการประเมินหลักสูตรแต่ละจุดแต่ละขั้นตอนมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกันไปในร
ายละเอียดแต่โดยทั่วไปแล้วจุดมุ่งหมายใหญ่ของการประเมินหลักสูตรจะมีความใกล้เคียงกันจะขอยกตัวอย่า
งจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรที่นักศึกษาได้กล่าวไว้ดังนี้
ทาบา (Taba, 1962:310) ได้กล่าวไว้ว่าการประเมินหลักสูตรกระทาขึ้นเพื่อศึกษากระบวนการต่างๆ
ที่กาหนดไว้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่สอดคล้องหรือขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของการศึกษาการประเมินดั
ง ก ล่า ว จ ะ ค ร อ บ ค ลุ ม เ นื้ อ ห า ทั้ ง ห ม ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่า ง ๆ
ที่เกี่ยวข้องซึ่งได้แก่จุดประสงค์ขอบเขตของเนื้อหาสาระคุณภาพของผู้ใช้บริหารและผู้ใช้หลักสูตรสมรรถภา
พของผู้เรียนความสัมพันธ์ของวิชาต่างๆ การใช้สื่อและวัสดุการสอน ฯลฯ
วิชัย วง ษ์ใ หญ่ ( 2537 : 218- 219) กล่าวว่ากา รป ระ เ มิน ห ลักสู ต รโ ด ย ทั่ ว ๆ
ไปจะมีจุดมุ่งหมายดังนี้เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตรโดยตรวจสอบดูว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมานั้นสามารถบร
รลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่เพื่อวัดผลดูว่าการวางเค้าโครงและรูปแบบระบบของหลักสูตรรวมทั้งวัสดุประก
อบหลักสูตรและการบริหารและบริการหลักสูตรเป็นไปในทางที่ถูกต้องแล้วหรื อไม่การประเมินหลักสูตรจา
กผู้เรียนเองหรือการประเมินผลผลิตเพื่อตรวจสอบดูว่าลักษณะที่พึงประสงค์เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลัก
สูตรหรือไม่เพียงใด
ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539: 192 – 193) กล่าวว่าโดยทั่วไปการประเมินหลักสูตรใดๆ
ก็ตามจะมีจุดมุ่งหมายสาคัญที่คล้ายคลึงกันดังนี้คือเพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบในองค์ประกอ
บ ต่ า ง ๆ
ของหลักสูตรเพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตรการนิเทศกากับดูแลการจัดกระบวนการเรี
ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือค
วรยกเลิกการใช้หลักสูตรเพียงบางส่วนหรือยกเลิกทั้งหมดเพื่อต้องการทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิ
ตของหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามความมุ่งหวังของหลักสูตรหลักจากผ่านกระบวนการท
างการศึกษามาแล้วหรือไม่อย่างไรจากจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรข้างต้นพอสรุปได้ว่าการประเมิ
นผลหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายดังนี้เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตรนั้นโดยดูว่าหลักสูตรที่จัดทาขึ้นนั้นสามารถสนอง
วัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่หลักสูตรนั้นต้องการหรือไม่สนองความต้องการของผู้เรียนและสังคมอย่างไร
เพื่ออธิบายและพิจารณาว่าลักษณะ ของ ส่วน ประ กอบต่าง ๆ ของหลักสู ตรในแง่ต่าง ๆ
เช่นหลักการจุดมุ่งหมายเนื้อหาสาระการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอนและการวัดผ
ลว่าสอดคล้องต้องกันหรือไม่หรือสนองความต้องการหรือไม่เพื่อตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่เหมา
ะสมหรือไม่เหมาะสมกับการนาไปใช้มีข้อบกพร่องที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขอะไรบ้างการประเมินผลในลักษ
ณะนี้มักจะดาเนินไปในช่วงที่การพัฒนาหลักสูตรยังคงดาเนินการอยู่เพื่อที่จะพิจารณาว่าองค์ประกอบต่างๆ
ของหลักสูตรเช่นจุดหมายโครงสร้างเนื้อหาการวัดผลฯลฯมีความสอดคล้องและเหมาะสมหรือไม่สามารถ
นามาปฏิบัติในช่วงการนาหลักสูตรไปทดลองใช้หรือในขณะที่การใช้หลักสูตรและกระบวนการเรียนการส
อนกาลังดาเนินอยู่ได้มากน้อยเพียงใดได้ผลเพียงใดและมีปัญหาอุปสรรคอะไรจะได้เป็นประโยชน์แก่นักพั
ฒนาหลักสูตรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอง ค์ประกอบ ต่าง ๆ
ของหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นได้ทันท่วงทีเพื่อตัดสินว่าการบริหารงานด้านวิชาการและบริหารงานด้านหลั
กสูตรเป็นไปในทางที่ถูกต้องหรือไม่เพื่อหาทางแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ให้มี
ประสิทธิภาพเพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตรคือผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากการผ่านกระบ
วนการทางการศึกษามาแล้วตามหลักสูตรว่าเป็นไปตามมุ่งหวังหรือไม่เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่อง
ที่ พ บ ใ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ
ในหลักสูตรเพื่อช่วยในการตัดสินว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปหรือควรปรับปรุงพัฒนาในสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือยกเ
ลิกใช้หลักสูตรนั้นหมดการประเมินผลในลักษณะนี้จะดาเนินการหลังจากที่ใช้หลักสูตรไปแล้วระยะหนึ่งแล้
วจึงประเมินเพื่อสรุปผลตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่บรรลุตามเป้าหมายที่หลักสูตรกาหนดไว้มากน้
อยเพียงใดสนองความต้องการของสังคมเพียงใดและเหมาะสมกับการนาไปใช้ต่อไปหรือไม่จากจุดมุ่งหมาย
ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร ต่ า ง ๆ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ
ที่ได้จากการประเมินจะเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงคุณภาพการศึกษาของสังคมซึ่งจะมีผลกระทบต่อคุณภาพของประ
ชากรในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไปดังนั้นการประเมินผลหลักสูตรซึ่งมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง
ไ ม่ น้ อ ย ไ ป ก ว่ า ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส่ ว น อื่ น ๆ
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้ควรจะต้องหาวิธีการที่ดีที่สุดในการที่ประเมินผลหลักสูตรเพื่อที่จะให้ได้ข้อมูล
ที่ถูกต้องชัดเจนและจะต้องปฏิบัติให้ครบถ้วนตามขั้นตอนของวิธีการต่างๆ ที่นามาใช้
3. ระยะของการประเมินหลักสูตร
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ค ว ร มี ก า ร ด า เ นิ น เ ป็ น ร ะ ย ะ ๆ
ทั้งนี้เนื่องจากข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดของหลักสูตรอาจมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยและในระยะต่างกันเ
ช่ น อ า จ มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก ต อ น จั ด ท า ห รื อ
ยกร่างหลักสูตรซึ่งทาให้ตัวหลักสูตรไม่มีคุณภาพที่ดีหรือไม่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้เรีย
นและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปหรืออาจมีสาเหตุมาจากตอนนาหลักสูตรไปใช้เป็นต้นการประเมินหลักสูตรที่
ดีจึงต้องตรวจสอบเป็นระยะเพื่อลดปัญหาที่อาจเกิดขึ้นโดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 ระยะคือ
ระยะที่ 1 การประเมินหลักสูตรก่อนนาหลักสูตรไปใช้ (Project Analysis)
ในช่วงระหว่างที่มีการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรอาจมีการดาเนินการตรวจสอบทุกขั้นตอนของกา
รจัดทานับแต่การกาหนดจุดมุ่งหมายไปจนถึงการกาหนดการวัดและประเมินผลการเรียนซึ่งสามารถทาได้ 2
ลักษณะคือ
1.
ประเมินหลักสูตรเมื่อสร้างหลักสูตรฉบับร่างเสร็จแล้วก่อนจะนาหลักสูตรไปใช้จริงควรมีการประเมินตรวจ
ส อ บ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ฉ บั บ ร่ า ง แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ
ของหลักสูตรการประเมินหลักสูตรในระยะนี้ต้องอาศัยความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านพัฒนาหลักสูตร
ทางด้านวิชาชีพครูทางด้านการวัดผลหรือจะให้ผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์หรือพิจารณาก็ได้
2.
ประเมินผลในขั้นตอนทดลองใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขส่วนที่ขาดตกบกพร่องหรือเป็นปัญหาให้มีความสมบูรณ์
เพื่อประสิทธิภาพในการนาไปใช้ต่อไปเช่นหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2521มีการทดลองใช้ตั้งแต่ พ.ศ.
2519 และ 2520 เพื่อหาข้อบกพร่องอุปสรรคจะได้แก้ไขให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป
ระยะที่ 2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดาเนินการใช้หลักสูตร (Formative Evaluation)
ในขณะที่มีการดาเนินการใช้หลักสูตรที่จัดทาขึ้นควรมีการประเมินเพื่อตรวจสอบว่าหลักสูตรสาม
ารถนาไปใช้ได้ดีเพียงใดหรือบกพร่องในจุดไหนจะได้แก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมเช่นประเมินกระบวนการ
ใช้หลักสูตรในด้านการบริหารการจัดการหลักสูตรการนิเทศกากับดูแลและการจัดกระบวนการเรียนการสอ
น
ระยะที่ 3 การประเมินหลักสูตรหลังการใช้หลักสูตร (SummativeEvaluation)
หลังจากที่มีการใช้หลักสูตรมาแล้วระยะหนึ่งคือครบกระบวนการเรียบร้อยแล้วควรจะประเมินหลั
ก สู ต ร ทั้ ง ร ะ บ บ ซึ่ ง ไ ด้ แ ก่ ก า ร ป ร ะ เ มิ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ด้ า น ต่ า ง ๆ
ของหลักสูตรทั้งหมดคือเอกสารหลักสูตรวัสดุหลักสูตรบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรการบริหารห
ลั ก สู ต ร ก า ร นิ เ ท ศ ก า กับ ติ ด ต า ม ก า ร จั ด ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ฯ ล ฯ
เพื่อสรุปผลตัดสินว่าหลักสูตรที่จัดทาขึ้นนั้นควรจะดาเนินการใช้ต่อไปหรือควรปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นหรือ
ควรจะยกเลิกเช่นหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 มีช่วงระยะการใช้งาน 6 ปีเมื่อครบ 6
ปีแล้วจะมีการประเมินผลหลักสูตรรวบยอดทั้งหมดโดยนาข้อมูลตั้งแต่ระยะที่ 1 จนถึงระยะที่ 2
มารวบรวมวิเคราะห์และประเมินคุณค่าทั้งนี้อาจจะต้องอาศัยข้อมูลที่สาคัญอีกบางข้อมูลเช่นผลสัมฤทธิ์ ทาง
การศึกษาของผู้เรียนซึ่งได้แก่การนาไปใช้ในการดารงชีวิตการประกอบอาชีพเข้ามาประกอบการวิเคราะห์แ
ละประเมินค่าด้วย
4. ขอบเขตในการประเมินหลักสูตร
การประเมินผลหลักสูตรเป็นงานที่มีความซับซ้อนมีความกว้างขวางและมีความละเอียดอ่อนมากก
ารประเมินผลหลักสูตรต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างที่จะต้องนาเข้ามาเกี่ยวข้องในลักษณะที่มีความสัมพันธ์
ต่อกันการประเมินผลหลักสูตรมิได้หมายความว่าจะประเมินเฉพาะตัวหลักสูตรที่เป็นเอกสารจัดทาเป็นรูปเล่
ม เ ท่ า นั้ น แ ต่ ต้ อ ง ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ต่ า ง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรทั้งหมดเช่นนักเรียนครูกระบวนการระบบต่างๆ โครงการต่างๆ ฯลฯ ข้อมูลต่างๆ
ที่ได้จากการประเมินผลสภาพการณ์ดังกล่าวจะเป็นตัวชี้ได้ว่าหลักสูตรที่ใช้อยู่เป็นอย่างไร
จากแนวคิดดังกล่าวนักการศึกษาได้พยายามจัดรวบรวมสภาพการณ์ขั้นตอนต่างๆ
จัดเป็นหมวดหมู่หรือกาหนดขอบข่ายให้ชัดเจนขึ้นเพื่อสะดวกในการที่จะดาเนินการประเมินผลนักการศึกษ
าได้เสนอขอบข่ายของการประเมินผลไว้ดังนี้
โบแชมป์ (Beauchamp. 1975:177) ได้กาหนดขอบข่ายการประเมินหลักสูตรไว้ว่าควรประเมิน 4
ด้านคือ
1 .ประเมินผลการใช้หลักสูตร (Evaluation of Teacher use of the Curriculum)
2. ประเมินผลรูปแบบของหลักสูตร (Evaluation of theDesign)
3. ประเมินผลการเรียนของนักเรียน (Evaluation of Pupil Outcomes)
4. ประเมินผลระดับหลักสูตร (Evaluation of Curriculum System)
เ ซ เ ล อ ร์ แ ล ะ อ เ ล็ ก ซ า น เ ด อ ร์ ( Saylor and Alexander, 1981: 265)
ได้กล่าวถึงขอบเขตของการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้
1 .
การประเมินจุดมุ่งหมายของโรงเรียนจุดมุ่งหมายของหลักสูตรจุดมุ่งหมายเฉพาะวิชาและจุดมุ่งหมายในการ
สอน เ พื่อจะ ดูว่าจุดมุ่ง ห มายเ ห ล่านั้ น เ ห มาะสมกับตัวผู้เ รี ยน สภ าพ แวดล้อมห รื อไม่
มีความเที่ยงตรงและครอบคลุมเพียงใด
2 .
การประเมินผลโครงการการศึกษาของโรงเรียนทั้งหมดเช่นการเตรียมพร้อมของโรงเรียนการดาเนินงานของ
กลุ่มโรงเรียนงบประมาณการเงินการแนะแนวห้องสมุดดูว่าการดาเนินง านโครงการต่างๆ
ได้ดาเนินการไปอย่างไรและมีประสิทธิภาพเพียงใด
3. การประเมินผลการเลือกเนื้อหาและการจัดประสบการณ์เรียนและกิจกรรมต่างๆ
ว่าเหมาะสมเพียงใด
4 .
การประเมินผลการสอบเพื่อดูว่าการสอนของครูดาเนินไปโดยยึดตัวหลักสูตรหรือไม่การสอนได้เปลี่ยนแปล
งพฤติกรรมของผู้เรียนไปตามที่ต้องการหรือไม่เพราะผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนคือผลสัมฤท
ธิ์ในการสอนของครู
5 .
การประเมินผลโครงการประเมินผลเพื่อป้องกันการผิดพลาดซึ่งจะทาให้การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูต
รผิดพลาดไปด้วย
สุ มิ ต ร คุ ณ า นุ ก ร ( 2520: 198 – 202)
ได้แสดงความคิดเห็นว่าการประเมินผลเพื่อตัดสินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรนั้นควรมีขอบเขตอยู่ 4
ประการคือ
1. การวิเคราะห์ตัวหลักสูตร
2. การวิเคราะห์กระบวนการนาหลักสูตรไปใช้
3. การวิเคราะห์สัมฤทธิ์ผลการเรียนของเด็ก
4. การวิเคราะห์โครงการประเมินผล
ใ จ ทิ พ ย์ เ ชื้ อ รั ต น พ ง ษ์ ( 2539 : 195 – 197)
กล่าวว่าในการประเมินหลักสูตรนั้นสิ่งที่ต้องประเมินสามารถแบ่งได้ดังนี้
1. การประเมินเอกสารหลักสูตรเป็นการตรวจสอบคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตร
2 .
การประเมินการใช้หลักสูตรเป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนาไปใช้กับสถานการณ์จริงเพียงใด
3. การประเมินสัมฤทธิ์ผลของหลักสูตรเป็นการตรวจสอบสัมฤทธิ์ผลของผู้เรียน
4. การประเมินระบบหลักสูตร
สันต์ ธรรมบารุง (2527:141-142) ได้กาหนดขอบเขตการประเมินผลหลักสูตรไว้ดังนี้
1. ประเมินหลักสูตรความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
2. ประเมินโครงการทั้งหมดของโรงเรียน
3. ประเมินโครงการเฉพาะส่วน
4. ประเมินการเรียนการสอน
5. ประเมินโครงการ การประเมินผล
6. ประเมินโครงการความสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนถึงการสอนด้วย
7. ประเมินโครงการของผู้เรียนจบออกไปว่าหางานทาได้หรือไม่
จากขอบเ ข ต กา ร ประ เ มิน ผล ห ลัก สู ต ร ที่ย ก มาเ ป็ น ตัว อ ย่าง จะ เ ห็ น ไ ด้ ว่า
การประเมินหลักสูตรนั้นสามารถทาการประเมินได้ในขอบเขตที่แตกต่างกันอาจจะเป็นการประเมินในขอบเ
ขตที่แคบ เช่น การประเมินจุดมุ่งหมายของหลักสูตร หรือการประเมินในขอบเขตที่กว้าง เช่น
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ทั้ ง ร ะ บ บ
ซึ่งขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการประเมินหรือสิ่งที่เราต้องการตรวจสอบและระยะของการประเมินดังกล่าวม
าแล้ว
5. หลักเกณฑ์ในการประเมินหลักสูตร
เนื่องจากการประเมินหลักสูตรเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนมาก ผู้ทาหน้าที่ประเมินผล
จาเป็นต้องยึดหลักการที่สาคัญในการประเมินผลเพื่อที่จะทาให้การประเมินผลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ได้ผลจากการประเมินหลักสูตรที่มีคุณค่าเพียงพอที่จะนาไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรได้จริง
เ ป็ น ข้ อ มู ล ห รื อ ห ลั ก ฐ า น ที่ เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ สู ง
มีความเที่ยงตรงเราจะพบว่าในการประเมินหลักสูตรผลจากการประเมินผลหลายต่อหลายเรื่องมิได้ถูกนาไป
ใช้ก็ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทั้งๆ ที่การประเมินผลหลักสูตรแต่ละครั้งเป็นงานใหญ่ต้องลงทุนลงแรงสูง
เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิน ห ลัก สู ต ร เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิน ที่ มี คุ ณ ค่า
เราจึงมีหลักเกณฑ์ที่จะช่วยในการประเมินดังนี้
1. มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ที่ แ น่ น อ น
การประเมินผลหลักสูตรจะต้องกาหนดลงไปให้แน่นอนชัดเจนว่าประเมินอะไร
2. มีการวัดที่เชื่อถือได้ โดยมีเครื่องมือและเกณฑ์การวัดซึ่งเป็นที่ยอมรับ
3. ข้ อ มู ล เ ป็ น จ ริ ง จ า เ ป็ น อ ย่า ง ยิ่ ง ส า ห รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ดั ง นั้ น
ข้อมูลจะต้องได้มาอย่างถูกต้องเชื่อถือได้และมากพอที่จะใช้เป็นตัวประเมินค่าหลักสูตรได้
4. มีขอบเขตที่แน่นอนชัดเจนว่าเราต้องการประเมินในเรื่องใดแค่ไหน
5. ประเด็นของเรื่องที่จะประเมินอยู่ในช่วงเวลาของความสนใจ
6. ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ม า เ พื่ อ ก า ห น ด ก ฎ เ ก ณ ฑ์
และกาหนดเครื่องมือในการประเมินผลจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ
7. การวิเคราะห์ผลการปะเมินต้องทาอย่างระมัดระวังรอบคอบ และให้มีความเที่ยงตรงใน
การพิจารณา
8. การประเมินผลหลักสูตรควรใช้วิธีการหลายๆ วิธี
9. มีเอกภาพในการตัดสินผลการประเมิน
10. ผ ล ต่ า ง ๆ
ที่ได้จากการประเมินควรนาไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรทั้งในด้านการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในโอกาสต่อไ
ป เพื่อให้ได้หลักสูตรที่ดี และมีคุณค่าสูงสุดตามที่ต้องการ
6. ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการพิจารณาคุณค่าหรือนิยม (Worth or Value)
ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ขั้ น ต อ น ห รื อ วิ ธี ก า ร ป ร ะ เ มิ น จึ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ม า ก
ซึ่งนักศึกษาหลายท่านได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนในการประเมินหลักสูตรดังนี้
ทาบา (Taba, 1962:324) ให้แนวทางในการประเมินผลหลักสูตรเป็นกระบวนการมีขั้นตอนต่างๆ
ดังนี้
1.
วิเคราะห์และตีความตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรให้มองเห็นกระจ่างชัดในเชิงพฤติกรรมคือปฏิบัติได้จริง
(Formulation and Clarification for Objective)
2. คัดเลือกและสร้างเครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับค้นหาหลักสูตร (Selection and Construction of
the Appropriate Instruments for Getting Evidences)
3. ใช้เครื่องมือที่สร้างขึ้นประเมินผลหลักสูตรตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (Application of Evaluative
Criteria)
4.
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภูมิหลังจากนักเรียนและลักษณะของการสอนเพื่อนามาประกอบในการแปรผลของก
ารประเมิน (Informationonthe Background of Students and theNature of Instruction in theLight Which to
Interpretthe Evidences)
ใ จ ทิ พ ย์ เ ชื้ อ รั ต น พ ง ษ์ ( 2539: 198- 202) ก ล่ า ว ว่ า
ในการประเมินหลักสูตรนั้นผู้ประเมินผลควรดาเนินตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบดังนี้ คือ
1. ขั้ น ก า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร
ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจนก่อน ว่า
จะประเมินส่วนใดหรืออย่างใดและในแต่ละเรื่องจะศึกษาบางส่วนในเรื่องนั้นๆ ก็ได้
2. ขั้นวางแผนออกแบบการประเมิน คือ
2.1 การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง
2.2 การกาหนดแหล่งข้อมูล
2.3 การพัฒนาเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.4 การกาหนดเกณฑ์ในการประเมิน
2.5 การกาหนดเวลา
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
5. ขั้นรายงานผลการประเมิน
จ า ก ขั้ น ต อ น ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ที่ ก ล่ า ว ม า ทั้ ง ห ม ด
สามารถสรุปขั้นตอนการประเมินหลักสูตรได้ดังนี้
1. ขั้ น ก า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห รื อ จุ ด มุ่ง ห ม า ย ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น
การกาหนดจุดมุ่งหมายในการประเมินเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการในการดาเนินการประเมินหลักสูตร
ผู้ประเมินต้องกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจนว่าจะประเมินอะ ไร
ใ น ส่ ว น ใ ด ด้ ว ย วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ อ ย่ า ง ไ ร เ ช่ น
ต้องการประเมินเอกสารหลักสูตรเพื่อดูว่าเอกสารหลักสูตรถูกต้องสมบูรณ์สามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิ
ท ธิ ภ า พ แ ค่ไ ห น ห รื อ จ ะ ป ร ะ เ มิน ก า ร น า หลัก สู ต ร ไ ป ใ ช้ใ น เ รื่ อ ง อ ะ ไ ร แค่ไหน
ห รื อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ทั้ ง ห ม ด
หรือจะประเมินหลักสูตรทั้งระบบการกาหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินที่ชัดเจนทาให้เราสามารถกาหนด
วิธีการ เครื่องมือ และขั้นตอนในการประเมินได้อย่างถูกต้อง และทาให้การประเมินหลักสูตรดาเนินไป
2. ขั้ น ก า ห น ด ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ วิ ธี ก า ร ที่ จ ะ ใ ช้ ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล
การกาหนดเกณฑ์และวิธีการประเมินเปรียบเสมือนเข็มทิศที่จะนาไปสู่เป้าหมายของการประเมินเกณฑ์การป
ร ะ เ มิ น จ ะ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง บ่ง ชี้ คุ ณ ภ า พ ใ น ส่ ว น ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ที่ ถู ก ป ร ะ เ มิ น
การกาหนดวิธีการที่จะใช้การประเมินผลทาให้เราสามารถดาเนินงานไปตามขั้นตอนได้อย่างราบรื่น
3. ขั้ น ก า ร ส ร้ า ง เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ วิ ธี ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินหรือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งที่มีความสาคัญที่จะมีผลทา
ใ ห้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น นั้ น น่ า เ ชื่ อ ถื อ ม า ก น้ อ ย แ ค่ ไ ห น
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินหรือเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจึงเป็นขั้นตอนที่สาคั
ญ ซึ่งผู้ประเมินจะต้องเลือกใช้และสร้างอย่างมีคุณภาพมีความเชื่อถือได้ และมีความเที่ยงตรงสูง
4. ขั้ น เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
ในขั้นการรวบรวมข้อมูลนั้นผู้ประเมินต้องเก็บรวบรวมข้อมูลตามขอบเขตและระยะเวลาที่กาหนดไว้
ใ น บ า ง ค รั้ ง ถ้ า จ า เ ป็ น ต้ อ ง อ า ศั ย ผู้ อื่ น ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
ค ว ร พิ จ า ร ณ า ผู้ ที่ จ ะ ม า ท า ห น้ า ที่ เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ที่ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม
เพราะผู้เก็บรวบรวมข้อมูลมีส่วนช่วยให้ข้อมูลที่รวบรวมได้มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ
5. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ในขั้นนี้ ผู้ประเมิน จะต้อง กาหน ดวิธี การจัดระ บบ ข้อ มูล
พิจารณาเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม แล้วจึงวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น
โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้
6. ขั้ น ส รุ ป ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ใ น ขั้ น นี้ ผู้ ป ร ะ เ มิ น จ ะ ส รุ ป แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ใ น ขั้ น ต้น
ผู้ประ เ มิน จะ ต้อง พิ จา ร ณา รู ปแ บ บ ของ กา ร รา ยง าน ผ ล ว่า ค วร จะ เ ป็ น รู ป แ บ บ ใ ด
และการรายงานผลจะมุ่งเสนอข้อมูลที่บ่งชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรมีคุณภาพหรือไม่ เพียงใด
มีส่วนใดบ้างที่ควรแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิก
7. ขั้นนาผลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาหลักสูตรในโอกาสต่อไป
7. ประโยชน์ของการประเมินหลักสูตร
การประเมินผลหลักสูตรเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งที่จะทาให้เราทราบถึงคุณภาพและประสิ
ท ธิ ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
การประเมินผลมีประโยชน์ในการจัดการศึกษาการจัดทาหรือพัฒนาหลักสูตรต้องอาศัยผลการประเมินผลเป็
นสาคัญ ประโยชน์ของการประเมินผลหลักสูตรมีดังนี้
1. ทาใ ห้ทราบห ลักสู ตรที่สร้าง ห รื อพัฒน าขึ้ นนั้ นมีจุดดีหรื อจุดเ สี ยตรงไหน
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงได้ถูกจุด ส่งผลให้หลักสูตรมีคุณภาพดียิ่งขึ้น
2. สร้างความน่าเชื่อถือ ความมั่นใจ และค่านิยมที่มีต่อโรงเรียนให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชน
3. ช่วยในการบริหารทางด้านวิชาการ ผู้บริหารจะได้รู้ว่าควรจะตัดสินใจและสนับสนุนช่วยเหลือ
หรือบริการทางด้านใดบ้าง
4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้าใจในความสาคัญของการศึกษา
5. ส่ง เ สริ มใ ห้ผู้ป ก ค ร อง มีค ว า ม สั ม พัน ธ์ ใ ก ล้ชิ ด กับ โ รง เ รี ย น ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น
ทั้งนี้เพื่อให้การเรียนการสอนนักเรียนได้ผลดี ด้วยความร่วมมือกันทั้งทางโรงเรียนและทางบ้าน
6. ใ ห้ ผู้ ป ก ค ร อ ง ท ร า บ ค ว า ม เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ
เพื่อหาทางส่งเสริมและปรับปรุงแก้ไขร่วมกันระหว่างผู้ปกครองนักเรียนกับทางโรงเรียน
7. ช่ว ย ใ ห้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล เ ป็ น ร ะ บ บ ร ะ เ บี ย บ เ พ ร า ะ มี เ ค รื่ อ ง มือ
และหลักเกณฑ์ทาให้เป็นเหตุผลในทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น
8. ช่วยชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตร
9. ช่ ว ย ใ ห้ ส า ม า ร ถ ว า ง แ ผ น ก า ร เ รี ย น ใ น อ น า ค ต ไ ด้
ข้ อ มู ล ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร ท า ใ ห้ ท ร า บ เ ป้ า ห ม า ย แ น ว ท า ง
และขอบเขตในการดาเนินการจัดการศึกษาของโรงเรียน
8. ปัญหาในการประเมินหลักสูตร
ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้นว่า การประเมินหลักสูตรเป็ นงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง
มีขั้น ตอน ใ น การปฏิบัติง าน ห ลายขั้น ตอน และ ต้อง เ กี่ยวกับบุคคลห ลายฝ่ าย ดัง นั้ น
ในการประเมินหลักสูตรจึงมักพบกับปัญหาในแต่ละขั้นตอนหรือแต่ละกระบวนการที่แตกต่างกันไปปัญหา
ที่มักพบทั่วไปในการประเมินหลักสูตรมีดังนี้
1. ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร
การประเมินหลักสูตรมักไม่มีการวางแผนล่วงหน้า ทาให้ขาดความละเอียดรอบคอบในการประเมินผล
และไม่ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการประเมิน
2. ปัญหาด้านเวลา การกาหนดเวลาไม่เหมาะสมการประเมินหลักสูตรไม่เสร็จตามเวลาที่กาหนด
ทาให้ได้ข้อมูลเนิ่นช้าไม่ทันต่อการนามาปรับปรุงหลักสูตร
3. ปั ญ ห า ด้า น ค ว า มเ ชี่ ย ว ช า ญ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ เ มิน ห ลั ก สู ต ร
คณะ กรรมการประ เ มิน หลักสู ตรไม่มีความรู้ความเ ข้าใจเ รื่อง หลักสู ตรที่จะประเมิน
หรื อไม่มีความเ ชี่ยวช าญใ น การประเมิน ผล ทาใ ห้ผลการประ เมิน ที่ได้ไ ม่น่าเชื่อถือ
ขาดความระเอียดรอบคอบ ซึ่งมีผลทาให้การแก้ไขปรับปรุงปัญหาของหลักสูตรไม่ตรงประเด็น
4. ปัญหาด้านความเที่ยงตรงของข้อมูล ข้อมูลที่ไม่ใช้ในการประเมินไม่เที่ยงตรงเนื่องจาก
ผู้ประเมินมีความกลัวเกี่ยวกับผลการประเมิน จึงทาให้ไม่ได้เสนอข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงหรือ
ผู้ถูกประเมินกลัวว่าผลการประเมินออกมาไม่ดี จึงให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง
5. ปัญหาด้านวิธีการประเมิน การประเมินหลักสูตรส่วนมากมาจากประเมินในเชิงปริมาณ
ท า ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ ค้ น พ บ ที่ ผิ ว เ ผิ น ไ ม่ ลึ ก ซึ้ ง
จึง ควรมีการประ เ มิน ผลที่ใ ช้วิธี การประ เ มิน เ ชิง ปริ มาณและ เ ชิง คุณภ าพ ควบ คู่กัน
เพื่อให้ได้ผลสมบูรณ์และมองเห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
6. ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ทั้ ง ร ะ บ บ
การประเมินหลักสูตรทั้งระบบมีการดาเนินงานน้อยมาก ส่วนมากมักจะประเมินผลเฉพาะด้าน เช่น
ด้า น ผ ล สั มฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ใ น ด้า น วิช า ก า ร ( Academic Achievement) เ ป็ น ห ลัก
ทาให้ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
7. ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง
คณะกรรมการประเมินหลักสูตรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมักไม่ประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
8. ปั ญหาด้าน เ กณฑ์กา ร ประ เ มิน เ กณฑ์ การประ เ มิน หลักสู ต รไ ม่ชั ด เ จ น
ทาให้ผลการประเมินไม่เป็นที่ยอมรับ และไม่ได้นาผลไปใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรอย่างจริงจัง
9. รูปแบบของการประเมินหลักสูตร
ใ น เ รื่ อ ง รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร
มีนักวิชาการซึ่งเชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตรและการประเมินผลเสนอแนะหลายรูปแบบด้วยกันซึ่งสามารถนา
ม า ศึ ก ษ า เ พื่ อ เ ลื อ ก ใ ช้ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
ในปัจจุบันรูปแบบของการประเมินหลักสูตรสามรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
1. รูปแบบของการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ๆ เป็นการประเมินผลก่อนนาหลักสูตร
ไปใช้กลุ่มนี้จะเสนอรูปแบบที่เด่นๆ คือ รูปแบบการประเมินหลักสูตรด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบ
ปุยแชงค์ (Puissance Analysis Technique)
2.
รูปแบบของการประเมินหลักสูตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตรสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้เป็น 4
กลุ่ม คือ
2.1 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ยึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal Attainment Model)
เ ป็ น รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิน ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิน ว่า ห ลัก สู ต ร มีคุณ ค่า มา ก น้ อ ย เ พี ย ง ใ ด
โดยพิจารณาจากจุดมุ่งหมายเป็นหลัก กล่าวคือพิจารณาว่าผลที่ได้รับเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ เช่น
รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ไ ท เ ล อ ร์ ( Ralph W. Tyler)
และรูปแบบการประเมินหลักสูตรของแฮมมอนด์ (Rabert L. Hammond)
2.2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ไม่ยึดเป้าหมาย ( Goal Free Evaluation Model)
เป็นรูปแบบการประเมินที่ไม่นาความคิดของผู้ประเมินเป็นตัวกาหนดความคิดในโครงการประเมินผู้ประเมิ
นจะประเมินเหตุการณ์ที่เกิดตามสภาพความเป็ นจริง มีความเป็ นอิสระในการประเมินและ
ไม่ต้องมีความลาเอียง เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสคริฟเวน (Michael Scriven)
2.3 รู ปแบบการ ป ระ เ มิน ห ลัก สู ตร ที่ ยึ ดเ ก ณ ฑ์เ ป็ น ห ลัก ( Criterion Model)
เป็นรูปแบบการประเมินที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินคุณค่าของหลักสูตรโดยใช้เกณฑ์เป็นหลัก เช่น
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค (Robert E. Stake)
2.4 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสิ นใจ (Decision-Mzking Model)
เป็นรูปแบบการประเมินที่เน้นการทางานอย่างมีระบบเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
และการเสนอผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
เ ช่ น รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ข อ ง โ พ ร วั ส ( Malcolm Provus)
รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ส ตั ฟ เ ฟิ ล บี ม ( Daniel L. Stufflebeam)
และรูปแบบการประเมินหลักสูตรของดอริสโกว์ (Doris T. Gow) เป็นต้น
การประเมินหลักสู ตรมีขอบเขตต่างๆ ที่จะต้องทาการประเ มิน กว้างขวาง มาก
ดังนั้นวิธีการประเมินหลักสูตรจึงต้องได้รับการวิเคราะห์และออกแบบให้สามารถที่จะประเมินได้ครบถ้วนใ
น ข อ บ ข่า ย ส า ร ะ ทั้ ง ห ม ด รู ป แ บ บ ต่า ง ๆ ที่ จ ะ ใ ช้ป ร ะ เ มิน ผ ล มีห ล า ย รู ป แ บ บ
ผู้มีหน้าที่ในการประเมินผลจาเป็นต้องเรียนรู้ทาความเข้าใจให้กระจ่างชัด และจะต้องนารูปแบบต่างๆ
ไปใ ช้อย่าง ถูกต้อง ตรง ตา มจุ ดห มาย แ ละ ลักษ ณะ ข อง ข อ บ ข่าย สา ระ แ ต่ละ อ ย่ า ง
ทั้งนี้เป็นไปได้ว่าการประเมินผลขอบข่ายสาระทั้งหมดของหลักสูตรจาเป็นต้องใช้วิธีการหลายวิธีหรือหลาย
ๆ
รูปแบบจึงจะได้ข้อมูลที่มีความเชื่อมั่นในการที่จะนาไปพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณค่าเหมาะสมกับความต้องกา
รของสังคม รูปแบบการประเมินมีดังนี้
9.1 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค (TheStake’s Congruence ContingencyModel)
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตคเป็นรูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ยึดเกณฑ์เป็นหลักสูตร
สเตคได้ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรว่า เป็นการบรรยายและการตัดสินคุณค่าของหลักสูตร
ซึ่งเน้นเรื่องการบรรยายสิ่งที่จะถูกประเมิน โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิในการตัดสินคุณค่า
ส เ ต ค มี จุ ด มุ่ง ห ม า ย ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร โ ด ย ก า ร ป ร ะ เ มิ น ดั ง นั้ น
สเตคจึงเสนอว่าควรมีการพิจารณาข้อมูลเพื่อประเมินผลหลักสูตร 3 ด้าน คือ
1. ด้านสิ่งที่มาก่อน หรือสภาพก่อนเริ่มโครงการ (Antecedent) หมายถึง สิ่งต่างๆ
ที่เอื้อให้เกิดผลจากหลักสูตรและเป็นสิ่งที่มีอยู่ก่อนการใช้หลักสูตรอยู่แล้วประกอบด้วย 7 หัวข้อ คือ
บุคลิกและนิสัยของนักเรียน บุคลิกและนิสัยครู
2. ด้านเนื้อหาในหลักสูตร วัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน อาคารสถานที่ การจัดโรงเรียน
ลักษณะของชุมชนขณะที่มีการเรียนการสอนระหว่างนักเรียนกับนักเรียน นักเรียนกับครู ครูกับผู้ปกครอง
ฯลฯ เป็ นขั้นของการใช้หลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย 5หัวข้อ คือ การสื่อสาร การจัดแบ่งเวลา
การลาดับเหตุการณ์ การให้กาลังใจ และบรรยากาศของสิ่งแวดล้อม
3. ด้านผลผลิต หรือผลที่ได้รับจากโครงการ (Outcomes) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตร
ประกอบด้วย 5 หัวข้อ คือ ผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียน ทัศนคติของนักเรียน ทักษะของนักเรียน
ผ ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ค รู
และผลที่เกิดขึ้นกับสถาบันซึ่งรูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตคแสดงให้เห็นเป็นตาราง 3 ดังนี้
ตาราง 3วิเคราะห์หลักสูตรของสเตค
เกณฑ์ในการวิเคราะห์หลักสูตร
ข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์หลักสูตร
ข้อมูลเชิงบรรยาย ข้อมูลเชิงตัดสิน
ผลที่คาดหวัง ผลที่เกิดขึ้น มาตรฐานที่ใช้ การตัดสินใจ
1. สภาพก่อนเริ่มโครงการ
- บุคลิกและนิสัยของนักเรียน
- บุคลิกและนิสัยของครู
- เนื้อหาในหลักสูตร
- อุปกรณ์การเรียนการสอน
- บริเวณโรงเรียน
- ชุมชน
2. กระบวนการในการเรียน
- การสื่อสาร
- เวลาที่จัดให้
- ลาดับของเหตุการณ์
- การให้กาลังใจ
- สภาพสังคมหรือบรรยากาศ
3. ผลที่ได้รับจากโครงการ
- ความสาเร็จของนักเรียน
- ทัศนคติของนักเรียน
- ทักษะของนักเรียน
- ผลที่ครูได้รับ
-ผลที่สถาบันได้รับ
จากแบบตัวอย่างของสเตคนี้จะเห็นว่าขั้นตอนในการประเมินผลหลักสูตรจะเป็นดังนี้ คือ
1. การตั้งเกณฑ์ในการวิเคราะห์หลักสูตร
สเตคได้เสนอหัวข้อของเกณฑ์ที่จะใช้ในการวิเคราะห์หลักสู ตรได้ 3 หัวข้อ คือ
เ รื่ อ ง เ กี่ ย ว กับ สิ่ ง ที่ มี ม า ก่อ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ส อ น แ ล ะ ผ ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น
เขาให้ความคิดเห็นว่าการประเมินจากผลที่ได้รับนั้นยังไม่พอที่จะประเมินว่าหลักสูตรนั้นดีหรือไม่เพียงใดเพ
ร า ะ ผ ล ที่ ไ ด้ นั้ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ อี ก ห ล า ย อ ย่ า ง เ ป็ น ต้ น ว่ า
หากผู้เรียนไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็มิได้หมายความว่าหลักสูตรนั้นเป็นหลักสูตรที่ไม่ดี
การที่ผู้เรียนไม่สามารถเรียนได้ตามที่ต้องการ อาจมาจากองค์ประกอบทางด้านเวลา เช่น
ให้เวลาแก่ผู้เรียนน้อยไปเวลาที่จัดให้ไม่เหมาะสม
ดั ง นั้ น
การที่จะช่วยดูแต่ผลที่ได้รับและนามาประเมินค่าหลักสูตรนั้นเป็นการไม่เพียงพอและอาจจะไม่สามารถช่วย
ชี้ ช่ อ ง ท า ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร นั้ น แ ต่ อ ย่ า ง ใ ด ด้ ว ย เ ห ตุ นี้
สเตคจึงได้เสนอว่าควรมีการพิจารณาข้อมูลเพื่อประเมินผลหลักสูตรถึง 3ด้านดังที่กล่าวมาแล้ว
2. การหาข้อมูลมาประกอบ
หลังจากที่ได้ตั้งเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อนามาเป็นแนวทางในการประเมินผลหลักสูตรแล้วผู้ประเมินผลห
ลักสูตรจะต้องทาการเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อนามาพิจารณาตามแบบตัวอย่างของสเตคแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
คือ
1. ส่วนที่เป็นการบรรยายหรือเรียกว่า “ข้อมูลเชิงบรรยาย” (Descriptive Data) ประกอบด้วยข้อมูล
2 ชนิดคือ
1.1 ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่คาดหวังของหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งที่มาก่อนกระบวนการเรี ยน
การสอน และผลผลิตของหลักสูตร
1. 2
ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติจริงซึ่งสังเกตได้หรือทดสอบได้เกี่ยวกับสิ่งที่มีก่อนกระบวนการเรี
ยนการสอน ผลผลิตของหลักสูตร
ผู้ประเมินจะต้องอธิบายความสัมพันธ์ (Contingency) ระหว่างสิ่งที่มาก่อน (Antecedents)
ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ( Transactions) แ ล ะ ผ ล ผ ลิ ต ( Outcomes)
ข อ ง ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ( Congruence)
ระหว่างสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือไม่อย่างไรจากการพิจารณาข้อมูลในลักษณะแนวตั้งและแนว
นอนนี้ สรุปเป็นแผนภูมิเกี่ยวกับการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์และความสอดคล้องของหลักสู ตร
ดังภาพประกอบ 30 ต่อไปนี้
ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่คาดหวัง ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น
ความสอดคล้อง
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์
ความสอดคล้อง
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์
ความสอดคล้อง
ภ า พ ป ร ะ ก อ บ 31
แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยายเพื่อหาความสัมพันธ์และความสอดคล้องของหลักสูตร
2. ส่วนที่เป็นการพิจารณาตัดสินคุณค่าของหลักสูตร หรือที่เรียกว่า “ข้อมูลเชิงตัดสิน”
(Judgemental Data) ประกอบด้วยข้อมูล 2 ชนิด คือ
2.1 ข้อมูลที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน (Standards) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ เช่นครู
ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง ฯลฯ เชื่อว่าควรจะใช้
2. 2 ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ก า ร ตั ด สิ น ข อ ง บุ ค ค ล ต่ า ง ๆ
ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า มรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ตัด สิ น คุณ ภ า พ แ ล ะ ค ว า มเ ห มา ะ ส มข อ ง บุ ค ค ล ต่า ง ๆ
ผู้ประเมินจะต้องตัดสินคูณค่าของหลักสูตรโดยใช้ข้อมูลที่เป็นเกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลที่เป็นการตัดสินขอ
งบุคคลต่างๆ มาประกอบการพิจารณาตัดสินว่าหลักสูตรมีส่วนใดดีหรือส่วนใดไม่ดี
3. วิธีการใช้ตารางในการประเมินผลของหลักสูตร
เริ่มต้นด้วยการพิจารณาข้อมูลทั้ง 4 หมวด ตามเกณฑ์ที่ตั้งขึ้น เช่น จากตารางแบบตัวอย่างของ
สเ ตค จะ เ ริ่ มที่ ข้อ ก. ด้าน สิ่ ง ที่ มีม า ก่อน ข้อ ก.1 บุคลิกและ นิ สั ย ข อง นั ก เ รี ย น
เ ร า ก็ จ ะ พิ จ า ร ณ า ว่า ผ ล ที่ ค า ด ห วัง ห รื อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ด้ า น นี้ คื อ อ ะ ไ ร
และนามาเปรียบเทียบกับผลที่เกิดขึ้นว่าตรงหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด
สิ่งที่มีมาก่อน สิ่งที่มีก่อน
ก่อนก่อน
กระบวนการเ
รียนการสอน
กระบวนการเ
รียนการสอน
ผลผลิต ผลผลิต
และผลที่เกิดขึ้นนั้นใช้มาตรฐานอะไรวัดและถืออะไรเป็นหลักในการตัดสินยกตัวอย่าง เช่น
ในเรื่องของบุคลิกและนิสัยของนักเรียน
ผลที่คาดหวัง : ต้องการนักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นากล้าซักถามโต้ตอบและโต้แย้ง
ผ ล ที่ เ กิด ขึ้ น : ไ ด้นั ก เ รี ย น ที่ มี ลัก ษ ณ ะ ค ว า ม เ ป็ น ผู้ น า ป ร ะ ม า ณ 20%
และได้นักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นาตาม 80%
มา ต ร ฐ า น ที่ ใ ช้ : ค ว ร แ ล ะ นั ก บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ ห็ น ว่า นั ก เ รี ย น 1 0 0 %
ควรมีทั้งลักษณะความเป็นผู้นาและผู้ตามอยู่ในตัว
ที่มาของหลักสูตรการตัดสิน :สังคมประชาธิปไตย
จ า ก ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ เ ก ณ ฑ์ ข้อ มูล ใ น ห มว ด ต่า ง ๆ ใ น ลัก ษ ณ ะ ข้า ง ต้น
ผู้ประเมินจะสามารถเห็นว่าหลักสูตรนั้นมีความสอดคล้องกันหรือไม่ในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ
น อ ก จ า ก นั้ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ข้ อ มู ล ต า ม แ น ว ตั้ ง
ผู้ประ เ มิน นั้ น จะ พ บว่าห ลักสู ตรนั้ น มีความสัมพัน ธ์ ใ น ตัวกัน ห รื อไม่ ตัวอย่าง เ ช่น
ในเรื่องบุคลิกและนิสัยของนักเรียน
ผลที่คาดหวัง
นักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นา
ผลที่เกิดขึ้น
ได้นักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นา 20%
และมีลักษณะความเป็นผู้ตาม 80%
ผลที่คาดหวัง
การสอนที่มีลักษณะเป็น The way
Communication
ผลที่เกิดขึ้น
ครูส่วนใหญ่สอนโดยใช้ One way
Communication
และในเรื่องของกระบวนการในการสอนหรือสื่อสารข้อมูลสื่อสารปรากฏว่า
ภาพประกอบ 32 แสดงความสัมพันธ์ในการประเมินหลักสูตร
ใ น ลัก ษ ณ ะ เ ช่น นี้ ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ข้อ มูล ต า ม แ น ว ตั้ ง ข อ ง ห ลัก ลู ก ศ ร
ผู้ประเมินหลักสูตรจะสามารถตรวจสอบได้ทันทีว่าการจัดการทั้ง 3ด้าน คือ ด้านสิ่งที่มีมาก่อน
กระบวนการในการสอน และผลที่เกิดขึ้นนั้นมีความสัมพันธ์กันถูกต้องหรือไม่
การวิเคราะห์ถึงความสอดคล้องกับความสัมพันธ์กันของหลักสูตรนี้จะเป็นแนวทางชี้ให้เห็นถึงข้อ
บกพร่องต่างๆ ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการปรับปรุงหลักสูตรเป็นอันมาก
9.2 รูปแบบของการประเมินหลักสูตรของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam)
แ ด เ นี ย ล แ อ ล ส ตั ฟ เ ฟิ ล บี ม ( Daniel L. Stufflebeam)
ได้อธิบายความหมายของการประเมินผลทางการศึกษาเอาไว้ว่าเป็นกระบวนการการบรรยายการหาข้อมูล
แ ล ะ ก า ร ใ ห้ ข้ อ มู ล เ พื่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ห า ท า ง เ ลื อ ก
ฉะนั้นรูปแบบการประเมินผลหลักสูตรตามแนวคิดขอลสตัฟเฟิลบีมจึงเป็นรูปแบบเหมาะสมแก่การช่วยตัด
สินใจเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด
ตามปกติสถานการณ์ในการตัดสินใจ (Decision Settingt) โดยทั่วไปจะประกอบด้วยมิติที่สาคัญ 2
ประการ คือ
1. มิติด้านข้อมูลที่มีอยู่ (Information Grasp) คือถ้าเราจะตัดสินใจทาอะไรสักอย่าง
เราจาเป็นต้องคานึงว่าเรามีข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้นอยู่มากน้อยเพียงใด
2. มิติด้าน ปริ มาณความเ ปลี่ยน แป ลง ที่ต้อง การใ ห้เ กิดขึ้ น ( Degree of Cange)
คื อ ค ว า ม ห ม า ย ว่ า ถ้ า เ ร า จ ะ ตั ด สิ น ใ จ ท า อ ะ ไ ร สั ก อ ย่ า ง ห นึ่ ง
เราต้องคานึงว่าเมื่อทาไปแล้วจะเกิดการเปลี่ยนแปลงจากเดิมมากน้อยสักแค่ไหน
จากรูปแบบการประเมินผลหลักสูตรตามแนวคิดของสตัฟเฟิลบีมแสดงให้เห็นว่า
1. ส ถ า น ก า ร ณ์ ตัด สิ น ใ จ ที่ ต้อ ง ก า ร ใ ห้ มีก า รเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ พีย ง เ ล็กน้อย
แต่ทว่าข้อมูลที่จะช่วยให้การตัดสินใจนั้นมีอยู่มากสถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Homeostatic
2.
สถานการณ์ตัดสินใจที่ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยและข้อมูลที่จะช่วยในการตัดสินใจก็มีอยู่
น้อย สถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Incremental
3. ส ถ า น ก า ร ณ์ ตัด สิ น ใ จ ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ม า ก
แต่ว่าข้อมูลที่จะช่วยในการตัดสินใจมีอยู่น้อย สถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Neomobilistic
4. ส ถ า น ก า ร ณ์ ตัด สิ น ใ จ ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ม า ก
และข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจก็มีอยู่มาก สถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Metamorphism
จ า ก ที่ ก ล่ า ว ม า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า
การตัดสินใจนั้นไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์แบบใดก็ตามก็จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลเชิงประมาณ (Evaluation
Data) ม า ช่ ว ย เ ป็ น พื้ น ฐ า น เ พ ร า ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ ด ๆ
ของผู้บริหารที่ไม่ใช่ข้อมูลเชิงประมาณมาเป็นพื้นฐานในการหาทางเลือกย่อมเสี่ยงต่อความล้มเหลวใ นการ
ดาเนินงานตามทางเลือกนั้นอย่างมาก
ส่ ว น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ท า ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ นั้ น
ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องจะจัดเนื้อหาวิชาในหลักสูตรอย่างไรจะจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีไหน
จ ะ ใ ช้ สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น อ ะ ไ ร จ ะ จั ด กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ห ลั ก สู ต ร อ ะ ไ ร
ถ้าพิจารณาใ น แง่ของ วิธี การกับผลที่เกิดขึ้ น และสิ่ งที่คาดห วัง กับสิ่ งที่จะ เกิดขึ้ นจริง
เราอาจจาแนกการตัดสินใจออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
ภาพประกอบ 33 แสดงประเภทและความสัมพันธ์ Stufflebeam
ต่อสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่เป็นจริง
1. Planning Decisions
เ ป็ น การตัดสิ น ใ จโ ด ย ค า ดห วัง ว่าเ รา ต้อง ก ารใ ห้เ กิด ผ ล ทาง ก าร ศึ ก ษ าอ ย่า ง ไ ร
เช่นหลังจากที่นักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ไปแล้วนักเรียนควรจะมีคุณสมบัติที่เด่นๆ อย่างไรบ้าง
ฉะนั้นการตัดสินใจชนิดนี้จึงนามาเป็นประโยชน์ในการกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรหรือในการวางแผ
นจัดการศึกษาได้เป็นอย่างดี จึงเรียกการตัดสินใจอย่างนี้ว่าการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผน
2. Structuring Decisions
เป็นการตัดสินใจโดยคาดหวังว่าถ้าต้องการให้เกิดผลทางการศึกษาตามที่คาดหวังไว้ในข้อ 1
นั้นเราควรจะวางโครงสร้างหรือวางรูปแบบของการใช้หลักสูตรที่พึ่งประสงค์เอาไว้อย่างไรเช่น
ถ้ า จ ะ ใ ห้ นั ก เ รี ย น มี คุ ณ ส ม บั ติ ต ร ง ต า ม ที่ ค า ด ห วั ง เ อ า ไ ว้ นั้ น
(1)
การตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผน
Planning
(4)
การตัดสินใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่พึง
ประสงค์ (Recyccling)
(2)
การตัดสินใจเกี่ยวกับโครงสร้าง
(Structuring)
(3)
การตัดสินเกี่ยวกับการนาไปใช้
(Implementing)
สิ่งที่คาดหวัง สิ่งที่เป็นจริง
ผลที่เกิดขึ้น
วิธีการ
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10
บทที่ 10

More Related Content

Similar to บทที่ 10

10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
gam030
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
teerayut123
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
wanneemayss
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
poppai041507094142
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
wanichaya kingchaikerd
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
nattapong147
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
fernfielook
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
benty2443
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
Theerayut Ponman
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
wanitchaya001
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
nattawad147
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
Dook dik
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
katay sineenart
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
parkpoom11z
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
Piyapong Chaichana
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Similar to บทที่ 10 (20)

10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 

More from kanwan0429

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
kanwan0429
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
kanwan0429
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
kanwan0429
 

More from kanwan0429 (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

Recently uploaded

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (6)

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

บทที่ 10

  • 1. บทที่ 10 การประเมินหลักสูตร มโนทัศน์(Concept) ในการทางานหรือการประกอบกิจการใดก็ตามจะมีขั้นตอนในการดาเนินงานขั้นตอนหนึ่งซึ่งจะข าดเสียมิได้คือการประเมินผล (Evaluation) เพื่อให้ทราบว่าการทางานหรือประกอบกิจกรรมนั้นๆ ได้ผลตามความมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่เพียงใดมีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรบ้างเพื่อที่จะดาเนินการแก้ไข ปรับปรุงพัฒนาต่อไปในทางการศึกษาก็เช่นกันการที่จะทราบว่าการจัดการศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนด ไ ว้เ พี ย ง ใ ด นั้ น ส่ ว น ห นึ่ ง ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ไ ด้ คื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร การประเมินผลหลักสูตรเป็นเครื่องมือชี้ให้เห็นว่าการกาหนดหลักสูตรไปใช้จะได้ผลมากน้อยเพียงใดเพราะ ฉะนั้นการประเมินหลักสูตรจึงเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตรและผล ที่ได้จากการประเมินหลักสูตรจะเป็นข้อมูลในการตัดสินเพื่อแก้ไขปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร เรื่อง การประเมินหลักสูตร 2. สามารถให้คาแนะนาในการประสานตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประเมินหลักสูตร สาระเนื้อหา(Content) การประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรเป็นขั้นตอนในการศึกษาคุณค่าของว่าดีหรือไม่อย่างไรบกพร่องในส่วนไห นเพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรในโอกาสต่อไปการประเมินหลักสูตรนั้นมีขอบเขตและระยะก ารประเมินแตกต่างกันออกไปแล้วแต่จุดประสงค์ของการประเมินเช่นการประเมินเอกสารหลักสูตรในระ ยะ ก่อนนาหลักสูตรไปใช้การประเมินการใช้หลักสูตรในขณะที่ดาเนินการใช้หลักสูตรหรือประเมินสัมฤทธิผล ของหลักสูตรและประเมินระบบหลักสูตรหลังจากการใช้หลักสูตรแล้วการประเมินผลหลักสูตรนั้นต้องกาห นดลงไปให้แน่ชัดว่าต้องการประเมินอะไรข้อมูลที่นามาประเมินต้องเชื่อถือได้การวิเคราะห์ผลการประเมิน ต้องทาอย่างรอบคอบ การประเมินหลักสูตรต้องทาเป็นกระบวนการตามลาดับขั้นตอนตั้งแต่กาหนดวัตถุประสงค์ของกา รประเมินวางแผนและออกแบบการประเมินรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลรายงานและสรุปผลการประเมินเ
  • 2. พื่อที่จะนาผลที่ได้จากการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรในโอกาสต่อไปจากขั้นตอนการประเมินนักศึ กษาได้พัฒนารูปแบบการประเมินไว้หลายรูปแบบเป็นต้นว่ารูปแบบการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ๆ ซึ่งเป็นการประเมินผลก่อนการนาหลักสูตรไปใช้เช่นรูปแบบการประเมินหลักสูตรด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ แบบปุยแซงค์หรือรูปแบบการประเมินหลักสู ตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตรเ ช่น รู ปแบบการ ป ระ เ มิน ห ลัก สู ต รข อง ไทเ ล อร์ , สเ ตค, สตัฟ เ ฟิ ลบีมหรื อ ด อริ ส โ ก ว์ แต่ละรูปแบบแม้จะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปเราก็สามารถนาแนวคิดในการประเมินหลักสูตรมาประยุกต์ เป็นรูปแบบการประเมินหลักสูตรที่เหมาะสมกับสิ่งที่เราต้องการจะประเมินนั้นๆ ได้ 1. ความหมายของการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศตลอดจนกิจกรรมต่างๆเกี่ยวกับ หลักสูตรเพื่อนามาตัดสินค่าหรือคุณภาพของหลักสูตรนั้นนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการ ประเมินหลักสูตรไว้ต่างๆ กันดังนี้คือ กู๊ ด ( Good, 1945 : 209) ได้ให้ความหมายไว้ว่าการประเมินหลักสูตรคือการประเมินผลของกิจกรรมการเรียนภายในขอบข่ายของการ สอนที่เน้นเฉพาะจุดประสงค์ของการตัดสินใจในความถูกต้องของจุดมุ่งหมายความสัมพันธ์และความต่อเนื่ องของเนื้อหาและผลสัมฤทธิ์ของวัตถุประสงค์เฉพาะซึ่งนาไปสู่การตัดสินใจในการวางแผนการจัดโครงการ ต่อเนื่องและการหมุนเวียนของกิจกรรมโครงการต่างๆ ที่จะจัดให้มีขึ้น ลี ค ร อ น บ า ช ( Lee J. Cronbach, 1970: 231) ให้ความหมายว่าการประเมินหลักสูตรคือการรวบรวมข้อมูลและการใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจในเรื่องโปรแกร มหรือหลักสูตรการศึกษา ส ตั ฟ เ ฟิ ล บี ม แ ล ะ ค ณ ะ ( Stufflebeam Daniel L. et. , 1971: 128) ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรว่าการประเมินหลักสูตรคือกระบวนการหาข้อมูลเก็บข้อมูลเพื่อนาไ ปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจหาทางเลือกที่ดีกว่าเดิม วิ ชั ย ว ง ษ์ ใ ห ญ่ ( 2521 : 192) ให้ความหมายของประเมินหลักสูตรไว้ว่าการประเมินหลักสูตรเป็นการพิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตร โ ด ย ใ ช้ ผ ล จ า ก ก า ร วั ด ใ น แ ง่ มุ ม ต่ า ง ๆ ของสิ่งที่ประเมินเพื่อนามาพิจารณาร่วมกันและสรุปว่าจะให้คุณค่าของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมานั้นว่าอย่างไร มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใดหรือได้ผลตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดหรือไม่มีส่วนใดที่จะต้องปรับปรุงแก้ไข สุ จ ริ ต เ พี ย ร ช อ บ ( 2548 : 64) กล่าวถึงการประเมินหลักสูตรไว้ว่าเป็นกระบวนการที่สาคัญเพราะเป็นการหาคาตอบว่าหลักสูตรสัมฤทธิ์ ผล ตามที่ได้ตั้งจุดมุ่งหมายไว้หรือไม่มากน้อยเพียงใดอะไรเป็นสาเหตุผู้ประเมินหลักสูตรจะต้องเป็นผู้ที่มีความ
  • 3. รู้ดีทั้งทางด้านหลักสูตรและด้านการประเมินผลซึ่งจะต้องเน้นการประเมินทั้งโปรแกรมการศึกษามิใช่แต่เพีย งผลการเรียนปีสุดท้ายเท่านั้นแต่ควรประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนด้วย จากความหมายของการประเมินหลักสูตรที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าการประเมินหลักสูตรคือกระ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ตั ด สิ น คุ ณ ค่า ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ว่า ห ลั ก สู ต ร นั้ น ๆ มีประสิทธิภาพแค่ไหนเมื่อนาไปใช้แล้วบรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่มีอะไรที่ต้องแก้ไขเพื่อนาผลที่ ได้มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจหาทางเลือกที่ดีกว่าต่อไป 2. จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร กระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องและมีขอบเขตที่กว้างขวางการประเมินห ลักสูตรจะต้องครอบคลุมขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตรเพราะฉะนั้นการประเมินหลักสูตรจึงมีขอบเขตขอ งการประเมินที่กว้างขวางด้วยการประเมินหลักสูตรแต่ละจุดแต่ละขั้นตอนมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกันไปในร ายละเอียดแต่โดยทั่วไปแล้วจุดมุ่งหมายใหญ่ของการประเมินหลักสูตรจะมีความใกล้เคียงกันจะขอยกตัวอย่า งจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรที่นักศึกษาได้กล่าวไว้ดังนี้ ทาบา (Taba, 1962:310) ได้กล่าวไว้ว่าการประเมินหลักสูตรกระทาขึ้นเพื่อศึกษากระบวนการต่างๆ ที่กาหนดไว้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่สอดคล้องหรือขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของการศึกษาการประเมินดั ง ก ล่า ว จ ะ ค ร อ บ ค ลุ ม เ นื้ อ ห า ทั้ ง ห ม ด ข อ ง ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งได้แก่จุดประสงค์ขอบเขตของเนื้อหาสาระคุณภาพของผู้ใช้บริหารและผู้ใช้หลักสูตรสมรรถภา พของผู้เรียนความสัมพันธ์ของวิชาต่างๆ การใช้สื่อและวัสดุการสอน ฯลฯ วิชัย วง ษ์ใ หญ่ ( 2537 : 218- 219) กล่าวว่ากา รป ระ เ มิน ห ลักสู ต รโ ด ย ทั่ ว ๆ ไปจะมีจุดมุ่งหมายดังนี้เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตรโดยตรวจสอบดูว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมานั้นสามารถบร รลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่เพื่อวัดผลดูว่าการวางเค้าโครงและรูปแบบระบบของหลักสูตรรวมทั้งวัสดุประก อบหลักสูตรและการบริหารและบริการหลักสูตรเป็นไปในทางที่ถูกต้องแล้วหรื อไม่การประเมินหลักสูตรจา กผู้เรียนเองหรือการประเมินผลผลิตเพื่อตรวจสอบดูว่าลักษณะที่พึงประสงค์เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลัก สูตรหรือไม่เพียงใด ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539: 192 – 193) กล่าวว่าโดยทั่วไปการประเมินหลักสูตรใดๆ ก็ตามจะมีจุดมุ่งหมายสาคัญที่คล้ายคลึงกันดังนี้คือเพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบในองค์ประกอ บ ต่ า ง ๆ ของหลักสูตรเพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตรการนิเทศกากับดูแลการจัดกระบวนการเรี ยนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือค วรยกเลิกการใช้หลักสูตรเพียงบางส่วนหรือยกเลิกทั้งหมดเพื่อต้องการทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิ ตของหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามความมุ่งหวังของหลักสูตรหลักจากผ่านกระบวนการท างการศึกษามาแล้วหรือไม่อย่างไรจากจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรข้างต้นพอสรุปได้ว่าการประเมิ
  • 4. นผลหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายดังนี้เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตรนั้นโดยดูว่าหลักสูตรที่จัดทาขึ้นนั้นสามารถสนอง วัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่หลักสูตรนั้นต้องการหรือไม่สนองความต้องการของผู้เรียนและสังคมอย่างไร เพื่ออธิบายและพิจารณาว่าลักษณะ ของ ส่วน ประ กอบต่าง ๆ ของหลักสู ตรในแง่ต่าง ๆ เช่นหลักการจุดมุ่งหมายเนื้อหาสาระการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอนและการวัดผ ลว่าสอดคล้องต้องกันหรือไม่หรือสนองความต้องการหรือไม่เพื่อตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่เหมา ะสมหรือไม่เหมาะสมกับการนาไปใช้มีข้อบกพร่องที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขอะไรบ้างการประเมินผลในลักษ ณะนี้มักจะดาเนินไปในช่วงที่การพัฒนาหลักสูตรยังคงดาเนินการอยู่เพื่อที่จะพิจารณาว่าองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรเช่นจุดหมายโครงสร้างเนื้อหาการวัดผลฯลฯมีความสอดคล้องและเหมาะสมหรือไม่สามารถ นามาปฏิบัติในช่วงการนาหลักสูตรไปทดลองใช้หรือในขณะที่การใช้หลักสูตรและกระบวนการเรียนการส อนกาลังดาเนินอยู่ได้มากน้อยเพียงใดได้ผลเพียงใดและมีปัญหาอุปสรรคอะไรจะได้เป็นประโยชน์แก่นักพั ฒนาหลักสูตรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอง ค์ประกอบ ต่าง ๆ ของหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นได้ทันท่วงทีเพื่อตัดสินว่าการบริหารงานด้านวิชาการและบริหารงานด้านหลั กสูตรเป็นไปในทางที่ถูกต้องหรือไม่เพื่อหาทางแก้ไขระบบการบริหารหลักสูตรการนาหลักสูตรไปใช้ให้มี ประสิทธิภาพเพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตรคือผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากการผ่านกระบ วนการทางการศึกษามาแล้วตามหลักสูตรว่าเป็นไปตามมุ่งหวังหรือไม่เพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่อง ที่ พ บ ใ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ ในหลักสูตรเพื่อช่วยในการตัดสินว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปหรือควรปรับปรุงพัฒนาในสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือยกเ ลิกใช้หลักสูตรนั้นหมดการประเมินผลในลักษณะนี้จะดาเนินการหลังจากที่ใช้หลักสูตรไปแล้วระยะหนึ่งแล้ วจึงประเมินเพื่อสรุปผลตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่บรรลุตามเป้าหมายที่หลักสูตรกาหนดไว้มากน้ อยเพียงใดสนองความต้องการของสังคมเพียงใดและเหมาะสมกับการนาไปใช้ต่อไปหรือไม่จากจุดมุ่งหมาย ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร ต่ า ง ๆ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ที่ได้จากการประเมินจะเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงคุณภาพการศึกษาของสังคมซึ่งจะมีผลกระทบต่อคุณภาพของประ ชากรในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไปดังนั้นการประเมินผลหลักสูตรซึ่งมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ไ ม่ น้ อ ย ไ ป ก ว่ า ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส่ ว น อื่ น ๆ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้ควรจะต้องหาวิธีการที่ดีที่สุดในการที่ประเมินผลหลักสูตรเพื่อที่จะให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องชัดเจนและจะต้องปฏิบัติให้ครบถ้วนตามขั้นตอนของวิธีการต่างๆ ที่นามาใช้ 3. ระยะของการประเมินหลักสูตร ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ค ว ร มี ก า ร ด า เ นิ น เ ป็ น ร ะ ย ะ ๆ ทั้งนี้เนื่องจากข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดของหลักสูตรอาจมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยและในระยะต่างกันเ ช่ น อ า จ มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก ต อ น จั ด ท า ห รื อ ยกร่างหลักสูตรซึ่งทาให้ตัวหลักสูตรไม่มีคุณภาพที่ดีหรือไม่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้เรีย
  • 5. นและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปหรืออาจมีสาเหตุมาจากตอนนาหลักสูตรไปใช้เป็นต้นการประเมินหลักสูตรที่ ดีจึงต้องตรวจสอบเป็นระยะเพื่อลดปัญหาที่อาจเกิดขึ้นโดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 การประเมินหลักสูตรก่อนนาหลักสูตรไปใช้ (Project Analysis) ในช่วงระหว่างที่มีการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรอาจมีการดาเนินการตรวจสอบทุกขั้นตอนของกา รจัดทานับแต่การกาหนดจุดมุ่งหมายไปจนถึงการกาหนดการวัดและประเมินผลการเรียนซึ่งสามารถทาได้ 2 ลักษณะคือ 1. ประเมินหลักสูตรเมื่อสร้างหลักสูตรฉบับร่างเสร็จแล้วก่อนจะนาหลักสูตรไปใช้จริงควรมีการประเมินตรวจ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ฉ บั บ ร่ า ง แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ต่ า ง ๆ ของหลักสูตรการประเมินหลักสูตรในระยะนี้ต้องอาศัยความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านพัฒนาหลักสูตร ทางด้านวิชาชีพครูทางด้านการวัดผลหรือจะให้ผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์หรือพิจารณาก็ได้ 2. ประเมินผลในขั้นตอนทดลองใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขส่วนที่ขาดตกบกพร่องหรือเป็นปัญหาให้มีความสมบูรณ์ เพื่อประสิทธิภาพในการนาไปใช้ต่อไปเช่นหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2521มีการทดลองใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2519 และ 2520 เพื่อหาข้อบกพร่องอุปสรรคจะได้แก้ไขให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป ระยะที่ 2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดาเนินการใช้หลักสูตร (Formative Evaluation) ในขณะที่มีการดาเนินการใช้หลักสูตรที่จัดทาขึ้นควรมีการประเมินเพื่อตรวจสอบว่าหลักสูตรสาม ารถนาไปใช้ได้ดีเพียงใดหรือบกพร่องในจุดไหนจะได้แก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมเช่นประเมินกระบวนการ ใช้หลักสูตรในด้านการบริหารการจัดการหลักสูตรการนิเทศกากับดูแลและการจัดกระบวนการเรียนการสอ น ระยะที่ 3 การประเมินหลักสูตรหลังการใช้หลักสูตร (SummativeEvaluation) หลังจากที่มีการใช้หลักสูตรมาแล้วระยะหนึ่งคือครบกระบวนการเรียบร้อยแล้วควรจะประเมินหลั ก สู ต ร ทั้ ง ร ะ บ บ ซึ่ ง ไ ด้ แ ก่ ก า ร ป ร ะ เ มิ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ด้ า น ต่ า ง ๆ ของหลักสูตรทั้งหมดคือเอกสารหลักสูตรวัสดุหลักสูตรบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรการบริหารห ลั ก สู ต ร ก า ร นิ เ ท ศ ก า กับ ติ ด ต า ม ก า ร จั ด ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ฯ ล ฯ เพื่อสรุปผลตัดสินว่าหลักสูตรที่จัดทาขึ้นนั้นควรจะดาเนินการใช้ต่อไปหรือควรปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นหรือ ควรจะยกเลิกเช่นหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 มีช่วงระยะการใช้งาน 6 ปีเมื่อครบ 6 ปีแล้วจะมีการประเมินผลหลักสูตรรวบยอดทั้งหมดโดยนาข้อมูลตั้งแต่ระยะที่ 1 จนถึงระยะที่ 2 มารวบรวมวิเคราะห์และประเมินคุณค่าทั้งนี้อาจจะต้องอาศัยข้อมูลที่สาคัญอีกบางข้อมูลเช่นผลสัมฤทธิ์ ทาง การศึกษาของผู้เรียนซึ่งได้แก่การนาไปใช้ในการดารงชีวิตการประกอบอาชีพเข้ามาประกอบการวิเคราะห์แ ละประเมินค่าด้วย
  • 6. 4. ขอบเขตในการประเมินหลักสูตร การประเมินผลหลักสูตรเป็นงานที่มีความซับซ้อนมีความกว้างขวางและมีความละเอียดอ่อนมากก ารประเมินผลหลักสูตรต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างที่จะต้องนาเข้ามาเกี่ยวข้องในลักษณะที่มีความสัมพันธ์ ต่อกันการประเมินผลหลักสูตรมิได้หมายความว่าจะประเมินเฉพาะตัวหลักสูตรที่เป็นเอกสารจัดทาเป็นรูปเล่ ม เ ท่ า นั้ น แ ต่ ต้ อ ง ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ต่ า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรทั้งหมดเช่นนักเรียนครูกระบวนการระบบต่างๆ โครงการต่างๆ ฯลฯ ข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการประเมินผลสภาพการณ์ดังกล่าวจะเป็นตัวชี้ได้ว่าหลักสูตรที่ใช้อยู่เป็นอย่างไร จากแนวคิดดังกล่าวนักการศึกษาได้พยายามจัดรวบรวมสภาพการณ์ขั้นตอนต่างๆ จัดเป็นหมวดหมู่หรือกาหนดขอบข่ายให้ชัดเจนขึ้นเพื่อสะดวกในการที่จะดาเนินการประเมินผลนักการศึกษ าได้เสนอขอบข่ายของการประเมินผลไว้ดังนี้ โบแชมป์ (Beauchamp. 1975:177) ได้กาหนดขอบข่ายการประเมินหลักสูตรไว้ว่าควรประเมิน 4 ด้านคือ 1 .ประเมินผลการใช้หลักสูตร (Evaluation of Teacher use of the Curriculum) 2. ประเมินผลรูปแบบของหลักสูตร (Evaluation of theDesign) 3. ประเมินผลการเรียนของนักเรียน (Evaluation of Pupil Outcomes) 4. ประเมินผลระดับหลักสูตร (Evaluation of Curriculum System) เ ซ เ ล อ ร์ แ ล ะ อ เ ล็ ก ซ า น เ ด อ ร์ ( Saylor and Alexander, 1981: 265) ได้กล่าวถึงขอบเขตของการประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้ 1 . การประเมินจุดมุ่งหมายของโรงเรียนจุดมุ่งหมายของหลักสูตรจุดมุ่งหมายเฉพาะวิชาและจุดมุ่งหมายในการ สอน เ พื่อจะ ดูว่าจุดมุ่ง ห มายเ ห ล่านั้ น เ ห มาะสมกับตัวผู้เ รี ยน สภ าพ แวดล้อมห รื อไม่ มีความเที่ยงตรงและครอบคลุมเพียงใด 2 . การประเมินผลโครงการการศึกษาของโรงเรียนทั้งหมดเช่นการเตรียมพร้อมของโรงเรียนการดาเนินงานของ กลุ่มโรงเรียนงบประมาณการเงินการแนะแนวห้องสมุดดูว่าการดาเนินง านโครงการต่างๆ ได้ดาเนินการไปอย่างไรและมีประสิทธิภาพเพียงใด 3. การประเมินผลการเลือกเนื้อหาและการจัดประสบการณ์เรียนและกิจกรรมต่างๆ ว่าเหมาะสมเพียงใด 4 . การประเมินผลการสอบเพื่อดูว่าการสอนของครูดาเนินไปโดยยึดตัวหลักสูตรหรือไม่การสอนได้เปลี่ยนแปล งพฤติกรรมของผู้เรียนไปตามที่ต้องการหรือไม่เพราะผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนคือผลสัมฤท ธิ์ในการสอนของครู
  • 7. 5 . การประเมินผลโครงการประเมินผลเพื่อป้องกันการผิดพลาดซึ่งจะทาให้การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูต รผิดพลาดไปด้วย สุ มิ ต ร คุ ณ า นุ ก ร ( 2520: 198 – 202) ได้แสดงความคิดเห็นว่าการประเมินผลเพื่อตัดสินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรนั้นควรมีขอบเขตอยู่ 4 ประการคือ 1. การวิเคราะห์ตัวหลักสูตร 2. การวิเคราะห์กระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ 3. การวิเคราะห์สัมฤทธิ์ผลการเรียนของเด็ก 4. การวิเคราะห์โครงการประเมินผล ใ จ ทิ พ ย์ เ ชื้ อ รั ต น พ ง ษ์ ( 2539 : 195 – 197) กล่าวว่าในการประเมินหลักสูตรนั้นสิ่งที่ต้องประเมินสามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. การประเมินเอกสารหลักสูตรเป็นการตรวจสอบคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตร 2 . การประเมินการใช้หลักสูตรเป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนาไปใช้กับสถานการณ์จริงเพียงใด 3. การประเมินสัมฤทธิ์ผลของหลักสูตรเป็นการตรวจสอบสัมฤทธิ์ผลของผู้เรียน 4. การประเมินระบบหลักสูตร สันต์ ธรรมบารุง (2527:141-142) ได้กาหนดขอบเขตการประเมินผลหลักสูตรไว้ดังนี้ 1. ประเมินหลักสูตรความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2. ประเมินโครงการทั้งหมดของโรงเรียน 3. ประเมินโครงการเฉพาะส่วน 4. ประเมินการเรียนการสอน 5. ประเมินโครงการ การประเมินผล 6. ประเมินโครงการความสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนถึงการสอนด้วย 7. ประเมินโครงการของผู้เรียนจบออกไปว่าหางานทาได้หรือไม่ จากขอบเ ข ต กา ร ประ เ มิน ผล ห ลัก สู ต ร ที่ย ก มาเ ป็ น ตัว อ ย่าง จะ เ ห็ น ไ ด้ ว่า การประเมินหลักสูตรนั้นสามารถทาการประเมินได้ในขอบเขตที่แตกต่างกันอาจจะเป็นการประเมินในขอบเ ขตที่แคบ เช่น การประเมินจุดมุ่งหมายของหลักสูตร หรือการประเมินในขอบเขตที่กว้าง เช่น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ทั้ ง ร ะ บ บ ซึ่งขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการประเมินหรือสิ่งที่เราต้องการตรวจสอบและระยะของการประเมินดังกล่าวม าแล้ว
  • 8. 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินหลักสูตร เนื่องจากการประเมินหลักสูตรเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนมาก ผู้ทาหน้าที่ประเมินผล จาเป็นต้องยึดหลักการที่สาคัญในการประเมินผลเพื่อที่จะทาให้การประเมินผลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลจากการประเมินหลักสูตรที่มีคุณค่าเพียงพอที่จะนาไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรได้จริง เ ป็ น ข้ อ มู ล ห รื อ ห ลั ก ฐ า น ที่ เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ สู ง มีความเที่ยงตรงเราจะพบว่าในการประเมินหลักสูตรผลจากการประเมินผลหลายต่อหลายเรื่องมิได้ถูกนาไป ใช้ก็ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทั้งๆ ที่การประเมินผลหลักสูตรแต่ละครั้งเป็นงานใหญ่ต้องลงทุนลงแรงสูง เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิน ห ลัก สู ต ร เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิน ที่ มี คุ ณ ค่า เราจึงมีหลักเกณฑ์ที่จะช่วยในการประเมินดังนี้ 1. มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ที่ แ น่ น อ น การประเมินผลหลักสูตรจะต้องกาหนดลงไปให้แน่นอนชัดเจนว่าประเมินอะไร 2. มีการวัดที่เชื่อถือได้ โดยมีเครื่องมือและเกณฑ์การวัดซึ่งเป็นที่ยอมรับ 3. ข้ อ มู ล เ ป็ น จ ริ ง จ า เ ป็ น อ ย่า ง ยิ่ ง ส า ห รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ดั ง นั้ น ข้อมูลจะต้องได้มาอย่างถูกต้องเชื่อถือได้และมากพอที่จะใช้เป็นตัวประเมินค่าหลักสูตรได้ 4. มีขอบเขตที่แน่นอนชัดเจนว่าเราต้องการประเมินในเรื่องใดแค่ไหน 5. ประเด็นของเรื่องที่จะประเมินอยู่ในช่วงเวลาของความสนใจ 6. ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ม า เ พื่ อ ก า ห น ด ก ฎ เ ก ณ ฑ์ และกาหนดเครื่องมือในการประเมินผลจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ 7. การวิเคราะห์ผลการปะเมินต้องทาอย่างระมัดระวังรอบคอบ และให้มีความเที่ยงตรงใน การพิจารณา 8. การประเมินผลหลักสูตรควรใช้วิธีการหลายๆ วิธี 9. มีเอกภาพในการตัดสินผลการประเมิน 10. ผ ล ต่ า ง ๆ ที่ได้จากการประเมินควรนาไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรทั้งในด้านการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในโอกาสต่อไ ป เพื่อให้ได้หลักสูตรที่ดี และมีคุณค่าสูงสุดตามที่ต้องการ 6. ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการพิจารณาคุณค่าหรือนิยม (Worth or Value) ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ขั้ น ต อ น ห รื อ วิ ธี ก า ร ป ร ะ เ มิ น จึ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ม า ก ซึ่งนักศึกษาหลายท่านได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนในการประเมินหลักสูตรดังนี้ ทาบา (Taba, 1962:324) ให้แนวทางในการประเมินผลหลักสูตรเป็นกระบวนการมีขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
  • 9. 1. วิเคราะห์และตีความตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรให้มองเห็นกระจ่างชัดในเชิงพฤติกรรมคือปฏิบัติได้จริง (Formulation and Clarification for Objective) 2. คัดเลือกและสร้างเครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับค้นหาหลักสูตร (Selection and Construction of the Appropriate Instruments for Getting Evidences) 3. ใช้เครื่องมือที่สร้างขึ้นประเมินผลหลักสูตรตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (Application of Evaluative Criteria) 4. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภูมิหลังจากนักเรียนและลักษณะของการสอนเพื่อนามาประกอบในการแปรผลของก ารประเมิน (Informationonthe Background of Students and theNature of Instruction in theLight Which to Interpretthe Evidences) ใ จ ทิ พ ย์ เ ชื้ อ รั ต น พ ง ษ์ ( 2539: 198- 202) ก ล่ า ว ว่ า ในการประเมินหลักสูตรนั้นผู้ประเมินผลควรดาเนินตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบดังนี้ คือ 1. ขั้ น ก า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจนก่อน ว่า จะประเมินส่วนใดหรืออย่างใดและในแต่ละเรื่องจะศึกษาบางส่วนในเรื่องนั้นๆ ก็ได้ 2. ขั้นวางแผนออกแบบการประเมิน คือ 2.1 การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง 2.2 การกาหนดแหล่งข้อมูล 2.3 การพัฒนาเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.4 การกาหนดเกณฑ์ในการประเมิน 2.5 การกาหนดเวลา 3. ขั้นรวบรวมข้อมูล 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล 5. ขั้นรายงานผลการประเมิน จ า ก ขั้ น ต อ น ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ที่ ก ล่ า ว ม า ทั้ ง ห ม ด สามารถสรุปขั้นตอนการประเมินหลักสูตรได้ดังนี้ 1. ขั้ น ก า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห รื อ จุ ด มุ่ง ห ม า ย ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น การกาหนดจุดมุ่งหมายในการประเมินเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการในการดาเนินการประเมินหลักสูตร ผู้ประเมินต้องกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจนว่าจะประเมินอะ ไร ใ น ส่ ว น ใ ด ด้ ว ย วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ อ ย่ า ง ไ ร เ ช่ น ต้องการประเมินเอกสารหลักสูตรเพื่อดูว่าเอกสารหลักสูตรถูกต้องสมบูรณ์สามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิ
  • 10. ท ธิ ภ า พ แ ค่ไ ห น ห รื อ จ ะ ป ร ะ เ มิน ก า ร น า หลัก สู ต ร ไ ป ใ ช้ใ น เ รื่ อ ง อ ะ ไ ร แค่ไหน ห รื อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช้ ทั้ ง ห ม ด หรือจะประเมินหลักสูตรทั้งระบบการกาหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินที่ชัดเจนทาให้เราสามารถกาหนด วิธีการ เครื่องมือ และขั้นตอนในการประเมินได้อย่างถูกต้อง และทาให้การประเมินหลักสูตรดาเนินไป 2. ขั้ น ก า ห น ด ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ วิ ธี ก า ร ที่ จ ะ ใ ช้ ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล การกาหนดเกณฑ์และวิธีการประเมินเปรียบเสมือนเข็มทิศที่จะนาไปสู่เป้าหมายของการประเมินเกณฑ์การป ร ะ เ มิ น จ ะ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง บ่ง ชี้ คุ ณ ภ า พ ใ น ส่ ว น ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ที่ ถู ก ป ร ะ เ มิ น การกาหนดวิธีการที่จะใช้การประเมินผลทาให้เราสามารถดาเนินงานไปตามขั้นตอนได้อย่างราบรื่น 3. ขั้ น ก า ร ส ร้ า ง เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ วิ ธี ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินหรือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งที่มีความสาคัญที่จะมีผลทา ใ ห้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น นั้ น น่ า เ ชื่ อ ถื อ ม า ก น้ อ ย แ ค่ ไ ห น ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินหรือเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจึงเป็นขั้นตอนที่สาคั ญ ซึ่งผู้ประเมินจะต้องเลือกใช้และสร้างอย่างมีคุณภาพมีความเชื่อถือได้ และมีความเที่ยงตรงสูง 4. ขั้ น เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ในขั้นการรวบรวมข้อมูลนั้นผู้ประเมินต้องเก็บรวบรวมข้อมูลตามขอบเขตและระยะเวลาที่กาหนดไว้ ใ น บ า ง ค รั้ ง ถ้ า จ า เ ป็ น ต้ อ ง อ า ศั ย ผู้ อื่ น ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ค ว ร พิ จ า ร ณ า ผู้ ที่ จ ะ ม า ท า ห น้ า ที่ เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ที่ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม เพราะผู้เก็บรวบรวมข้อมูลมีส่วนช่วยให้ข้อมูลที่รวบรวมได้มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ 5. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ในขั้นนี้ ผู้ประเมิน จะต้อง กาหน ดวิธี การจัดระ บบ ข้อ มูล พิจารณาเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม แล้วจึงวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ 6. ขั้ น ส รุ ป ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ใ น ขั้ น นี้ ผู้ ป ร ะ เ มิ น จ ะ ส รุ ป แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ใ น ขั้ น ต้น ผู้ประ เ มิน จะ ต้อง พิ จา ร ณา รู ปแ บ บ ของ กา ร รา ยง าน ผ ล ว่า ค วร จะ เ ป็ น รู ป แ บ บ ใ ด และการรายงานผลจะมุ่งเสนอข้อมูลที่บ่งชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรมีคุณภาพหรือไม่ เพียงใด มีส่วนใดบ้างที่ควรแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิก 7. ขั้นนาผลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาหลักสูตรในโอกาสต่อไป 7. ประโยชน์ของการประเมินหลักสูตร การประเมินผลหลักสูตรเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งที่จะทาให้เราทราบถึงคุณภาพและประสิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
  • 11. การประเมินผลมีประโยชน์ในการจัดการศึกษาการจัดทาหรือพัฒนาหลักสูตรต้องอาศัยผลการประเมินผลเป็ นสาคัญ ประโยชน์ของการประเมินผลหลักสูตรมีดังนี้ 1. ทาใ ห้ทราบห ลักสู ตรที่สร้าง ห รื อพัฒน าขึ้ นนั้ นมีจุดดีหรื อจุดเ สี ยตรงไหน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงได้ถูกจุด ส่งผลให้หลักสูตรมีคุณภาพดียิ่งขึ้น 2. สร้างความน่าเชื่อถือ ความมั่นใจ และค่านิยมที่มีต่อโรงเรียนให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชน 3. ช่วยในการบริหารทางด้านวิชาการ ผู้บริหารจะได้รู้ว่าควรจะตัดสินใจและสนับสนุนช่วยเหลือ หรือบริการทางด้านใดบ้าง 4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้าใจในความสาคัญของการศึกษา 5. ส่ง เ สริ มใ ห้ผู้ป ก ค ร อง มีค ว า ม สั ม พัน ธ์ ใ ก ล้ชิ ด กับ โ รง เ รี ย น ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น ทั้งนี้เพื่อให้การเรียนการสอนนักเรียนได้ผลดี ด้วยความร่วมมือกันทั้งทางโรงเรียนและทางบ้าน 6. ใ ห้ ผู้ ป ก ค ร อ ง ท ร า บ ค ว า ม เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ เพื่อหาทางส่งเสริมและปรับปรุงแก้ไขร่วมกันระหว่างผู้ปกครองนักเรียนกับทางโรงเรียน 7. ช่ว ย ใ ห้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล เ ป็ น ร ะ บ บ ร ะ เ บี ย บ เ พ ร า ะ มี เ ค รื่ อ ง มือ และหลักเกณฑ์ทาให้เป็นเหตุผลในทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น 8. ช่วยชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตร 9. ช่ ว ย ใ ห้ ส า ม า ร ถ ว า ง แ ผ น ก า ร เ รี ย น ใ น อ น า ค ต ไ ด้ ข้ อ มู ล ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร ท า ใ ห้ ท ร า บ เ ป้ า ห ม า ย แ น ว ท า ง และขอบเขตในการดาเนินการจัดการศึกษาของโรงเรียน 8. ปัญหาในการประเมินหลักสูตร ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้นว่า การประเมินหลักสูตรเป็ นงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง มีขั้น ตอน ใ น การปฏิบัติง าน ห ลายขั้น ตอน และ ต้อง เ กี่ยวกับบุคคลห ลายฝ่ าย ดัง นั้ น ในการประเมินหลักสูตรจึงมักพบกับปัญหาในแต่ละขั้นตอนหรือแต่ละกระบวนการที่แตกต่างกันไปปัญหา ที่มักพบทั่วไปในการประเมินหลักสูตรมีดังนี้ 1. ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร การประเมินหลักสูตรมักไม่มีการวางแผนล่วงหน้า ทาให้ขาดความละเอียดรอบคอบในการประเมินผล และไม่ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการประเมิน 2. ปัญหาด้านเวลา การกาหนดเวลาไม่เหมาะสมการประเมินหลักสูตรไม่เสร็จตามเวลาที่กาหนด ทาให้ได้ข้อมูลเนิ่นช้าไม่ทันต่อการนามาปรับปรุงหลักสูตร 3. ปั ญ ห า ด้า น ค ว า มเ ชี่ ย ว ช า ญ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ เ มิน ห ลั ก สู ต ร คณะ กรรมการประ เ มิน หลักสู ตรไม่มีความรู้ความเ ข้าใจเ รื่อง หลักสู ตรที่จะประเมิน
  • 12. หรื อไม่มีความเ ชี่ยวช าญใ น การประเมิน ผล ทาใ ห้ผลการประ เมิน ที่ได้ไ ม่น่าเชื่อถือ ขาดความระเอียดรอบคอบ ซึ่งมีผลทาให้การแก้ไขปรับปรุงปัญหาของหลักสูตรไม่ตรงประเด็น 4. ปัญหาด้านความเที่ยงตรงของข้อมูล ข้อมูลที่ไม่ใช้ในการประเมินไม่เที่ยงตรงเนื่องจาก ผู้ประเมินมีความกลัวเกี่ยวกับผลการประเมิน จึงทาให้ไม่ได้เสนอข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงหรือ ผู้ถูกประเมินกลัวว่าผลการประเมินออกมาไม่ดี จึงให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง 5. ปัญหาด้านวิธีการประเมิน การประเมินหลักสูตรส่วนมากมาจากประเมินในเชิงปริมาณ ท า ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ ค้ น พ บ ที่ ผิ ว เ ผิ น ไ ม่ ลึ ก ซึ้ ง จึง ควรมีการประ เ มิน ผลที่ใ ช้วิธี การประ เ มิน เ ชิง ปริ มาณและ เ ชิง คุณภ าพ ควบ คู่กัน เพื่อให้ได้ผลสมบูรณ์และมองเห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 6. ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ทั้ ง ร ะ บ บ การประเมินหลักสูตรทั้งระบบมีการดาเนินงานน้อยมาก ส่วนมากมักจะประเมินผลเฉพาะด้าน เช่น ด้า น ผ ล สั มฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ใ น ด้า น วิช า ก า ร ( Academic Achievement) เ ป็ น ห ลัก ทาให้ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด 7. ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง คณะกรรมการประเมินหลักสูตรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมักไม่ประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง 8. ปั ญหาด้าน เ กณฑ์กา ร ประ เ มิน เ กณฑ์ การประ เ มิน หลักสู ต รไ ม่ชั ด เ จ น ทาให้ผลการประเมินไม่เป็นที่ยอมรับ และไม่ได้นาผลไปใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรอย่างจริงจัง 9. รูปแบบของการประเมินหลักสูตร ใ น เ รื่ อ ง รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร มีนักวิชาการซึ่งเชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตรและการประเมินผลเสนอแนะหลายรูปแบบด้วยกันซึ่งสามารถนา ม า ศึ ก ษ า เ พื่ อ เ ลื อ ก ใ ช้ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ในปัจจุบันรูปแบบของการประเมินหลักสูตรสามรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ 1. รูปแบบของการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ๆ เป็นการประเมินผลก่อนนาหลักสูตร ไปใช้กลุ่มนี้จะเสนอรูปแบบที่เด่นๆ คือ รูปแบบการประเมินหลักสูตรด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบ ปุยแชงค์ (Puissance Analysis Technique) 2. รูปแบบของการประเมินหลักสูตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตรสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้เป็น 4 กลุ่ม คือ 2.1 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ยึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal Attainment Model) เ ป็ น รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิน ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิน ว่า ห ลัก สู ต ร มีคุณ ค่า มา ก น้ อ ย เ พี ย ง ใ ด โดยพิจารณาจากจุดมุ่งหมายเป็นหลัก กล่าวคือพิจารณาว่าผลที่ได้รับเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ เช่น
  • 13. รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ไ ท เ ล อ ร์ ( Ralph W. Tyler) และรูปแบบการประเมินหลักสูตรของแฮมมอนด์ (Rabert L. Hammond) 2.2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ไม่ยึดเป้าหมาย ( Goal Free Evaluation Model) เป็นรูปแบบการประเมินที่ไม่นาความคิดของผู้ประเมินเป็นตัวกาหนดความคิดในโครงการประเมินผู้ประเมิ นจะประเมินเหตุการณ์ที่เกิดตามสภาพความเป็ นจริง มีความเป็ นอิสระในการประเมินและ ไม่ต้องมีความลาเอียง เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสคริฟเวน (Michael Scriven) 2.3 รู ปแบบการ ป ระ เ มิน ห ลัก สู ตร ที่ ยึ ดเ ก ณ ฑ์เ ป็ น ห ลัก ( Criterion Model) เป็นรูปแบบการประเมินที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินคุณค่าของหลักสูตรโดยใช้เกณฑ์เป็นหลัก เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค (Robert E. Stake) 2.4 รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสิ นใจ (Decision-Mzking Model) เป็นรูปแบบการประเมินที่เน้นการทางานอย่างมีระบบเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการเสนอผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เ ช่ น รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ข อ ง โ พ ร วั ส ( Malcolm Provus) รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ส ตั ฟ เ ฟิ ล บี ม ( Daniel L. Stufflebeam) และรูปแบบการประเมินหลักสูตรของดอริสโกว์ (Doris T. Gow) เป็นต้น การประเมินหลักสู ตรมีขอบเขตต่างๆ ที่จะต้องทาการประเ มิน กว้างขวาง มาก ดังนั้นวิธีการประเมินหลักสูตรจึงต้องได้รับการวิเคราะห์และออกแบบให้สามารถที่จะประเมินได้ครบถ้วนใ น ข อ บ ข่า ย ส า ร ะ ทั้ ง ห ม ด รู ป แ บ บ ต่า ง ๆ ที่ จ ะ ใ ช้ป ร ะ เ มิน ผ ล มีห ล า ย รู ป แ บ บ ผู้มีหน้าที่ในการประเมินผลจาเป็นต้องเรียนรู้ทาความเข้าใจให้กระจ่างชัด และจะต้องนารูปแบบต่างๆ ไปใ ช้อย่าง ถูกต้อง ตรง ตา มจุ ดห มาย แ ละ ลักษ ณะ ข อง ข อ บ ข่าย สา ระ แ ต่ละ อ ย่ า ง ทั้งนี้เป็นไปได้ว่าการประเมินผลขอบข่ายสาระทั้งหมดของหลักสูตรจาเป็นต้องใช้วิธีการหลายวิธีหรือหลาย ๆ รูปแบบจึงจะได้ข้อมูลที่มีความเชื่อมั่นในการที่จะนาไปพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณค่าเหมาะสมกับความต้องกา รของสังคม รูปแบบการประเมินมีดังนี้ 9.1 รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค (TheStake’s Congruence ContingencyModel) รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตคเป็นรูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ยึดเกณฑ์เป็นหลักสูตร สเตคได้ให้ความหมายของการประเมินหลักสูตรว่า เป็นการบรรยายและการตัดสินคุณค่าของหลักสูตร ซึ่งเน้นเรื่องการบรรยายสิ่งที่จะถูกประเมิน โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิในการตัดสินคุณค่า ส เ ต ค มี จุ ด มุ่ง ห ม า ย ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร โ ด ย ก า ร ป ร ะ เ มิ น ดั ง นั้ น สเตคจึงเสนอว่าควรมีการพิจารณาข้อมูลเพื่อประเมินผลหลักสูตร 3 ด้าน คือ
  • 14. 1. ด้านสิ่งที่มาก่อน หรือสภาพก่อนเริ่มโครงการ (Antecedent) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เอื้อให้เกิดผลจากหลักสูตรและเป็นสิ่งที่มีอยู่ก่อนการใช้หลักสูตรอยู่แล้วประกอบด้วย 7 หัวข้อ คือ บุคลิกและนิสัยของนักเรียน บุคลิกและนิสัยครู 2. ด้านเนื้อหาในหลักสูตร วัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน อาคารสถานที่ การจัดโรงเรียน ลักษณะของชุมชนขณะที่มีการเรียนการสอนระหว่างนักเรียนกับนักเรียน นักเรียนกับครู ครูกับผู้ปกครอง ฯลฯ เป็ นขั้นของการใช้หลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย 5หัวข้อ คือ การสื่อสาร การจัดแบ่งเวลา การลาดับเหตุการณ์ การให้กาลังใจ และบรรยากาศของสิ่งแวดล้อม 3. ด้านผลผลิต หรือผลที่ได้รับจากโครงการ (Outcomes) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตร ประกอบด้วย 5 หัวข้อ คือ ผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียน ทัศนคติของนักเรียน ทักษะของนักเรียน ผ ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ค รู และผลที่เกิดขึ้นกับสถาบันซึ่งรูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตคแสดงให้เห็นเป็นตาราง 3 ดังนี้ ตาราง 3วิเคราะห์หลักสูตรของสเตค เกณฑ์ในการวิเคราะห์หลักสูตร ข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์หลักสูตร ข้อมูลเชิงบรรยาย ข้อมูลเชิงตัดสิน ผลที่คาดหวัง ผลที่เกิดขึ้น มาตรฐานที่ใช้ การตัดสินใจ 1. สภาพก่อนเริ่มโครงการ - บุคลิกและนิสัยของนักเรียน - บุคลิกและนิสัยของครู - เนื้อหาในหลักสูตร - อุปกรณ์การเรียนการสอน - บริเวณโรงเรียน - ชุมชน 2. กระบวนการในการเรียน - การสื่อสาร - เวลาที่จัดให้ - ลาดับของเหตุการณ์ - การให้กาลังใจ - สภาพสังคมหรือบรรยากาศ 3. ผลที่ได้รับจากโครงการ - ความสาเร็จของนักเรียน - ทัศนคติของนักเรียน - ทักษะของนักเรียน - ผลที่ครูได้รับ -ผลที่สถาบันได้รับ
  • 15. จากแบบตัวอย่างของสเตคนี้จะเห็นว่าขั้นตอนในการประเมินผลหลักสูตรจะเป็นดังนี้ คือ 1. การตั้งเกณฑ์ในการวิเคราะห์หลักสูตร สเตคได้เสนอหัวข้อของเกณฑ์ที่จะใช้ในการวิเคราะห์หลักสู ตรได้ 3 หัวข้อ คือ เ รื่ อ ง เ กี่ ย ว กับ สิ่ ง ที่ มี ม า ก่อ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ส อ น แ ล ะ ผ ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น เขาให้ความคิดเห็นว่าการประเมินจากผลที่ได้รับนั้นยังไม่พอที่จะประเมินว่าหลักสูตรนั้นดีหรือไม่เพียงใดเพ ร า ะ ผ ล ที่ ไ ด้ นั้ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ อี ก ห ล า ย อ ย่ า ง เ ป็ น ต้ น ว่ า หากผู้เรียนไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็มิได้หมายความว่าหลักสูตรนั้นเป็นหลักสูตรที่ไม่ดี การที่ผู้เรียนไม่สามารถเรียนได้ตามที่ต้องการ อาจมาจากองค์ประกอบทางด้านเวลา เช่น ให้เวลาแก่ผู้เรียนน้อยไปเวลาที่จัดให้ไม่เหมาะสม ดั ง นั้ น การที่จะช่วยดูแต่ผลที่ได้รับและนามาประเมินค่าหลักสูตรนั้นเป็นการไม่เพียงพอและอาจจะไม่สามารถช่วย ชี้ ช่ อ ง ท า ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร นั้ น แ ต่ อ ย่ า ง ใ ด ด้ ว ย เ ห ตุ นี้ สเตคจึงได้เสนอว่าควรมีการพิจารณาข้อมูลเพื่อประเมินผลหลักสูตรถึง 3ด้านดังที่กล่าวมาแล้ว 2. การหาข้อมูลมาประกอบ หลังจากที่ได้ตั้งเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อนามาเป็นแนวทางในการประเมินผลหลักสูตรแล้วผู้ประเมินผลห ลักสูตรจะต้องทาการเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อนามาพิจารณาตามแบบตัวอย่างของสเตคแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนที่เป็นการบรรยายหรือเรียกว่า “ข้อมูลเชิงบรรยาย” (Descriptive Data) ประกอบด้วยข้อมูล 2 ชนิดคือ 1.1 ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่คาดหวังของหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งที่มาก่อนกระบวนการเรี ยน การสอน และผลผลิตของหลักสูตร 1. 2 ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติจริงซึ่งสังเกตได้หรือทดสอบได้เกี่ยวกับสิ่งที่มีก่อนกระบวนการเรี ยนการสอน ผลผลิตของหลักสูตร ผู้ประเมินจะต้องอธิบายความสัมพันธ์ (Contingency) ระหว่างสิ่งที่มาก่อน (Antecedents) ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ( Transactions) แ ล ะ ผ ล ผ ลิ ต ( Outcomes) ข อ ง ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ( Congruence) ระหว่างสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือไม่อย่างไรจากการพิจารณาข้อมูลในลักษณะแนวตั้งและแนว นอนนี้ สรุปเป็นแผนภูมิเกี่ยวกับการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์และความสอดคล้องของหลักสู ตร ดังภาพประกอบ 30 ต่อไปนี้
  • 16. ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่คาดหวัง ข้อมูลที่อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น ความสอดคล้อง ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ความสอดคล้อง ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ความสอดคล้อง ภ า พ ป ร ะ ก อ บ 31 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยายเพื่อหาความสัมพันธ์และความสอดคล้องของหลักสูตร 2. ส่วนที่เป็นการพิจารณาตัดสินคุณค่าของหลักสูตร หรือที่เรียกว่า “ข้อมูลเชิงตัดสิน” (Judgemental Data) ประกอบด้วยข้อมูล 2 ชนิด คือ 2.1 ข้อมูลที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน (Standards) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ เช่นครู ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง ฯลฯ เชื่อว่าควรจะใช้ 2. 2 ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ก า ร ตั ด สิ น ข อ ง บุ ค ค ล ต่ า ง ๆ ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า มรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ตัด สิ น คุณ ภ า พ แ ล ะ ค ว า มเ ห มา ะ ส มข อ ง บุ ค ค ล ต่า ง ๆ ผู้ประเมินจะต้องตัดสินคูณค่าของหลักสูตรโดยใช้ข้อมูลที่เป็นเกณฑ์มาตรฐานและข้อมูลที่เป็นการตัดสินขอ งบุคคลต่างๆ มาประกอบการพิจารณาตัดสินว่าหลักสูตรมีส่วนใดดีหรือส่วนใดไม่ดี 3. วิธีการใช้ตารางในการประเมินผลของหลักสูตร เริ่มต้นด้วยการพิจารณาข้อมูลทั้ง 4 หมวด ตามเกณฑ์ที่ตั้งขึ้น เช่น จากตารางแบบตัวอย่างของ สเ ตค จะ เ ริ่ มที่ ข้อ ก. ด้าน สิ่ ง ที่ มีม า ก่อน ข้อ ก.1 บุคลิกและ นิ สั ย ข อง นั ก เ รี ย น เ ร า ก็ จ ะ พิ จ า ร ณ า ว่า ผ ล ที่ ค า ด ห วัง ห รื อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ด้ า น นี้ คื อ อ ะ ไ ร และนามาเปรียบเทียบกับผลที่เกิดขึ้นว่าตรงหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด สิ่งที่มีมาก่อน สิ่งที่มีก่อน ก่อนก่อน กระบวนการเ รียนการสอน กระบวนการเ รียนการสอน ผลผลิต ผลผลิต
  • 17. และผลที่เกิดขึ้นนั้นใช้มาตรฐานอะไรวัดและถืออะไรเป็นหลักในการตัดสินยกตัวอย่าง เช่น ในเรื่องของบุคลิกและนิสัยของนักเรียน ผลที่คาดหวัง : ต้องการนักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นากล้าซักถามโต้ตอบและโต้แย้ง ผ ล ที่ เ กิด ขึ้ น : ไ ด้นั ก เ รี ย น ที่ มี ลัก ษ ณ ะ ค ว า ม เ ป็ น ผู้ น า ป ร ะ ม า ณ 20% และได้นักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นาตาม 80% มา ต ร ฐ า น ที่ ใ ช้ : ค ว ร แ ล ะ นั ก บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ ห็ น ว่า นั ก เ รี ย น 1 0 0 % ควรมีทั้งลักษณะความเป็นผู้นาและผู้ตามอยู่ในตัว ที่มาของหลักสูตรการตัดสิน :สังคมประชาธิปไตย จ า ก ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ เ ก ณ ฑ์ ข้อ มูล ใ น ห มว ด ต่า ง ๆ ใ น ลัก ษ ณ ะ ข้า ง ต้น ผู้ประเมินจะสามารถเห็นว่าหลักสูตรนั้นมีความสอดคล้องกันหรือไม่ในด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ น อ ก จ า ก นั้ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ข้ อ มู ล ต า ม แ น ว ตั้ ง ผู้ประ เ มิน นั้ น จะ พ บว่าห ลักสู ตรนั้ น มีความสัมพัน ธ์ ใ น ตัวกัน ห รื อไม่ ตัวอย่าง เ ช่น ในเรื่องบุคลิกและนิสัยของนักเรียน ผลที่คาดหวัง นักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นา ผลที่เกิดขึ้น ได้นักเรียนที่มีลักษณะความเป็นผู้นา 20% และมีลักษณะความเป็นผู้ตาม 80% ผลที่คาดหวัง การสอนที่มีลักษณะเป็น The way Communication ผลที่เกิดขึ้น ครูส่วนใหญ่สอนโดยใช้ One way Communication และในเรื่องของกระบวนการในการสอนหรือสื่อสารข้อมูลสื่อสารปรากฏว่า
  • 18. ภาพประกอบ 32 แสดงความสัมพันธ์ในการประเมินหลักสูตร ใ น ลัก ษ ณ ะ เ ช่น นี้ ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ข้อ มูล ต า ม แ น ว ตั้ ง ข อ ง ห ลัก ลู ก ศ ร ผู้ประเมินหลักสูตรจะสามารถตรวจสอบได้ทันทีว่าการจัดการทั้ง 3ด้าน คือ ด้านสิ่งที่มีมาก่อน กระบวนการในการสอน และผลที่เกิดขึ้นนั้นมีความสัมพันธ์กันถูกต้องหรือไม่ การวิเคราะห์ถึงความสอดคล้องกับความสัมพันธ์กันของหลักสูตรนี้จะเป็นแนวทางชี้ให้เห็นถึงข้อ บกพร่องต่างๆ ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการปรับปรุงหลักสูตรเป็นอันมาก 9.2 รูปแบบของการประเมินหลักสูตรของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) แ ด เ นี ย ล แ อ ล ส ตั ฟ เ ฟิ ล บี ม ( Daniel L. Stufflebeam) ได้อธิบายความหมายของการประเมินผลทางการศึกษาเอาไว้ว่าเป็นกระบวนการการบรรยายการหาข้อมูล แ ล ะ ก า ร ใ ห้ ข้ อ มู ล เ พื่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ห า ท า ง เ ลื อ ก ฉะนั้นรูปแบบการประเมินผลหลักสูตรตามแนวคิดขอลสตัฟเฟิลบีมจึงเป็นรูปแบบเหมาะสมแก่การช่วยตัด สินใจเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด ตามปกติสถานการณ์ในการตัดสินใจ (Decision Settingt) โดยทั่วไปจะประกอบด้วยมิติที่สาคัญ 2 ประการ คือ 1. มิติด้านข้อมูลที่มีอยู่ (Information Grasp) คือถ้าเราจะตัดสินใจทาอะไรสักอย่าง เราจาเป็นต้องคานึงว่าเรามีข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้นอยู่มากน้อยเพียงใด 2. มิติด้าน ปริ มาณความเ ปลี่ยน แป ลง ที่ต้อง การใ ห้เ กิดขึ้ น ( Degree of Cange) คื อ ค ว า ม ห ม า ย ว่ า ถ้ า เ ร า จ ะ ตั ด สิ น ใ จ ท า อ ะ ไ ร สั ก อ ย่ า ง ห นึ่ ง เราต้องคานึงว่าเมื่อทาไปแล้วจะเกิดการเปลี่ยนแปลงจากเดิมมากน้อยสักแค่ไหน จากรูปแบบการประเมินผลหลักสูตรตามแนวคิดของสตัฟเฟิลบีมแสดงให้เห็นว่า 1. ส ถ า น ก า ร ณ์ ตัด สิ น ใ จ ที่ ต้อ ง ก า ร ใ ห้ มีก า รเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ พีย ง เ ล็กน้อย แต่ทว่าข้อมูลที่จะช่วยให้การตัดสินใจนั้นมีอยู่มากสถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Homeostatic 2. สถานการณ์ตัดสินใจที่ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยและข้อมูลที่จะช่วยในการตัดสินใจก็มีอยู่ น้อย สถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Incremental 3. ส ถ า น ก า ร ณ์ ตัด สิ น ใ จ ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ม า ก แต่ว่าข้อมูลที่จะช่วยในการตัดสินใจมีอยู่น้อย สถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Neomobilistic 4. ส ถ า น ก า ร ณ์ ตัด สิ น ใ จ ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ม า ก และข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจก็มีอยู่มาก สถานการณ์การตัดสินใจอย่างนี้เรียกว่า Metamorphism
  • 19. จ า ก ที่ ก ล่ า ว ม า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า การตัดสินใจนั้นไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์แบบใดก็ตามก็จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลเชิงประมาณ (Evaluation Data) ม า ช่ ว ย เ ป็ น พื้ น ฐ า น เ พ ร า ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ ด ๆ ของผู้บริหารที่ไม่ใช่ข้อมูลเชิงประมาณมาเป็นพื้นฐานในการหาทางเลือกย่อมเสี่ยงต่อความล้มเหลวใ นการ ดาเนินงานตามทางเลือกนั้นอย่างมาก ส่ ว น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ท า ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ นั้ น ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องจะจัดเนื้อหาวิชาในหลักสูตรอย่างไรจะจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีไหน จ ะ ใ ช้ สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น อ ะ ไ ร จ ะ จั ด กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ห ลั ก สู ต ร อ ะ ไ ร ถ้าพิจารณาใ น แง่ของ วิธี การกับผลที่เกิดขึ้ น และสิ่ งที่คาดห วัง กับสิ่ งที่จะ เกิดขึ้ นจริง เราอาจจาแนกการตัดสินใจออกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภาพประกอบ 33 แสดงประเภทและความสัมพันธ์ Stufflebeam ต่อสิ่งที่คาดหวังและสิ่งที่เป็นจริง 1. Planning Decisions เ ป็ น การตัดสิ น ใ จโ ด ย ค า ดห วัง ว่าเ รา ต้อง ก ารใ ห้เ กิด ผ ล ทาง ก าร ศึ ก ษ าอ ย่า ง ไ ร เช่นหลังจากที่นักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ไปแล้วนักเรียนควรจะมีคุณสมบัติที่เด่นๆ อย่างไรบ้าง ฉะนั้นการตัดสินใจชนิดนี้จึงนามาเป็นประโยชน์ในการกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรหรือในการวางแผ นจัดการศึกษาได้เป็นอย่างดี จึงเรียกการตัดสินใจอย่างนี้ว่าการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผน 2. Structuring Decisions เป็นการตัดสินใจโดยคาดหวังว่าถ้าต้องการให้เกิดผลทางการศึกษาตามที่คาดหวังไว้ในข้อ 1 นั้นเราควรจะวางโครงสร้างหรือวางรูปแบบของการใช้หลักสูตรที่พึ่งประสงค์เอาไว้อย่างไรเช่น ถ้ า จ ะ ใ ห้ นั ก เ รี ย น มี คุ ณ ส ม บั ติ ต ร ง ต า ม ที่ ค า ด ห วั ง เ อ า ไ ว้ นั้ น (1) การตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผน Planning (4) การตัดสินใจเกี่ยวกับคุณสมบัติที่พึง ประสงค์ (Recyccling) (2) การตัดสินใจเกี่ยวกับโครงสร้าง (Structuring) (3) การตัดสินเกี่ยวกับการนาไปใช้ (Implementing) สิ่งที่คาดหวัง สิ่งที่เป็นจริง ผลที่เกิดขึ้น วิธีการ