SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บทที่ 3
                                    แผนงานและโครงการ

          การฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พทางรัฐศาสตร์ ผูรายงานได้ฝึกประสบการณ์ ท่ีสาคัญที่มีส่วน
                                                     ้
เกี่ยวข้องกับทักษะวิชาที่ได้ทาการศึกษามาประยุกต์ใช้ ซึ่ งโครงการที่หน่ วยงานของผูรายงานได้มี
                                                                                    ้
ส่ วนร่ วมและได้นาความรู ้ที่ได้ทาการศึกษาในภาคทฤษฏีออกมาสู่ ภาคปฏิบติน้ น เป็ นโครงการของ
                                                                        ั ั
กระทรวงอุ ตสาหกรรมที่ ไ ด้สั่ ง การให้ส านัก งานอุ ตสาหกรรมทุ ก เขต ทุ ก พื้ นที่ ได้ด าเนิ นการ
โครงการดังกล่าว ซึ่ ง “โครงการสิ นค้าช่วยค่าครองชีพ Outlet เพื่อประชาชน” มีรายละเอียด ดังนี้
          “โครงการสิ นค้าช่วยค่าครองชีพ Outlet เพื่อประชาชน” เป็ นการนาสิ นค้าราคาถูกมา
                 ั
จาหน่ายให้กบประชาชน ทั้งเครื่ องอุปโภคและบริ โภค ส่ งตรงจากโรงงานโดยผูประกอบการทัวไป
                                                                             ้              ่
          เนื่องจากสภาวการณ์ในปั จจุบนที่สินค้าอุปโภคและบริ โภคมีราคาสู งขึ้นในขณะนี้
                                      ั
กระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะเป็ นหนึ่งในกระทรวงหลักด้านเศรษฐกิจ และมีหน้าที่ในการพัฒนา
อุตสาหกรรมและผูประกอบการโดยตรง ได้เล็งเห็นช่องทางในการช่วยเหลือและบรรเทาความ
                    ้
เดือดร้อนของประชาชน กระทรวงอุตสาหกรรม จึงร่ วมกับ จังหวัดนครสวรรค์ โดยสานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ เปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้ซ้ื อสิ นค้าราคาถูก ทั้งสิ นค้าอุปโภคและ
บริ โภคกับผูประกอบการโดยตรง อาทิ น้ าตาลทราย น้ ามันพืช เป็ นต้น จาหน่ายในราคาย่อมเยา
               ้
ภายใต้กรอบแนวคิดสิ นค้าราคาถูกช่วยค่าครองชีพ “Outlet เพื่อประชาชน” เป็ นแนวทางการ
ดาเนินการ”
          จากรายละเอียดที่กล่าวไปข้างต้น ผูรายงานได้มีส่วนร่ วมในการดาเนินโครงการ “สิ นค้า
                                           ้
ช่วยค่าครองชีพ Outlet เพื่อประชาชน” ของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ โดยสามารถ
ประมวลผล ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านประสบการณ์ที่ได้รับ ซึ่ งมีรายละเอียด ดังนี้
          1. ด้านความรู้
          2. ด้านทักษะ
          3. ด้านประสบการณ์

1. ด้ านความรู้
         1. การติดต่อประสานงานจากภายในและภายนอกองค์การ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพ   ิ
จะต้องมีการประสานงานกันภายในเป็ นการติดต่อสื่ อสารของเจ้าหน้าที่ภายในระหว่างฝ่ าย และ
ภายนอกองค์การเป็ นการติดต่อสื่ อสารระหว่างหน่วยงานกับประชาชนผูมาใช้บริ การ เพื่อให้งานา
                                                                 ้
นั้นออกมาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีคุณภาพ
9




           2. กระบวนการทางานที่รวดเร็ วและเป็ นระบบ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพมีงานที่
                                                                                ิ
ได้รับมอบหมายจากพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบติให้เสร็ จตามที่กาหนด โดยมีการแบ่งงาน
                                                          ั
กันทา และสามารถปฏิบติงานที่ได้รับมอบหมายจากพี่เลี้ยงได้สาเร็ จและเสร็ จทันเวลา สามารถ
                           ั
จัดทาเอกสารและกระบวนการทางาน จนถึงกาจัดส่ งเอกสารได้อย่างมีลาดับขั้นตอน
           3.การทางานร่ วมกับผูอื่นและการมีมนุษย์สัมพันธ์ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพมีการ
                                ้                                                 ิ
ปฏิบติงานร่ วมกับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานมีการแสดงความคิดเห็น ช่วยเหลือและหาแนว
       ั
ทางแก้ไขร่ วมกัน
           4. การวางแผนก่อนลงมือทาการปฏิบติงานทั้งหมด ทั้งงานหลักและงานรองจะต้องมีการ
                                                ั
วางแผนในการปฏิบติงานทุกครั้ง เพื่อให้งานออกมาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิผล และ
                       ั
สามารถแก้ไขปั ญหาเมื่องานที่ได้รับมอบหมายเกิดความผิดพลาดหรื อไม่มีประสิ ทธิ ภาพและ
ประสิ ทธิผล
           5. การให้บริ การแก่ประชาชนด้วยความเต็มใจ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพต้อง
                                                                              ิ
ให้บริ การผูที่มารับบริ การและผูที่มาสอบถามด้วยความถูกต้องและทาด้วยความเต็มใจ ทาให้ผที่มา
              ้                   ้                                                            ู้
รับบริ การมีความพึงพอใจ
           6. การร่ วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การปฏิบติงานในหน่วยงานเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น เช่น
                                                     ั
เครื่ องถ่ายเอกสารเสี ย ต้องปรึ กษาพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ โดยมีการเสนอความคิดเห็น ทางออก และ
วิธีการแก้ปัญหาร่ วมกัน
           7. การทางานให้บริ การด้วยความรวดเร็ ว ถูกต้อง โปร่ งใส และเป็ นธรรมการปฏิบติงาน ั
ในหน่วยงานต้องปฏิบติงานด้วยความเต็มใจ ซื่ อสัตย์ เป็ นกลาง และสามารถตรวจสอบได้ ทาให้
                         ั
หน่วยงานมีความน่าเชื่อถือ ได้รับการยอมรับจากประชาชนที่มารับบริ การอย่างแท้จริ ง
           2. ด้ านทักษะ
           1. การวางแผน (Planning) ต้องมีการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์ต่างๆที่จะมีผลกระทบ
ต่อธุ รกิจ และกาหนดขึ้นเป็ นแผนการการปฏิบติงานหรื อวิถีทางที่จะปฏิบติข้ ึนไว้เป็ นแนวทางการ
                                                  ั                       ั
ทางานในอนาคต
           2. การจัดองค์การ (Organizing) การจัดให้มีโครงสร้างของงานต่างๆและอานาจหน้าที่ให้
    ่
อยูในส่ วนประกอบที่เหมาะสมที่จะช่วยให้งานขององค์การบรรลุผลสาเร็ จได้
           3. การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) การสั่งงานต่างๆแก่ผใต้บงคับบัญชา ซึ่ งผูบริ หาร
                                                                        ู้ ั                 ้
จะต้องกระทาตนเป็ นตัวอย่างที่ดี และต้องเข้าใจผูปฏิบติงานด้วย ตลอดจนเข้าใจถึงข้อตกลงในการ
                                                    ้ ั
ทางานของคนงานและองค์การที่มีอยู่ รวมถึงการติดต่อสื่ อสารภายในองค์การด้วย
10



         4. การประสานงาน (Coordinating) การเชื่ อมโยงงานของทุกคนให้เข้ากันได้และไปสู่
เป้ าหมายเดียวกันในที่สุด
                                                                        ่
         5. การควบคุม (Controlling) การที่จะต้องกากับให้สามารถประกันได้วากิจกรรมต่างๆที่ทา
                          ั
ไปนั้น สามารถเข้ากันได้กบแผนที่วางไว้แล้ว

3. ด้ านประสบการณ์
                                                               ่
        ด้านประสบการณ์ที่ผรายงานได้รับนั้น สามารถกล่าวได้วาโครงการ สิ นค้าช่วยค่าครองชีพ
                              ู้
หรื อ Outlet เพื่อประชาชนนั้น จาเป็ นต้องอาศัยลักษณะของทีมที่มีประสิ ทธิภาพในการดาเนินการ
ซึ่ งลักษณะของทีมที่มีประสิ ทธิ ภาพนั้น จะต้องประกอบคุณลักษณะดังต่อไปนี้
           1. ความกระจ่างชัดในวัตถุประสงค์ และเห็นด้วยกับเป้ าหมาย (Clear Objectives and
agreed goals) สมาชิกทุกคนของทีมจะต้องมีความเข้าใจในเป้ าหมายอย่างเด่นชัด และเต็มใจที่จะ
ผูกพัน เพื่อให้เกิดความสาเร็ จในเป้ าหมายที่ต้ งไว้
                                               ั
           2. การเปิ ดเผยและการเผชิ ญหน้ากัน (Openess and confrontation) สมาชิกในทีมงานมี
                   ั
ความสัมพันธ์กนอย่างเปิ ดเผย ซื่ อสัตย์ ตรงไปตรงมา กล้าเผชิญหน้าเพื่อแก้ปัญหาการทางานร่ วมกัน
           3. การสนับสนุนและการจริ งใจต่อกัน (Support and trust) สมาชิกในทีมช่วยเหลือซึ่ งกัน
และกัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างงานของตนกับเองของผูอื่น และพร้อมที่จะรับและให้ความ
                                                            ้
ช่วยเหลือด้วยความจริ งใจ
             4. ความร่ วมมือและความขัดแย้ง (Co-operation and conflict) สมาชิกในทีมงานอุทิศตนใน
การปฏิบติงานให้เสร็ จไปด้วยดี จะมีการประสานประโยชน์ในเรื่ องของความรู้ความสามารถ
           ั
ตลอดจนความแตกต่างของแต่ละบุคคลให้ได้ผลร่ วมกันอย่างสู งสุ ด และเป็ นลักษณะที่เปิ ดโอกาส
ให้สมาชิกได้มีส่วนร่ วมอย่างเต็มที่ในการทางาน ซึ่ งอาจมีการขัดแย้งเกิดขึ้นภายในทีม ก็จะเป็ น
ในทางสร้างสรรค์
             5. การปฏิบติงานที่ชดเจน (Sound procedure) สมาชิกในทีมจะอาศัยข้อเท็จจริ งเป็ นหลัก
                         ั       ั
และการตัดสิ นใจจากข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่ งมาจาการติดต่อสื่ อสารที่ชดเจน มีการพูด การเขียน
                                                                        ั
และการทางานในสิ่ งที่ถูกต้องในการแก้ปัญหาจะทาให้ทีมงานมีประสิ ทธิ ภาพได้
           6. ภาวะที่เหมาะสม (Appropriate leadership) หัวหน้าทีมจะต้องมีบทบาทผูนาที่ดี เป็ น
                                                                                  ้
มาตรฐานในการปฏิบติทุกอย่าง ไม่ผกขาดเป็ นผูนาคนเดียวของกลุ่ม แต่ภาวะผูนาจะกระจายไปทัว
                           ั          ู           ้                          ้                 ่
กลุ่ม ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
           7. ทบทวนการทางานอย่างสม่าเสมอ (Regular review) ทีมงานจะต้องใช้เวลาในการ
ประเมินพฤติกรรม และเรี ยนรู ้ถึงการผิดพลาดในการทางาน ของกลุ่มซึ่ งจะทบทวนอย่างสม่าเสมอ
11



เพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่ องในการทางาน อาจทบทวนระหว่างการทางานหรื อหลังจากทางานเสร็ จ
แล้ว
        8. การพัฒนาบุคคล (Individual development) สมาชิกในกลุ่มจะได้รับการพัฒนาอย่างที่
แผนตามความชานาญของแต่ละบุคคล ซึ่ งจะให้การทางานเป็ นทีมมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
        9. สัมพันธ์ระหว่างกลุ่มที่ดี (Sound intergroup relations) นอกเหนือจากความสัมพันธ์อนดี
                                                                                           ั
ระหว่างกลุ่มแล้วจะต้องให้กลุ่มอื่นเข้าใจและยอมรับ ตลอดจนยืนมือเข้าช่วยเหลือเมื่อจาเป็ น ด้วย
                                                                ่
ความเข้าใจ และปราศจาการแข่งขัน

More Related Content

What's hot

Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource ManagementSakda Hwankaew
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallDrDanai Thienphut
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนNattapon
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2Sakda Hwankaew
 
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานSakda Hwankaew
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนSakda Hwankaew
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_SelectionSakda Hwankaew
 

What's hot (12)

Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource Management
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmall
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
 
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานบทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
แนะแนว
แนะแนวแนะแนว
แนะแนว
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selection
 

Viewers also liked (9)

Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Manager.
Manager.Manager.
Manager.
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
แนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบตแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต
 
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
 

Similar to Chapter 3

9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานPraphaphun Kaewmuan
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 

Similar to Chapter 3 (20)

คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

Chapter 3

  • 1. บทที่ 3 แผนงานและโครงการ การฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พทางรัฐศาสตร์ ผูรายงานได้ฝึกประสบการณ์ ท่ีสาคัญที่มีส่วน ้ เกี่ยวข้องกับทักษะวิชาที่ได้ทาการศึกษามาประยุกต์ใช้ ซึ่ งโครงการที่หน่ วยงานของผูรายงานได้มี ้ ส่ วนร่ วมและได้นาความรู ้ที่ได้ทาการศึกษาในภาคทฤษฏีออกมาสู่ ภาคปฏิบติน้ น เป็ นโครงการของ ั ั กระทรวงอุ ตสาหกรรมที่ ไ ด้สั่ ง การให้ส านัก งานอุ ตสาหกรรมทุ ก เขต ทุ ก พื้ นที่ ได้ด าเนิ นการ โครงการดังกล่าว ซึ่ ง “โครงการสิ นค้าช่วยค่าครองชีพ Outlet เพื่อประชาชน” มีรายละเอียด ดังนี้ “โครงการสิ นค้าช่วยค่าครองชีพ Outlet เพื่อประชาชน” เป็ นการนาสิ นค้าราคาถูกมา ั จาหน่ายให้กบประชาชน ทั้งเครื่ องอุปโภคและบริ โภค ส่ งตรงจากโรงงานโดยผูประกอบการทัวไป ้ ่ เนื่องจากสภาวการณ์ในปั จจุบนที่สินค้าอุปโภคและบริ โภคมีราคาสู งขึ้นในขณะนี้ ั กระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะเป็ นหนึ่งในกระทรวงหลักด้านเศรษฐกิจ และมีหน้าที่ในการพัฒนา อุตสาหกรรมและผูประกอบการโดยตรง ได้เล็งเห็นช่องทางในการช่วยเหลือและบรรเทาความ ้ เดือดร้อนของประชาชน กระทรวงอุตสาหกรรม จึงร่ วมกับ จังหวัดนครสวรรค์ โดยสานักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ เปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้ซ้ื อสิ นค้าราคาถูก ทั้งสิ นค้าอุปโภคและ บริ โภคกับผูประกอบการโดยตรง อาทิ น้ าตาลทราย น้ ามันพืช เป็ นต้น จาหน่ายในราคาย่อมเยา ้ ภายใต้กรอบแนวคิดสิ นค้าราคาถูกช่วยค่าครองชีพ “Outlet เพื่อประชาชน” เป็ นแนวทางการ ดาเนินการ” จากรายละเอียดที่กล่าวไปข้างต้น ผูรายงานได้มีส่วนร่ วมในการดาเนินโครงการ “สิ นค้า ้ ช่วยค่าครองชีพ Outlet เพื่อประชาชน” ของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ โดยสามารถ ประมวลผล ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านประสบการณ์ที่ได้รับ ซึ่ งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ 3. ด้านประสบการณ์ 1. ด้ านความรู้ 1. การติดต่อประสานงานจากภายในและภายนอกองค์การ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพ ิ จะต้องมีการประสานงานกันภายในเป็ นการติดต่อสื่ อสารของเจ้าหน้าที่ภายในระหว่างฝ่ าย และ ภายนอกองค์การเป็ นการติดต่อสื่ อสารระหว่างหน่วยงานกับประชาชนผูมาใช้บริ การ เพื่อให้งานา ้ นั้นออกมาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีคุณภาพ
  • 2. 9 2. กระบวนการทางานที่รวดเร็ วและเป็ นระบบ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพมีงานที่ ิ ได้รับมอบหมายจากพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบติให้เสร็ จตามที่กาหนด โดยมีการแบ่งงาน ั กันทา และสามารถปฏิบติงานที่ได้รับมอบหมายจากพี่เลี้ยงได้สาเร็ จและเสร็ จทันเวลา สามารถ ั จัดทาเอกสารและกระบวนการทางาน จนถึงกาจัดส่ งเอกสารได้อย่างมีลาดับขั้นตอน 3.การทางานร่ วมกับผูอื่นและการมีมนุษย์สัมพันธ์ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพมีการ ้ ิ ปฏิบติงานร่ วมกับพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานมีการแสดงความคิดเห็น ช่วยเหลือและหาแนว ั ทางแก้ไขร่ วมกัน 4. การวางแผนก่อนลงมือทาการปฏิบติงานทั้งหมด ทั้งงานหลักและงานรองจะต้องมีการ ั วางแผนในการปฏิบติงานทุกครั้ง เพื่อให้งานออกมาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิผล และ ั สามารถแก้ไขปั ญหาเมื่องานที่ได้รับมอบหมายเกิดความผิดพลาดหรื อไม่มีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิผล 5. การให้บริ การแก่ประชาชนด้วยความเต็มใจ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพต้อง ิ ให้บริ การผูที่มารับบริ การและผูที่มาสอบถามด้วยความถูกต้องและทาด้วยความเต็มใจ ทาให้ผที่มา ้ ้ ู้ รับบริ การมีความพึงพอใจ 6. การร่ วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การปฏิบติงานในหน่วยงานเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น เช่น ั เครื่ องถ่ายเอกสารเสี ย ต้องปรึ กษาพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ โดยมีการเสนอความคิดเห็น ทางออก และ วิธีการแก้ปัญหาร่ วมกัน 7. การทางานให้บริ การด้วยความรวดเร็ ว ถูกต้อง โปร่ งใส และเป็ นธรรมการปฏิบติงาน ั ในหน่วยงานต้องปฏิบติงานด้วยความเต็มใจ ซื่ อสัตย์ เป็ นกลาง และสามารถตรวจสอบได้ ทาให้ ั หน่วยงานมีความน่าเชื่อถือ ได้รับการยอมรับจากประชาชนที่มารับบริ การอย่างแท้จริ ง 2. ด้ านทักษะ 1. การวางแผน (Planning) ต้องมีการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์ต่างๆที่จะมีผลกระทบ ต่อธุ รกิจ และกาหนดขึ้นเป็ นแผนการการปฏิบติงานหรื อวิถีทางที่จะปฏิบติข้ ึนไว้เป็ นแนวทางการ ั ั ทางานในอนาคต 2. การจัดองค์การ (Organizing) การจัดให้มีโครงสร้างของงานต่างๆและอานาจหน้าที่ให้ ่ อยูในส่ วนประกอบที่เหมาะสมที่จะช่วยให้งานขององค์การบรรลุผลสาเร็ จได้ 3. การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) การสั่งงานต่างๆแก่ผใต้บงคับบัญชา ซึ่ งผูบริ หาร ู้ ั ้ จะต้องกระทาตนเป็ นตัวอย่างที่ดี และต้องเข้าใจผูปฏิบติงานด้วย ตลอดจนเข้าใจถึงข้อตกลงในการ ้ ั ทางานของคนงานและองค์การที่มีอยู่ รวมถึงการติดต่อสื่ อสารภายในองค์การด้วย
  • 3. 10 4. การประสานงาน (Coordinating) การเชื่ อมโยงงานของทุกคนให้เข้ากันได้และไปสู่ เป้ าหมายเดียวกันในที่สุด ่ 5. การควบคุม (Controlling) การที่จะต้องกากับให้สามารถประกันได้วากิจกรรมต่างๆที่ทา ั ไปนั้น สามารถเข้ากันได้กบแผนที่วางไว้แล้ว 3. ด้ านประสบการณ์ ่ ด้านประสบการณ์ที่ผรายงานได้รับนั้น สามารถกล่าวได้วาโครงการ สิ นค้าช่วยค่าครองชีพ ู้ หรื อ Outlet เพื่อประชาชนนั้น จาเป็ นต้องอาศัยลักษณะของทีมที่มีประสิ ทธิภาพในการดาเนินการ ซึ่ งลักษณะของทีมที่มีประสิ ทธิ ภาพนั้น จะต้องประกอบคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ความกระจ่างชัดในวัตถุประสงค์ และเห็นด้วยกับเป้ าหมาย (Clear Objectives and agreed goals) สมาชิกทุกคนของทีมจะต้องมีความเข้าใจในเป้ าหมายอย่างเด่นชัด และเต็มใจที่จะ ผูกพัน เพื่อให้เกิดความสาเร็ จในเป้ าหมายที่ต้ งไว้ ั 2. การเปิ ดเผยและการเผชิ ญหน้ากัน (Openess and confrontation) สมาชิกในทีมงานมี ั ความสัมพันธ์กนอย่างเปิ ดเผย ซื่ อสัตย์ ตรงไปตรงมา กล้าเผชิญหน้าเพื่อแก้ปัญหาการทางานร่ วมกัน 3. การสนับสนุนและการจริ งใจต่อกัน (Support and trust) สมาชิกในทีมช่วยเหลือซึ่ งกัน และกัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างงานของตนกับเองของผูอื่น และพร้อมที่จะรับและให้ความ ้ ช่วยเหลือด้วยความจริ งใจ 4. ความร่ วมมือและความขัดแย้ง (Co-operation and conflict) สมาชิกในทีมงานอุทิศตนใน การปฏิบติงานให้เสร็ จไปด้วยดี จะมีการประสานประโยชน์ในเรื่ องของความรู้ความสามารถ ั ตลอดจนความแตกต่างของแต่ละบุคคลให้ได้ผลร่ วมกันอย่างสู งสุ ด และเป็ นลักษณะที่เปิ ดโอกาส ให้สมาชิกได้มีส่วนร่ วมอย่างเต็มที่ในการทางาน ซึ่ งอาจมีการขัดแย้งเกิดขึ้นภายในทีม ก็จะเป็ น ในทางสร้างสรรค์ 5. การปฏิบติงานที่ชดเจน (Sound procedure) สมาชิกในทีมจะอาศัยข้อเท็จจริ งเป็ นหลัก ั ั และการตัดสิ นใจจากข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่ งมาจาการติดต่อสื่ อสารที่ชดเจน มีการพูด การเขียน ั และการทางานในสิ่ งที่ถูกต้องในการแก้ปัญหาจะทาให้ทีมงานมีประสิ ทธิ ภาพได้ 6. ภาวะที่เหมาะสม (Appropriate leadership) หัวหน้าทีมจะต้องมีบทบาทผูนาที่ดี เป็ น ้ มาตรฐานในการปฏิบติทุกอย่าง ไม่ผกขาดเป็ นผูนาคนเดียวของกลุ่ม แต่ภาวะผูนาจะกระจายไปทัว ั ู ้ ้ ่ กลุ่ม ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม 7. ทบทวนการทางานอย่างสม่าเสมอ (Regular review) ทีมงานจะต้องใช้เวลาในการ ประเมินพฤติกรรม และเรี ยนรู ้ถึงการผิดพลาดในการทางาน ของกลุ่มซึ่ งจะทบทวนอย่างสม่าเสมอ
  • 4. 11 เพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่ องในการทางาน อาจทบทวนระหว่างการทางานหรื อหลังจากทางานเสร็ จ แล้ว 8. การพัฒนาบุคคล (Individual development) สมาชิกในกลุ่มจะได้รับการพัฒนาอย่างที่ แผนตามความชานาญของแต่ละบุคคล ซึ่ งจะให้การทางานเป็ นทีมมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น 9. สัมพันธ์ระหว่างกลุ่มที่ดี (Sound intergroup relations) นอกเหนือจากความสัมพันธ์อนดี ั ระหว่างกลุ่มแล้วจะต้องให้กลุ่มอื่นเข้าใจและยอมรับ ตลอดจนยืนมือเข้าช่วยเหลือเมื่อจาเป็ น ด้วย ่ ความเข้าใจ และปราศจาการแข่งขัน