SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่ยืมภาษาอื่น
• ภาษาที่มีอิทธิพลด้อยกว่า รับภาษา
ที่มีอิทธิพลเหนือกว่า
• ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะ
ของคา โครงสร้างอื่นๆ
• เสียงควบกล้า /ฟร/ /ฟล/ /บร/
/บล/ /ดร/
• ภาษาที่มีอิทธิพลน้อยกว่ามีอานาจ
เปลี่ยนแปลงภาษาที่มีอิทธิพล
เหนือกว่าให้มีลักษณะโครงสร้าง
แบบแผนตามภาษาที่มีอิทธิพลด้อย
กว่า การเปลี่ยนแปลงนี้ตรงข้ามกับ
ทฤษฎีแรก
• คายืมในภาษาไทยที่มีการเปลี่ยน
เสียงให้เข้ากับหูของคนไทย
สาเหตุการนาคาภาษาต่างประเทศมาใช้ใน
ภาษาไทย
• สภาพภูมิศาสตร์ คือ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ
ต่าง ๆ ได้แก่ พม่า ลาว เขมร มาเลเซีย จึงทาให้คนไทยที่อยู่อาศัย
บริเวณชายแดนเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กันและมีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน จึงมีการแลกเปลี่ยนภาษากัน เช่น คนไทยที่อยู่ในจังหวัด
สุรินทร์ ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ ก็จะสามารถสื่อสารด้วยภาษาเขมรได้ คน
ไทยที่อยู่ในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา รับเอาภาษามาลา
ยูเข้ามาใช้ เป็นต้น
• ประวัติศาสตร์ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อัน
ยาวนาน มีการอพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่นอาศัย
ปัจจุบัน ซึ่งแต่เดิมมีชนชาติอื่นอาศัยอยู่ก่อน เช่น เขมร ละว้า มอญ
หรือมีการทาศึกสงครามกับชนชาติอื่น มีการกวาดต้อนเชลยศึกและ
ประชาชน พลเมืองชนชาติอื่น ๆ ให้มาอาศัยอยู่ในประเทศไทย ผู้คน
เหล่านี้ได้นาถ้อยคาภาษาเดิมของตนเองมาใช้ปะปนกับภาษาไทย
ด้วย
• ศาสนาคนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนามาเป็นเวลาช้านาน
เมื่อนับถือศาสนาใดก็ย่อมได้รับถ้อยคาภาษาที่ใช้ในคาสอน หรือคา
เรียกชื่อต่าง ๆ ในทางศาสนาของศาสนานั้น ๆ มาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทยด้วย เช่น ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธ
ใช้ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้ภาษาอาหรับ และศาสนาคริสต์ใช้
ภาษาอังกฤษ ดังนั้นภาษาต่าง ๆ ที่ใช้ ในทางศาสนาก็จะเข้ามาปะปน
ในภาษาไทยด้วย
• การค้าขาย จากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมี
การติดต่อค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอัน
ยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอด
ถึงญี่ปุ่น ทาให้มีถ้อยคาในภาษาของชนชาตินั้น ๆ เข้ามาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทยเป็นจานวนมาก
• วรรณคดี วรรณคดีอินเดียที่ไทยนาเข้ามา เช่น เรื่องมหากาพย์รา
มายณะ และ มหาภารตะ แต่งขึ้นเป็นภาษาสันสกฤต อิเหนา เป็น
วรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจากเรื่องดาหลังของชวา ด้วยเหตุนี้วรรณคดี
ทาให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนในภาษาไทย
• ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เมื่อ
ชนชาติ ต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับชนชาติไทย หรือเข้ามาตั้ง
หลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนาเอาวัฒนธรรมและประเพณีที่เคย
ยึดถือปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย
นาน ๆ เข้าถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและประเพณี
เหล่านั้น ก็กลายมาเป็นถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของ
คนไทยมากขึ้น
• การศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆจากการที่คนไทย
เดินทางไปศึกษายังต่างประเทศ ทาให้ได้ใช้และพูดภาษาอื่น ๆ และรับเอา
วิทยาการต่าง ๆ เมื่อสาเร็จการศึกษา จึงนาภาษาของประเทศนั้นมาใช้
ปะปนกับภาษาของตน เช่น ภาษาอังกฤษ ในปัจจุบันประเทศไทยกาลัง
เตรียมความพร้อมด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและ
มาตรฐานสากล โดยการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาและ
วัฒนธรรมประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนและภาษาที่สามารถสื่อสารกันใน
สากลโลก ดังนั้นการหลั่งไหลของภาษาต่าง ๆ ที่จะเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยก็จะเพิ่มมากขึ้น
• ความสัมพันธ์ทางการทูตการเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต
ในการอพยพ โยกย้ายหรือในการติดต่อทางการทูต ย่อมทาให้ภาษา
ของเจ้าของถิ่นเดิมหรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นามาใช้ร่วมกัน เช่น
อังกฤษ ฝรั่งเศส
• อพยพย้ายถิ่นฐาน การอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาเหตุหลาย
ประการ เช่น สภาพเศรษฐกิจต้องไปประกอบอาชีพยังประเทศต่าง ๆ
ภัยสงคราม การเมืองการปกครอง

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
ศิลาจารึก
ศิลาจารึก ศิลาจารึก
ศิลาจารึก KruBowbaro
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
ศิลาจารึก
ศิลาจารึก ศิลาจารึก
ศิลาจารึก
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 

More from Wilawun Wisanuvekin

บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรWilawun Wisanuvekin
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคมWilawun Wisanuvekin
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนWilawun Wisanuvekin
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารWilawun Wisanuvekin
 

More from Wilawun Wisanuvekin (13)

พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 

หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ