SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งเป็นการพัฒนาความสามารถทักษะการฟังภาษาอังกฤษของผู้เรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีขั้นตอนและผลของการศึกษา สรุปได้ดังนี้
1. ความมุ่งหมายของการวิจัย
2. สรุปผลการวิจัย
3. อภิปรายผล
4. ข้อเสนอแนะ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ
ตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ
ตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
3.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังใช้
กิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส
4. เพื่อวิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประสิทธิภาพการทางานกลุ่มกับประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4
สรุปผลการวิจัย
ผลการศึกษาค้นคว้าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส
เพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปรากฏผลดังนี้
1. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 67.99/92.13 ซึ่งไม่เป็นไปตาม
เกณฑ์ที่ตั้งไว้
2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอสของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0.72 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้า
ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 72.25
3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ก่อนและหลังใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.05
4. ผลการวิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประสิทธิภาพการทางานกลุ่มกับ
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่ามีความสอดคล้องกัน
อภิปรายผลการวิจัย
จากการศึกษาการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอส ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประเด็นที่นามาอภิปราย ดังนี้
1. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส
ผ่านการเขียนของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นนั้นมีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ
67.99/92.13 หมายความว่า ผู้เรียนทั้งหมดได้คะแนนเฉลี่ยระหว่างเรียนที่ผู้เรียนทุกคนได้จากคะแนน
เข้าชั้นเรียนและใบงานคิดเป็นร้อยละ 67.99 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนของผู้เรียนทุกคนที่ได้จาก
การทาแบบทดสอบทักษะการฟังภาษาอังกฤษหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 92.13 ซึ่งไม่เป็นไปตามเกณฑ์
ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ผู้เรียนไม่คุ้นชินกับการฟังสาเนียงเจ้าของภาษา ขาดการฝึกฝน การมี
ทัศนคติเชิงลบต่อการเรียนภาษาอังกฤษและปัจจัยรบกวนภายนอก สอดคล้องกับผลงานวิจัยของไทยากิ
(Tyagi. 2013 : 6-7) ที่ได้กล่าวถึงอุปสรรคการฟังว่า การฟังนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายและมีอุปสรรค
ที่ขัดขวางไม่ให้การฟังประสบความสาเร็จอยู่หลายประการ ดังนี้
1.1 อุปสรรคทางวัฒนธรรม (Cultural Barriers) คือ สาเนียงสามารถเป็นอุปสรรค
ในการฟังได้ เพราะการออกเสียงต่างกัน อาจทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไปจากเดิม ปัญหาของ
สาเนียงที่มีความแตกต่างกันนี้ไม่ได้เกิดขึ้นระหว่างวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นภายในตัววัฒนธรรม
เองด้วย ตัวอย่างเช่น ในประเทศอินเดียที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละภูมิภาคจะมีสาเนียง
ที่แตกต่างกันไป
1.2 การขาดการฝึกฝน (Lack of training) คือ การฟังไม่ใช่ทักษะที่ติดตัวมาแต่เกิด
ผู้คนไม่ได้เกิดมาเป็นผู้ฟังที่ดี จึงต้องมีการพัฒนาการฟังด้วยการปฏิบัติและการฝึกฝน การขาดการฝึกฝน
จึงเป็นอุปสรรคสาคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการฟังเป็นอย่างมาก
1.3 อุปสรรคทางทัศนคติ (Attitudinal Barriers) คือ การเชื่อว่าตัวเองนั้นมีความรู้
มากกว่าผู้พูด หรือคิดว่าไม่มีสิ่งแปลกใหม่ให้เรียนรู้จากความคิดของผู้พูด บุคคลที่มีทัศนคติเช่นนี้มักจะ
เป็นผู้ฟังที่ไม่มีคุณภาพ
1.4 อุปสรรคทางกายภาพ (Physical Barriers) คือ อุปสรรคที่เกี่ยวกับสิ่งรบกวน
ภายนอก เช่น เสียงของเครื่องปรับอากาศ เสียงรถยนต์ เสียงพูดคุยของเพื่อนในห้องเรียน อุณหภูมิห้อง
ที่ร้อนหรือหนาวเกินไป ซึ่งสามารถรบกวนกระบวนการฟังได้
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประสิทธิภาพของกิจกรรมจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ค่าประสิทธิผล
ถือว่าอยู่ในระดับที่เกินครึ่ง
2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ
ตามแนวดิกโตกลอสผ่านการเขียนของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มผู้วิจัยได้นาผลการทดลอง
ของผู้เรียนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนมาวิเคราะห์หาค่าดัชนี
ประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่าดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.72 หรือคิดเป็นร้อยละ 72.25
ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอสที่มีการวางแผนการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมและสื่อที่แตกต่างไปจากที่ผู้เรียนเคยเรียน ผู้เรียนจึงมีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มมากขึ้น
ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยของพริ้นส์ (Prince. 2013 : 486-500) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับการใช้
กิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสเพื่อพัฒนาการฟัง การจา และการเขียนของผู้เรียน
ซึ่งวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ คือ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจของผู้เรียนในการเรียน
ภาษาอังกฤษ และผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าทักษะการฟังของผู้เรียนนั้นอยู่ในระดับที่ค่อนข้างดี
โดยความสามารถในทักษะการฟังนั้นสะท้อนผลด้วยทักษะการเขียน ซึ่งแสดงผลได้ชัดเจนว่าการจัด
การเรียนรู้การฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส ช่วยพัฒนาการฟัง
และการเขียนของผู้เรียนให้ดีขึ้น
3. ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทักษะการฟังภาษาอังกฤษก่อนและหลังใช้กิจกรรมพัฒนา
ทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส พบว่าคะแนนการสอบก่อนเรียน
มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 71.65 หลังจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้
กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส พบว่าคะแนนการสอบหลังเรียนของผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ
92.15 เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียนแล้วนั้น จะเห็นได้ว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ 0.05 ทั้งนี้เนื่องจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้
กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนมีกระบวนการทากิจกรรมที่เป็นขั้นตอนเพื่อช่วยให้ผู้เรียน
สามารถเข้าใจและบอกความแตกต่างของภาษาที่ผู้เรียนมีกับภาษาเป้าหมายได้ โดยผลวิจัยนั้นเป็นไป
ตามที่ ไจเบอร์เดาราห์ (Jibir-Daura. 2013 : 112-116) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับการใช้กิจกรรมโดย
ใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส เป็นแนวทางในการสอนและพัฒนาความเข้าใจในการฟังของผู้เรียน
โดยวัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ เพื่อสารวจว่ากิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสนั้น
สามารถที่จะทาให้ผู้ฟังบอกความแตกต่างระหว่างความสามารถทางภาษาที่ผู้เรียนมีอยู่และ
ความสามารถของภาษาที่ตั้งเป้าไว้ โดยมีกลุ่มประชากร คือ นักศึกษาจานวน 20 คน จากสาขา
ภาษาศาสตร์ โดยครูจะเปิดเนื้อหาให้ผู้เรียนฟังรอบแรกโดยที่ยังไม่ต้องให้จดอะไรเพื่อให้ผู้เรียนจับ-
ใจความสาคัญของเรื่อง จากนั้นครูเปิดเนื้อหาอีกครั้งเพื่อให้ผู้เรียนเขียนเนื้อหาที่สาคัญ หลังจากนั้นครู
เปิดเนื้อหาอีกครั้งเพื่อให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบในสิ่งที่ตัวเองเขียนแต่ยังไม่ให้ปรับแก้และในขั้น
การสร้างใหม่ ครูให้ผู้เรียนปรับแก้เนื้อหา ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ออกมา พบว่าผู้เรียนสามารถบอก
ความแตกต่างระหว่างภาษาที่มีอยู่กับภาษาเป้าหมายได้ โดยเทียบจากเนื้อหาที่ตัวเองเขียนกับเนื้อหา
ต้นฉบับที่ครูเปิดให้ฟัง
4. ผลการวิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประสิทธิภาพการทางานกลุ่มกับ
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่ามีความสอดคล้องกันจานวน 3 แผน คิดเป็นร้อยละ
75 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ กล่าวคือ ถ้าผู้เรียนมีประสิทธิภาพการทางานกลุ่มสูง ประสิทธิภาพ
ในการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสก็จะ
สูงตามไปด้วย ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่าผู้เรียนมี
ประสิทธิภาพในการทางานกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 77.6 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนา
ทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 68.03
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 พบว่า ผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการทางานกลุ่มคิดเป็นร้อยละ 73.2
และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 65.47 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 พบว่าผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการทางาน
กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 72 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ
โดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 73.03 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พบว่า ผู้เรียน
มีประสิทธิภาพในการทางานกลุ่มคิดเป็นร้อยละ 69.6 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนา
ทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 65.43 และจาก
การสังเกตผู้เรียนในขณะทากิจกรรมกลุ่มพบว่าผู้เรียนมีความสนุกสนาน เกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยน
ข้อมูลกัน ก่อให้เกิดความหลากหลายและความแตกต่างทางความคิดเห็น ซึ่งสอดคล้องกับฮาร์เมอร์
(Harmer. 2013 : 166) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการทางานกลุ่มไว้ว่า การทางานกลุ่มช่วยให้ผู้เรียน
แต่ละคนได้มีโอกาสพูดคุยและปรึกษากับเพื่อนมากขึ้น ก่อให้เกิดความหลากหลายและความแตกต่าง
ทางความคิดเห็น ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีอิสระในการทางานและแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเต็มที่
โดยไม่ต้องมีครูมาบังคับและช่วยให้ผู้เรียนรู้หน้าที่ในการทางานที่เหมาะสมกับตัวเองได้ ดังนั้น
ในการพัฒนาทักษะการฟังผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
ดิกโตกลอสช่วยพัฒนาทักษะการทางานกลุ่มของผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.1 ผู้สอนไม่ควรเลือกเนื้อหาที่มีความยาวมากจนเกินไป เพราะจะทาให้ผู้เรียนจดจา
รายละเอียดสาคัญของเรื่องไม่ได้
1.2 ผู้สอนควรเลือกใช้เสียงที่ผู้พูดออกเสียงชัดเจน
1.3 ผู้สอนควรเลือกใช้กิจกรรมที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
พัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
1.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องใช้เวลาอย่างต่อเนื่องกัน
อย่างเพียงพอในการทากิจกรรม ผู้สอนไม่ควรเร่งรัดคาตอบเพื่อเร่งเวลาปฏิบัติการของผู้เรียน
เพียงแต่คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนทากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และควรให้ผู้เรียนได้มีเวลาในการปฏิบัติ
ให้เกิดการคิดอย่างเป็นระบบอย่างเพียงพอ
2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ เพิ่มนอกเหนือจากการทางานกลุ่ม เช่น แรงจูงใจ
เป็นต้น
2.2 ควรมีการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ ร่วมกับทักษะการฟังของผู้เรียนด้วย เช่น
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนผ่านกิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส
เพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ
2.3 ควรมีการศึกษาระยะยาวเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ
การคิดวิเคราะห์ตามช่วงพัฒนาการของผู้เรียน
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ,
2546.
กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2552.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2552.
Bennett, J. M. (1991). Four power of communication: Skills for effective learning.
New York: Mcgraw-Hill.
Berman, M. (2003). Advance listening: Listening strategy guide lectures 4-6. DynEd
International, Inc.
Burke, A. (2011). Group work: How to use groups effectively. The Journal of
Effective Teaching, 11(2), 87-95. Retrieved July 1, 2015, from
uncw.edu/cte/et/articles/Vol11_2/Burke.pdf
Burns, A. & Richards. (2012). Pedagogy and practice in second language teaching.
New York: Cambridge University press.
Chen, B. (2013). Group Evaluation. In K. Thompson and B. Chen (Eds.), Teaching
online pedagogical repository. Orlando, FL: University of Central Florida Center
for Distributed Learning. Retrieved July 19, 2015, from
https://topr.online.ucf.edu/ index.php?title=Group_Evaluation&oldid=2672
Corey, S. & Corey, G. (1992). Groups: process and practice. Pacific Grove,
California: Brooks Cole.
Downs, L. J. (2008). Listening skills training. U.S.A: the American Society for
Training and Development. Retrieved June 9, 2015, from
https://books.google.co.th/books?hl=en&lr=&id=e07HJW6UxSoC&oi=fnd&pg=PR
9&dq=Downs+2008+teaching+listening&ots=iM8QlJ0WwS&sig=6IbDj0XCOx4v_32l
rQnBIldTfII&redir_esc=y#v=onepage&q=Downs%202008%20teaching%20listening
&f=false
Flowerdew, J., & Miller, L. (2006). Second language listening: Theory and practice.
U.S.A: Cambridge language education.
Harmer, J. (1998). How to teach English: An introduction to the practice of English
language teaching. England: Longman.
Harmer, J. (2013). The practice of English language teaching. China: Pearson
Education Limited.
Helgesen, M. “Listening” in David Nunan (Editor) Practical English Lauguage
Teaching. (First Edition). Singapore: Mc GrawHill, 2003.
Jacobs, G. & Small, J. (2003). Combining dictogloss and cooperative learning to
promote language learning. The Reading Matrix Journal, 3(1), 1-2.
Retrieved June 9, 2015, from
http://www.readingmatrix.com/articles/jacobs_small/article.pdf
Jaques, D. (2000). Learning in groups: A handbook for improving group work.
London: Kogan Page.
Jibir-Daura, R. (2013). Using dictogloss as an interactive method of teaching
listening comprehension. Advances in Language and Literary Studies, 4(2), 1-5.
DOI: 10.7575/aiac.alls.v.4n.2p.112
Kutnick, P. & Blatchford, P. (2014). Effective group work in primary school classrooms.
New York: Springer Dordrecht Heidelberg. Retrieved July 2, 2015, from
http://link.springer.com/book/10.1007/978-94-007-6991-5
Lock, A. (2013). Teaching speaking and listening: One step at a time, Revised
Edition. London: Bloomsbury publishing plc.
Nation, I. S. P., & Newton, J. (2009). Teaching ESL/EFL speaking and listening.
New York: Routledge Taylor & Francis.
Prince, P. (2013). Listening, remembering, writing: Exploring the dictogloss task.
Language Teaching Research, 17(4), 486-500.
DOI: 10.1177/1362168813494123
Race, P. (2000). 500 tips on group learning. London: Kogan Page.
Saricoban, A. (1999). The teaching of listening. The Internet TESL Journal, 5.
Retrieved June 9, 2015, from http://iteslj.org/Articles/Saricoban-Listening.html
Schwartz, M. (1998). Listening in foreign language, Center for Applied Linguistics, 98 (12),
10-13.
Timothy, F. (2012). Group dynamics and team interventions: Understanding and
improving team performance. England: Wiley-Blackwell.
Tyagi, B. (2013). Listening : An important skill and its various aspects. The Criterion
an International Journal in English, 12, 1-8.
Vandergrift, L. (2004). Listening to learn or learning to listen?, Annual Review of
Applied Linguistics, 24(1), 3 - 25. DOI: 10.1017/S0267190504000017
Vasiljevic, Z. (2010). Dictogloss as an interactive method of teaching listening
comprehension to L2 learners. Language Teaching, 3(1), 41. Retrieved June
10, 2015, from
http://www.ccsenet.org/journal/index.php/elt/article/view/5212/4329
Wilson, M. (2003). Discovery listening- improving perceptual processing. ELT
Journal, 57(4), 337-339. Retrieved June 10, 2015, from
http://203.72.145.166/elt/files/57-4-2.pdf

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
misspornpun
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
Teacher Sophonnawit
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
kruwanida
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
Nontaporn Pilawut
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษYoo Ni
 
211 578-1-pb
211 578-1-pb211 578-1-pb
211 578-1-pb
Natnicha Thanachai
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
thitiya Pasomboon
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Krudoremon
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
Areeya Hongsuwan
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
Aphitsada Phothiklang
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
gradgrad gradgrad
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
211 578-1-pb
211 578-1-pb211 578-1-pb
211 578-1-pb
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมออนไลน์
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
คอมคอม
คอมคอมคอมคอม
คอมคอม
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 

Viewers also liked

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clilแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
Wanida Keawprompakdee
 
FY2006 Results
FY2006 ResultsFY2006 Results
FY2006 Results
Magnit IR Team
 
9M 2006 Results
9M 2006 Results9M 2006 Results
9M 2006 Results
Magnit IR Team
 
Reading
ReadingReading
2014 3 d-printing technology - additive manufacturing
2014   3 d-printing technology - additive manufacturing2014   3 d-printing technology - additive manufacturing
2014 3 d-printing technology - additive manufacturing
SME_Engagement
 
Spice Holidays: Best Tourism Company in Gurgaon
Spice Holidays: Best Tourism Company in GurgaonSpice Holidays: Best Tourism Company in Gurgaon
Spice Holidays: Best Tourism Company in Gurgaon
Rivervalley8
 
AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14
AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14
AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14
SME_Engagement
 
1H 2012 Results
1H 2012 Results1H 2012 Results
1H 2012 Results
Magnit IR Team
 
Tbl
TblTbl
Writing
WritingWriting
A challenging business opportunity for Freelancers
A challenging business opportunity for FreelancersA challenging business opportunity for Freelancers
A challenging business opportunity for Freelancers
LIC of India
 
Urban champion xxx
Urban champion xxxUrban champion xxx
Urban champion xxx
Ferris Oliver, MAED/AET
 
何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか
何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか
何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか
一貴 加藤
 
FY 2013 Results
FY 2013 ResultsFY 2013 Results
FY 2013 Results
Magnit IR Team
 
Magnit 1 h2015_rus
Magnit 1 h2015_rusMagnit 1 h2015_rus
Magnit 1 h2015_rus
Magnit IR Team
 
Magnit fy2015
Magnit fy2015Magnit fy2015
Magnit fy2015
Magnit IR Team
 
Effective facilitators
Effective facilitatorsEffective facilitators
Effective facilitators
Ferris Oliver, MAED/AET
 
Magnit 1H2015 Operating Results_rus
Magnit 1H2015 Operating Results_rusMagnit 1H2015 Operating Results_rus
Magnit 1H2015 Operating Results_rus
Magnit IR Team
 
1H2008 Results
1H2008 Results1H2008 Results
1H2008 Results
Magnit IR Team
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clilแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
 
FY2006 Results
FY2006 ResultsFY2006 Results
FY2006 Results
 
9M 2006 Results
9M 2006 Results9M 2006 Results
9M 2006 Results
 
Reading
ReadingReading
Reading
 
2014 3 d-printing technology - additive manufacturing
2014   3 d-printing technology - additive manufacturing2014   3 d-printing technology - additive manufacturing
2014 3 d-printing technology - additive manufacturing
 
Spice Holidays: Best Tourism Company in Gurgaon
Spice Holidays: Best Tourism Company in GurgaonSpice Holidays: Best Tourism Company in Gurgaon
Spice Holidays: Best Tourism Company in Gurgaon
 
AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14
AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14
AMTIL Additive Manufacturing Hub - Aug 14
 
1H 2012 Results
1H 2012 Results1H 2012 Results
1H 2012 Results
 
Tbl
TblTbl
Tbl
 
Writing
WritingWriting
Writing
 
A challenging business opportunity for Freelancers
A challenging business opportunity for FreelancersA challenging business opportunity for Freelancers
A challenging business opportunity for Freelancers
 
Urban champion xxx
Urban champion xxxUrban champion xxx
Urban champion xxx
 
何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか
何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか
何故ネット通販会社であるしのびやがVRのベンチャーをするのか
 
FY 2013 Results
FY 2013 ResultsFY 2013 Results
FY 2013 Results
 
Magnit 1 h2015_rus
Magnit 1 h2015_rusMagnit 1 h2015_rus
Magnit 1 h2015_rus
 
Magnit fy2015
Magnit fy2015Magnit fy2015
Magnit fy2015
 
Effective facilitators
Effective facilitatorsEffective facilitators
Effective facilitators
 
Magnit 1H2015 Operating Results_rus
Magnit 1H2015 Operating Results_rusMagnit 1H2015 Operating Results_rus
Magnit 1H2015 Operating Results_rus
 
1H2008 Results
1H2008 Results1H2008 Results
1H2008 Results
 

Similar to บทที่ 5

คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
SujittraTabmanee1
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
Gratae
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหาGratae
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
sitharukkhiansiri
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...
Siriratbruce
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
Salisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
Salisa Khonkhayan
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
โรงเรียนเดชอุดม
 
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
sitharukkhiansiri
 
Chapter 5 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 5   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 5   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 5 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
aphithak
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
Kroo Keng
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)Art Nan
 
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยรายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
khanidthakpt
 
Sar 58 wichai li
Sar 58 wichai liSar 58 wichai li
Sar 58 wichai li
Wichai Likitponrak
 
Nutthayapopol16
Nutthayapopol16Nutthayapopol16

Similar to บทที่ 5 (20)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ ๕
บทที่ ๕บทที่ ๕
บทที่ ๕
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
 
Chapter 5 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 5   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 5   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 5 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)
 
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยรายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 
Sar 58 wichai li
Sar 58 wichai liSar 58 wichai li
Sar 58 wichai li
 
Nutthayapopol16
Nutthayapopol16Nutthayapopol16
Nutthayapopol16
 

More from Wanida Keawprompakdee

Listening
ListeningListening
Cbi
CbiCbi
Abstract
AbstractAbstract
Speaking
SpeakingSpeaking
Clil
ClilClil
B slim
B slimB slim
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ callแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbiแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tblแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
Wanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slimแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim
Wanida Keawprompakdee
 

More from Wanida Keawprompakdee (14)

Listening
ListeningListening
Listening
 
Cbi
CbiCbi
Cbi
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
Speaking
SpeakingSpeaking
Speaking
 
Clil
ClilClil
Clil
 
B slim
B slimB slim
B slim
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ callแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim สำหรับทำ call
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbiแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tblแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slimแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ B slim
 

บทที่ 5

  • 1. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งเป็นการพัฒนาความสามารถทักษะการฟังภาษาอังกฤษของผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีขั้นตอนและผลของการศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1. ความมุ่งหมายของการวิจัย 2. สรุปผลการวิจัย 3. อภิปรายผล 4. ข้อเสนอแนะ ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ ตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ ตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังใช้ กิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส 4. เพื่อวิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประสิทธิภาพการทางานกลุ่มกับประสิทธิภาพ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาค้นคว้าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส เพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปรากฏผลดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 67.99/92.13 ซึ่งไม่เป็นไปตาม เกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอสของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0.72 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้า ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 72.25 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05
  • 2. 4. ผลการวิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประสิทธิภาพการทางานกลุ่มกับ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่ามีความสอดคล้องกัน อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอส ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประเด็นที่นามาอภิปราย ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส ผ่านการเขียนของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นนั้นมีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 67.99/92.13 หมายความว่า ผู้เรียนทั้งหมดได้คะแนนเฉลี่ยระหว่างเรียนที่ผู้เรียนทุกคนได้จากคะแนน เข้าชั้นเรียนและใบงานคิดเป็นร้อยละ 67.99 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนของผู้เรียนทุกคนที่ได้จาก การทาแบบทดสอบทักษะการฟังภาษาอังกฤษหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 92.13 ซึ่งไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ผู้เรียนไม่คุ้นชินกับการฟังสาเนียงเจ้าของภาษา ขาดการฝึกฝน การมี ทัศนคติเชิงลบต่อการเรียนภาษาอังกฤษและปัจจัยรบกวนภายนอก สอดคล้องกับผลงานวิจัยของไทยากิ (Tyagi. 2013 : 6-7) ที่ได้กล่าวถึงอุปสรรคการฟังว่า การฟังนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายและมีอุปสรรค ที่ขัดขวางไม่ให้การฟังประสบความสาเร็จอยู่หลายประการ ดังนี้ 1.1 อุปสรรคทางวัฒนธรรม (Cultural Barriers) คือ สาเนียงสามารถเป็นอุปสรรค ในการฟังได้ เพราะการออกเสียงต่างกัน อาจทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไปจากเดิม ปัญหาของ สาเนียงที่มีความแตกต่างกันนี้ไม่ได้เกิดขึ้นระหว่างวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นภายในตัววัฒนธรรม เองด้วย ตัวอย่างเช่น ในประเทศอินเดียที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละภูมิภาคจะมีสาเนียง ที่แตกต่างกันไป 1.2 การขาดการฝึกฝน (Lack of training) คือ การฟังไม่ใช่ทักษะที่ติดตัวมาแต่เกิด ผู้คนไม่ได้เกิดมาเป็นผู้ฟังที่ดี จึงต้องมีการพัฒนาการฟังด้วยการปฏิบัติและการฝึกฝน การขาดการฝึกฝน จึงเป็นอุปสรรคสาคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการฟังเป็นอย่างมาก 1.3 อุปสรรคทางทัศนคติ (Attitudinal Barriers) คือ การเชื่อว่าตัวเองนั้นมีความรู้ มากกว่าผู้พูด หรือคิดว่าไม่มีสิ่งแปลกใหม่ให้เรียนรู้จากความคิดของผู้พูด บุคคลที่มีทัศนคติเช่นนี้มักจะ เป็นผู้ฟังที่ไม่มีคุณภาพ 1.4 อุปสรรคทางกายภาพ (Physical Barriers) คือ อุปสรรคที่เกี่ยวกับสิ่งรบกวน ภายนอก เช่น เสียงของเครื่องปรับอากาศ เสียงรถยนต์ เสียงพูดคุยของเพื่อนในห้องเรียน อุณหภูมิห้อง ที่ร้อนหรือหนาวเกินไป ซึ่งสามารถรบกวนกระบวนการฟังได้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประสิทธิภาพของกิจกรรมจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ค่าประสิทธิผล ถือว่าอยู่ในระดับที่เกินครึ่ง
  • 3. 2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ ตามแนวดิกโตกลอสผ่านการเขียนของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มผู้วิจัยได้นาผลการทดลอง ของผู้เรียนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนมาวิเคราะห์หาค่าดัชนี ประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่าดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.72 หรือคิดเป็นร้อยละ 72.25 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอสที่มีการวางแผนการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมและสื่อที่แตกต่างไปจากที่ผู้เรียนเคยเรียน ผู้เรียนจึงมีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลงานวิจัยของพริ้นส์ (Prince. 2013 : 486-500) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับการใช้ กิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสเพื่อพัฒนาการฟัง การจา และการเขียนของผู้เรียน ซึ่งวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ คือ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจของผู้เรียนในการเรียน ภาษาอังกฤษ และผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าทักษะการฟังของผู้เรียนนั้นอยู่ในระดับที่ค่อนข้างดี โดยความสามารถในทักษะการฟังนั้นสะท้อนผลด้วยทักษะการเขียน ซึ่งแสดงผลได้ชัดเจนว่าการจัด การเรียนรู้การฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส ช่วยพัฒนาการฟัง และการเขียนของผู้เรียนให้ดีขึ้น 3. ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทักษะการฟังภาษาอังกฤษก่อนและหลังใช้กิจกรรมพัฒนา ทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส พบว่าคะแนนการสอบก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 71.65 หลังจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้ กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส พบว่าคะแนนการสอบหลังเรียนของผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 92.15 เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียนแล้วนั้น จะเห็นได้ว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ 0.05 ทั้งนี้เนื่องจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้ กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสของผู้เรียนมีกระบวนการทากิจกรรมที่เป็นขั้นตอนเพื่อช่วยให้ผู้เรียน สามารถเข้าใจและบอกความแตกต่างของภาษาที่ผู้เรียนมีกับภาษาเป้าหมายได้ โดยผลวิจัยนั้นเป็นไป ตามที่ ไจเบอร์เดาราห์ (Jibir-Daura. 2013 : 112-116) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับการใช้กิจกรรมโดย ใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส เป็นแนวทางในการสอนและพัฒนาความเข้าใจในการฟังของผู้เรียน โดยวัตถุประสงค์ของงานวิจัย คือ เพื่อสารวจว่ากิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสนั้น สามารถที่จะทาให้ผู้ฟังบอกความแตกต่างระหว่างความสามารถทางภาษาที่ผู้เรียนมีอยู่และ ความสามารถของภาษาที่ตั้งเป้าไว้ โดยมีกลุ่มประชากร คือ นักศึกษาจานวน 20 คน จากสาขา ภาษาศาสตร์ โดยครูจะเปิดเนื้อหาให้ผู้เรียนฟังรอบแรกโดยที่ยังไม่ต้องให้จดอะไรเพื่อให้ผู้เรียนจับ- ใจความสาคัญของเรื่อง จากนั้นครูเปิดเนื้อหาอีกครั้งเพื่อให้ผู้เรียนเขียนเนื้อหาที่สาคัญ หลังจากนั้นครู เปิดเนื้อหาอีกครั้งเพื่อให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบในสิ่งที่ตัวเองเขียนแต่ยังไม่ให้ปรับแก้และในขั้น การสร้างใหม่ ครูให้ผู้เรียนปรับแก้เนื้อหา ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ออกมา พบว่าผู้เรียนสามารถบอก ความแตกต่างระหว่างภาษาที่มีอยู่กับภาษาเป้าหมายได้ โดยเทียบจากเนื้อหาที่ตัวเองเขียนกับเนื้อหา ต้นฉบับที่ครูเปิดให้ฟัง 4. ผลการวิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประสิทธิภาพการทางานกลุ่มกับ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว
  • 4. ดิกโตกลอสของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่ามีความสอดคล้องกันจานวน 3 แผน คิดเป็นร้อยละ 75 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ กล่าวคือ ถ้าผู้เรียนมีประสิทธิภาพการทางานกลุ่มสูง ประสิทธิภาพ ในการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสก็จะ สูงตามไปด้วย ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่าผู้เรียนมี ประสิทธิภาพในการทางานกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 77.6 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนา ทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 68.03 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 พบว่า ผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการทางานกลุ่มคิดเป็นร้อยละ 73.2 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 65.47 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 พบว่าผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการทางาน กลุ่มคิดเป็นร้อยละ 72 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ โดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 73.03 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พบว่า ผู้เรียน มีประสิทธิภาพในการทางานกลุ่มคิดเป็นร้อยละ 69.6 และมีประสิทธิภาพการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมพัฒนา ทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส คิดเป็นร้อยละ 65.43 และจาก การสังเกตผู้เรียนในขณะทากิจกรรมกลุ่มพบว่าผู้เรียนมีความสนุกสนาน เกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยน ข้อมูลกัน ก่อให้เกิดความหลากหลายและความแตกต่างทางความคิดเห็น ซึ่งสอดคล้องกับฮาร์เมอร์ (Harmer. 2013 : 166) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการทางานกลุ่มไว้ว่า การทางานกลุ่มช่วยให้ผู้เรียน แต่ละคนได้มีโอกาสพูดคุยและปรึกษากับเพื่อนมากขึ้น ก่อให้เกิดความหลากหลายและความแตกต่าง ทางความคิดเห็น ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีอิสระในการทางานและแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องมีครูมาบังคับและช่วยให้ผู้เรียนรู้หน้าที่ในการทางานที่เหมาะสมกับตัวเองได้ ดังนั้น ในการพัฒนาทักษะการฟังผ่านกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนว ดิกโตกลอสช่วยพัฒนาทักษะการทางานกลุ่มของผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 ผู้สอนไม่ควรเลือกเนื้อหาที่มีความยาวมากจนเกินไป เพราะจะทาให้ผู้เรียนจดจา รายละเอียดสาคัญของเรื่องไม่ได้ 1.2 ผู้สอนควรเลือกใช้เสียงที่ผู้พูดออกเสียงชัดเจน 1.3 ผู้สอนควรเลือกใช้กิจกรรมที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม พัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอสให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องใช้เวลาอย่างต่อเนื่องกัน อย่างเพียงพอในการทากิจกรรม ผู้สอนไม่ควรเร่งรัดคาตอบเพื่อเร่งเวลาปฏิบัติการของผู้เรียน เพียงแต่คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนทากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และควรให้ผู้เรียนได้มีเวลาในการปฏิบัติ ให้เกิดการคิดอย่างเป็นระบบอย่างเพียงพอ 2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ เพิ่มนอกเหนือจากการทางานกลุ่ม เช่น แรงจูงใจ เป็นต้น
  • 5. 2.2 ควรมีการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ ร่วมกับทักษะการฟังของผู้เรียนด้วย เช่น การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของผู้เรียนผ่านกิจกรรมโดยใช้กระบวนการตามแนวดิกโตกลอส เพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ 2.3 ควรมีการศึกษาระยะยาวเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ การคิดวิเคราะห์ตามช่วงพัฒนาการของผู้เรียน
  • 6. บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2546. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2552. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2552. Bennett, J. M. (1991). Four power of communication: Skills for effective learning. New York: Mcgraw-Hill. Berman, M. (2003). Advance listening: Listening strategy guide lectures 4-6. DynEd International, Inc. Burke, A. (2011). Group work: How to use groups effectively. The Journal of Effective Teaching, 11(2), 87-95. Retrieved July 1, 2015, from uncw.edu/cte/et/articles/Vol11_2/Burke.pdf Burns, A. & Richards. (2012). Pedagogy and practice in second language teaching. New York: Cambridge University press. Chen, B. (2013). Group Evaluation. In K. Thompson and B. Chen (Eds.), Teaching online pedagogical repository. Orlando, FL: University of Central Florida Center for Distributed Learning. Retrieved July 19, 2015, from https://topr.online.ucf.edu/ index.php?title=Group_Evaluation&oldid=2672 Corey, S. & Corey, G. (1992). Groups: process and practice. Pacific Grove, California: Brooks Cole. Downs, L. J. (2008). Listening skills training. U.S.A: the American Society for Training and Development. Retrieved June 9, 2015, from https://books.google.co.th/books?hl=en&lr=&id=e07HJW6UxSoC&oi=fnd&pg=PR 9&dq=Downs+2008+teaching+listening&ots=iM8QlJ0WwS&sig=6IbDj0XCOx4v_32l rQnBIldTfII&redir_esc=y#v=onepage&q=Downs%202008%20teaching%20listening &f=false Flowerdew, J., & Miller, L. (2006). Second language listening: Theory and practice. U.S.A: Cambridge language education.
  • 7. Harmer, J. (1998). How to teach English: An introduction to the practice of English language teaching. England: Longman. Harmer, J. (2013). The practice of English language teaching. China: Pearson Education Limited. Helgesen, M. “Listening” in David Nunan (Editor) Practical English Lauguage Teaching. (First Edition). Singapore: Mc GrawHill, 2003. Jacobs, G. & Small, J. (2003). Combining dictogloss and cooperative learning to promote language learning. The Reading Matrix Journal, 3(1), 1-2. Retrieved June 9, 2015, from http://www.readingmatrix.com/articles/jacobs_small/article.pdf Jaques, D. (2000). Learning in groups: A handbook for improving group work. London: Kogan Page. Jibir-Daura, R. (2013). Using dictogloss as an interactive method of teaching listening comprehension. Advances in Language and Literary Studies, 4(2), 1-5. DOI: 10.7575/aiac.alls.v.4n.2p.112 Kutnick, P. & Blatchford, P. (2014). Effective group work in primary school classrooms. New York: Springer Dordrecht Heidelberg. Retrieved July 2, 2015, from http://link.springer.com/book/10.1007/978-94-007-6991-5 Lock, A. (2013). Teaching speaking and listening: One step at a time, Revised Edition. London: Bloomsbury publishing plc. Nation, I. S. P., & Newton, J. (2009). Teaching ESL/EFL speaking and listening. New York: Routledge Taylor & Francis. Prince, P. (2013). Listening, remembering, writing: Exploring the dictogloss task. Language Teaching Research, 17(4), 486-500. DOI: 10.1177/1362168813494123 Race, P. (2000). 500 tips on group learning. London: Kogan Page. Saricoban, A. (1999). The teaching of listening. The Internet TESL Journal, 5. Retrieved June 9, 2015, from http://iteslj.org/Articles/Saricoban-Listening.html Schwartz, M. (1998). Listening in foreign language, Center for Applied Linguistics, 98 (12), 10-13. Timothy, F. (2012). Group dynamics and team interventions: Understanding and improving team performance. England: Wiley-Blackwell.
  • 8. Tyagi, B. (2013). Listening : An important skill and its various aspects. The Criterion an International Journal in English, 12, 1-8. Vandergrift, L. (2004). Listening to learn or learning to listen?, Annual Review of Applied Linguistics, 24(1), 3 - 25. DOI: 10.1017/S0267190504000017 Vasiljevic, Z. (2010). Dictogloss as an interactive method of teaching listening comprehension to L2 learners. Language Teaching, 3(1), 41. Retrieved June 10, 2015, from http://www.ccsenet.org/journal/index.php/elt/article/view/5212/4329 Wilson, M. (2003). Discovery listening- improving perceptual processing. ELT Journal, 57(4), 337-339. Retrieved June 10, 2015, from http://203.72.145.166/elt/files/57-4-2.pdf