SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
จัดทำโดย
นำย ประณต วิริบูลย์ ชั้นม.5/4 เลขที่ 3
เสนอ
อำจำรย์ สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจำรีย์
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนคริทร์ ร้อยเอ็ด
การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ และพระบรมราชจักรีวงศ์ กับการ
ประเทศอิสระภาพของสหรัฐอเมริกา อยู่ในห้วงเวลาใกล้เคียงกัน
มาก ต่างกันเพียง ๖ ปีเท่านั้นคือ เหตุการณ์แรกเกิดเมื่อปี พ.ศ.
๒๓๒๕ และเหตุการณ์หลังเกิดเมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๙ และหลังจากนั้นไม่
นานประเทศทั้งสองก็ได้มีสัมพันธไมตรีต่อกัน
เรือกาปั่นของชาวอเมริกันลาแรก มีกัปตันแฮน เป็นนาย
เรือได้แล่นเข้ามาในลาน้าเจ้าพระยาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๔
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรือลานี้ได้
บรรทุกสินค้ารวมทั้งปืนคาบศิลาที่ทางราชอาณาจักรไทยต้องการ
กัปตันแฮนได้ถวายปืนคาบศิลา ๕๐๐ กระบอก นับเป็นการทาความ
ดีความชอบ จึงได้รับพระราชทานสิ่งของตอบแทนจนคุ้มราคาปืน
และยังได้รับยกเว้นภาษีส่วนหนึ่ง ทั้งยังได้รับพระราชทาน
บรรดาศักดิ์ให้เป็น ขุนภักดีราช
หลังจากกัปตันแฮนก็มาถึงยุคของมิชชันนารีอเมริกัน ซึ่งมีบทบาท
ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสอง
งานเผยแพร่คริสตศาสนาในพระราชอาณาจักรไทยนั้น บาทหลวง
จากนิกายโรมันทาธอลิค ได้เริ่มมาแล้วตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช ในสมัยอยุธยา แต่งานของมิชชันนารีจากนิกายโป
รแตสแตนท์ เพิ่งจะเริ่มในสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๑ โดย
ศาสนาจารย์สองคนจากสมาคมมิชชันนารีลอนดอน และสมาคม
มิชชันนารีเนเทอร์แลนด์ ทั้งสองคนได้มาพักอยู่ที่บ้านคาโลส เดอซิล
เวรา กงสุลโปรตุเกส ซึ่งเป็นกงสุลชาวตะวันตกคนแรกในสมัย
รัตนโกสินทร์ มิชชันนารีทั้งสองได้นาคาสอนเป็นภาษาจีนมาแจกจ่าย
ให้บรรดาคนจีนในกรุงเทพ ฯ พร้อมทั้งแจกยารักษาโรค ทาง
ราชการของไทยเกรงว่าจะเป็นการยุยงปลุกปั่นคนจีนในพระ
ราชอาณาจักรไทย ซึ่งมีอยู่เป็นจานวนมาก จึงสั่งห้ามแจกหนังสือแก่
คนไทย ต่อมามิชชันนารีทั้งสองได้ขอความช่วยเหลือไปยัง
คริสตจักรที่สหรัฐอเมริกา ขอให้ส่งมิชชันนารีมาเพิ่มเติม จดหมาย
ฉบับดังกล่าวได้ส่งไปกับ กัปตันเรือสินค้าชื่อ กัปตัน เอเบิล คอฟฟิน
เรือลานี้ได้นาฝาแฝดไทยคือ อินกับจัน ไปอเมริกาด้วย ในปี พ.ศ.
๒๓๗๑ นับเป็นครั้งแรกที่คนไทยได้เดินทางไปอเมริกา และคาว่า แฝด
สยาม ก็เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก
มิชชันนารีอเมริกันคนแรกเดินทางมาถึงเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ.
๒๓๗๔ คือ หมอ เดวิด เอบีล ความจริงงานเผยแพร่ศาสนาของ
มิชชันนารีอเมริกัน ต่อคนไทยครั้งแรกได้เริ่มขึ้นแล้วหลายปีก่อน
หน้านั้น โดยมิชชันนารีอเมริกันในพม่า นั่นคือในปี พ.ศ.๒๓๖๑ ณ
หมู่บ้านคนไทยแห่งหนึ่งในเมืองย่างกุ้ง นางแอน เฮเซนทีน จัดสัน
มิชชันนารีอเมริกันได้เข้าไปเผยแพร่ศาสนาในพม่าพร้อมสามี ได้
พยายามศึกษาภาษาไทยกับคนไทยในหมู่บ้านนั้นเป็นเวลาปีเศษ คน
ไทยในหมู่บ้านดังกล่าวน่าจะเป็นคนไทยที่ตกไปอยู่ในพม่าครั้งกรุงศรี
อยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อ ปี พ.ศ.๒๓๑๐
นางแอน จัดสันได้แปลคัมภีร์บางบทออกเป็นภาษาไทย และด้วย
ความช่วยเหลือของมิชชันนารีอเมริกันอีกผู้หนึ่งคือ ยอร์ช เอช เฮาห์
ซึ่งมีความรู้เป็นช่างพิมพ์ได้หล่อตัวพิมพ์ภาษาไทยชุดแรก เพื่อพิมพ์
คาสอนเป็นภาษาไทยขึ้นที่เมืองย่างกุ้ง เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๒ แท่นพิมพ์
และตัวพิมพ์ชุดนี้ต่อมาได้ตกมาอยู่ในความครองครองของสมาคม
มิชชันนารีลอนดอนที่สิงคโปร์ ดังนั้นจึงได้มีการนาคัมภีร์ภาษาไทย
ไปพิมพ์ที่สิงคโปร์
คณะมิชชันนารีอเมริกันที่เดินทางเข้ามายังเมืองไทยนั้นมีอยู่หลาย
คณะด้วยกัน ที่สาคัญอเมริกันแบบทิสต์ บอร์ด และอเมริกัน บอร์ด
ออฟ คอมมิชชันเนอร์ ฟอร์ ฟอเรน มิชชัน ต่อมาทั้งสองคณะได้รวม
เป็นพวกเดียวกัน
เรียกชื่อย่อว่า คณะ เอ.บี.ซี.เอฟ.เอ็ม. คนสาคัญในคณะทั้งสองนี้ มี
หมอเดวิด เอบีล หมอชาลล์ รอบินสัน และหมอบีช บรัดเลย์ เป็นต้น
มิชชันนารีเหล่านี้ส่วนมากเดินทางมาพร้อมกับภรรยา ซึ่งทาหน้าที่
เป็นมิชชันนารีเช่นกัน บ้างก็เดินทางมาจากพม่า และบ้างก็เดินทาง
มาจากอเมริกา มิชชันนารีที่มีบทบาทสาคัญอีกคณะหนึ่งคือ คณะ
เพรสไบทีเรียน ที่เริ่มเดินทางมาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๑ คน
สาคัญในคณะนี้คือ รอเบิต ออร์ ผู้มาถึงคนแรก ต่อมามี หมอสตี
เฟน แมตตูน หมอ แซมวล เฮาส์ หมอ แดเนียล แมกกิลวารี และ
หมอ เอส.ยี.แบดฟาร์แลนด์ เป็นต้น
การเข้ามาของมิชชันนารีอเมริกัน นอกจากนาศาสนาคริสเตียน
เข้ามาเผยแพร่แล้ว ก็ได้นาเอาการแพทย์และการศึกษาแผนใหม่ เข้า
มาทาประโยชน์ในเมืองไทยด้วย
ผลงานด้านเผยแพร่ศาสนา
เดวิด เอบีล เดินทางมาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๔ พร้อมหมอ
ทอมลินซึ่งกลับจากสิงคโปร์ ได้พักอยู่ที่สถานกงสุลโปรตุเกส หมอ
ทอมลินได้นายารักษาโรค และหนังสือสอนศาสนาทั้งภาษาจีน และ
ภาษาไทยมาแจกจ่ายอีกครั้งหนึ่ง หมอ เอบีล ได้มีหนังสือไปยัง
คริสตจักรที่อเมริกา ให้ส่งมิชชันนารีมาเมืองไทยอีก
อีก สมาคมศาสนาคณะต่าง ๆ ในอเมริกา ได้ส่งมิชชันนารีเข้ามาไม่
ขาดสาย และได้ขยายงานออกไปยังจังหวัดต่าง ๆ เกือบทั่วพระ
ราชอาณาจักรไทย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงขัดขวางกาย
เผยแพร่ศาระยะแรก ๆ ทางราชการห้ามแจกคาสอนในหมู่คนไทย
ด้วยกัน ด้วยยังไม่แน่ใจเจตจานงค์ของมิชชันนารีที่เข้ามาใหม่เท่าใด
นัก พวกมิชชันนารีก็ตระหนักในความจริงว่าเมืองไทยเป็นดินแดนที่
ไม่มีการต่อต้าน ทาร้าย และทารุณพวกมิชชันนารีเหมือนดินแดน
บางแห่งในเอเซียสนาแต่อย่างใด เพียงแต่ใน
คณะมิชชันนารีได้สร้างโบสถ์ขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงเทพ ฯ เมื่อปี
พ.ศ.๒๓๘๐ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๑ ได้มีมิชชันนารีคณะเพรสไบที
เรียน จากอเมริกามาสมทบ งานขยายงานออกนอกกรุงเทพ ฯ ยัง
ไม่ได้เริ่มจนกระทั่งอีกประมาณ ๒๐ ปีต่อมา จังหวัดแรกที่คณะ
มิชชันนารีอเมริกันออกไปตั้งศูนย์เผยแพร่ศาสนาคือ จังหวัด
เพชรบุรี เจ้าเมืองเพชรบุรี ให้ความสนับสนุนช่วยเหลือเป็นอย่างดี
ด้วยหวังว่าคณะมิชชันนารีจะได้ตั้งโรงเรียนสอนเด็ก ๆ ในจังหวัด
หลังจากตั้งศูนย์เผยแพร่ได้ ๒ ปี ก็ได้สร้างโบสถ์ขึ้นที่นั่นใน ปี พ.ศ.
๒๔๐๔
หมอแมกกิลวารี เป็นผู้ริเริ่มที่จะขยายงานของมิชชันนารีขึ้นไปถึง
เชียงใหม่ หมอแมกกิลวารีได้เคยเข้าเฝ้าเจ้าเชียงใหม่ที่กรุงเทพ ฯ
หลายครั้งขณะลงมาถวายเครื่องราชบรรณาการ และได้เดินทางขึ้น
ไปเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๑๐ ใช้เวลาเดินทางถึงสามเดือน เจ้า
เชียงใหม่กาวิโลรส ซึ่งอนุญาตให้มิชชันนารีขึ้นไปเผยแพร่ศาสนาได้
กลับต่อต้านอย่างรุนแรง ปรากฏว่าผู้เปลี่ยนศาสนาถูกลงโทษ เมื่อ
สิ้นเจ้ากาวิโลรสแล้ว เจ้าอุปราชยังคงขัดขวางงานของมิชชันนารีอยู่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทราบเรื่อง จึงทรงมี
พระบรมราชโองการมายังข้าหลวงเมืองเชียงใหม่ให้ประกาศแก่
ราษฎรเกี่ยวกับเรื่องการนับถือศาสนา เมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๑ มีข้อความ
สาคัญว่า
ด้านการศึกษาของมิชชันนารีอเมริกันยังไม่ปรากฏชัดในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มาปรากฏชัดขึ้นในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงโปรดให้
ภรรยา มิชชันนารีสามคน ผลัดกันเข้าไปสอนหนังสือให้กับ
สุภาพสตรีใน พระราชสานัก และหลังจากนั้น พวกมิชชันนารีก็เริ่ม
ชักชวนเด็ก ชาวบ้านเรียนหนังสือ เช่น แหม่มแมตตูน เริ่มสอน
เด็กหญิงกลุ่มหนึ่งในหมู่บ้านมอญ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๕ และในเวลา
ใกล้เคียงกัน ครูชาวจีนที่เปลี่ยนศาสนาคนแรก ๆ ก็ได้สอนหนังสือ
เด็กผู้ชาย ซึ่งส่วนมากเป็นลูกจีนในเขตมิชชันใกล้วัดอรุณ ฯ มีหมอ
เฮาส์เป็นผู้ควบคุม ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่สาเหร่
มีครูคนใหม่เป็นคนไทย จึงได้ใช้ภาษาไทยสอนแทนภาษาจีน วิชาที่
สอนมีปรัชญา เลข ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์ และแต่งความ เป็นต้น
โรงเรียนนี้ก้าวหน้าไปตามลาดับ ในปี พ.ศ.๒๔๓๔ โรงเรียนนี้มีชื่อว่า
บางกอกคริสเตียนไฮสกูล ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ฝั่งกรุงเทพ ฯ ในปี
พ.ศ.๒๔๔๔ และเปลี่ยนชื่อเป็นบางกอกคริสเตียนคอลเลจ ซึ่งก็คือ
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน
เมื่อคณะมิชชันนารีขยายงานออกไปภาคเหนือ มิชชันนารีได้บันทึก
ไว้ว่า ที่เชียงใหม่มีผู้หญิงเพียงสองคนเท่านั้นที่อ่านหนังสือได้ แม้
ผู้ชายเองที่อ่านหนังสือได้ก็มีน้อยมาก ผู้ที่บวชเรียนมาแล้วเท่านั้นที่
จะพออ่านออกเขียนได้ เรื่องข้อนี้แม้แต่ในกรุงเทพ ฯ เองก็
เช่นเดียวกัน เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๑๘ แหม่มแมกกิลวารี ได้
พยายามสอนให้เด็กผู้หญิงรู้จักเย็บปักถักร้อย และงานแม่บ้านอื่น ๆ
พร้อมทั้งเรียนคัมภีร์ไปด้วย ได้ตั้งเป็นโรงเรียนชื่อโรงเรียนพระราช
ชายา ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ เป็นโรงเรียนดาราวิทยาลัย มีเด็กจาก
จังหวัดต่าง ๆ ทางภาคเหนือมาเรียนกันมาก สาหรับโรงเรียนชาย
ในเชียงใหม่แห่งแรกเริ่มเมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๐
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งดารงพระยศเป็น
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ เสด็จหัวเมืองเหนือได้ทรงวางศิลา
ฤกษ์ตึกหอประชุมโรงเรียน และพระราชทานนามโรงเรียนว่า
โรงเรียนปรินซ์รอยส์ และเมื่อมีการตั้งศูนย์เผยแพร่ศาสนาที่ลาปาง
แพร่ เชียงราย และน่าน พวกมิชชันนารีก็ได้สร้างโรงเรียนสาหรับ
เด็กทั้งชายและหญิง ตามจังหวัดดังกล่าว ซึ่งนอกจากโรงเรียน
สามัญแล้วยังมีโรงเรียนฝึกวิชาชีพสาหรับเด็กผู้ชายเช่น โรงเรียน
เกษตรกรรมลาปาง
เพียงหนึ่งปีหลังจากที่มิชชันนารีอเมริกันคนแรกเดินทางมาถึง
เมืองไทย ประธานาธิบดี แอนดรู แจ๊คสัน แห่งสหรัฐอเมริกาก็ได้ส่ง
เอ็ดมันด์ รอเบิตส์ เป็นทูตมายังกรุงเทพ ฯ ในปี พ.ศ.๒๓๗๕ ความ
จริงชาวเมริกันได้เดินเรือมาค้าขายถึงเมืองจีน ชวา และสุมาตรามา
นานแล้ว เรือพ่อค้าอเมริกันลาหนึ่งได้เข้ามาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี
พ.ศ.๒๓๖๔ และเมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๓๖๘ กงสุลอเมริกันที่ปัตตาเวีย
ได้เสนอให้รัฐบาลอเมริกันส่งทูต มาเปิดความสัมพันธ์ทางการค้ากับ
ไทย และเมื่อไทยกับอังกฤษได้ทาสัญญาการค้าต่อกัน ในสมัย เฮนรี่
เบอร์นี่ เป็นทูตเข้ามาเมืองไทยในปี พ.ศ.๒๓๖๘ แต่โปรตุเกสเป็นชาติ
แรกที่ส่งกงสุลมาประจาอยู่ที่กรุงเทพ ฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๓๖๓
ทูตอเมริกันคนแรกพร้อมคณะ ๑๕ คน เดินทางมาถึงกรุงเทพ ฯ
ด้วยเรือรบพีค๊อก ทางไทยให้การต้อนรับอย่างสมเกียรติ จัดให้พักอยู่
ที่ตึกรับรองแขกเมือง บริเวณบ้านเจ้าพระยาพระคลัง หน้าวัดประยูร
วงศ์ ฯ เอ็ดมันด์ รอเบิตส์ มีของถวายจากประธานาธิบดี เช่นกระเช้า
เงิน นาฬิกาพกทองคา และแพร เป็นต้น และของที่สาคัญที่สุดคือ
พระแสงกระบี่ฝักและด้ามทองคามีรูปช้าง และนกอินทรีย์ เครื่องราช
บรรณาการตอบแทนของไทยที่เป็นของพื้นเมือง มีงาช้าง ดีบุก เนื้อไม้
กายาน พริกไทย และฝาง เป็นต้น การเจรจากับฝ่ายไทยที่มีเจ้าพระยา
พระคลังเป็นหัวหน้า ใช้เวลาสามสัปดาห์ได้ตกลงทาสัญญากัน เมื่อ
วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๓๗๕ เป็นสนธิสัญญา ๑๐ ข้อ มีสาระสาคัญ
เช่นเดียวกับสัญญาที่ไทยทากับอังกฤษ เช่นให้มีการค้าเสรี ระหว่าง
พ่อค้าไทยและอเมริกัน นอกจากข้าว ปืน และฝิ่น และหากไทยได้ จะให้
ประโยชน์ใด ๆ แก่ชาติอื่น
แล้ว สหรัฐอเมริกาก็จะได้ประโยชน์เช่นนั้นด้วย สนธิสัญญาเขียนไว้
๔ ภาษาคือ ไทย อังกฤษ จีน และโปรตุเกส
สหรัฐอเมริกาได้ส่งทูตพิเศษเข้ามาเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๓ เพื่อ
ขอแก้ไขสนธิสัญญาที่ทาไว้เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๕ แต่โจเซฟ บาเลสเตียร์ผู้
เป็นทูตไม่เป็นที่พอใจของฝ่ายไทย และกลับไปด้วยความล้มเหลว
จบแล้วค้าบบบ!!

More Related Content

What's hot

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
fernbamoilsong
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 

What's hot (10)

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
งานวิชาสังคม
งานวิชาสังคมงานวิชาสังคม
งานวิชาสังคม
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

ประเทศไอร์แลนด์
ประเทศไอร์แลนด์ประเทศไอร์แลนด์
ประเทศไอร์แลนด์
 
พระยาอุปกิตศิลปสาร
พระยาอุปกิตศิลปสารพระยาอุปกิตศิลปสาร
พระยาอุปกิตศิลปสาร
 
เทียนวรรณ.
เทียนวรรณ.เทียนวรรณ.
เทียนวรรณ.
 
พระราชวังต้องห้าม
พระราชวังต้องห้ามพระราชวังต้องห้าม
พระราชวังต้องห้าม
 
Food engineer
Food engineerFood engineer
Food engineer
 
สตูล
สตูลสตูล
สตูล
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งาน แพม
งาน แพมงาน แพม
งาน แพม
 
นักออกแบบลายผ้า
นักออกแบบลายผ้านักออกแบบลายผ้า
นักออกแบบลายผ้า
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
จังหวัดชัยนาท
จังหวัดชัยนาทจังหวัดชัยนาท
จังหวัดชัยนาท
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ยูเครน
ยูเครนยูเครน
ยูเครน
 
ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4
ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4
ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4
 
นำเสนอนครนายก
นำเสนอนครนายกนำเสนอนครนายก
นำเสนอนครนายก
 
นาย ปรีดี พนมยงค์
นาย ปรีดี   พนมยงค์นาย ปรีดี   พนมยงค์
นาย ปรีดี พนมยงค์
 
ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
จังหวัดตาก
จังหวัดตากจังหวัดตาก
จังหวัดตาก
 

Similar to ประณต วิริบูลย์ 5/4

พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสาร
chaiedu
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
sangworn
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
Teeraporn Pingkaew
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 

Similar to ประณต วิริบูลย์ 5/4 (20)

พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสาร
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ประณต วิริบูลย์ 5/4

  • 1.
  • 2. จัดทำโดย นำย ประณต วิริบูลย์ ชั้นม.5/4 เลขที่ 3 เสนอ อำจำรย์ สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจำรีย์ โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนคริทร์ ร้อยเอ็ด
  • 3. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ และพระบรมราชจักรีวงศ์ กับการ ประเทศอิสระภาพของสหรัฐอเมริกา อยู่ในห้วงเวลาใกล้เคียงกัน มาก ต่างกันเพียง ๖ ปีเท่านั้นคือ เหตุการณ์แรกเกิดเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๒๕ และเหตุการณ์หลังเกิดเมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๙ และหลังจากนั้นไม่ นานประเทศทั้งสองก็ได้มีสัมพันธไมตรีต่อกัน เรือกาปั่นของชาวอเมริกันลาแรก มีกัปตันแฮน เป็นนาย เรือได้แล่นเข้ามาในลาน้าเจ้าพระยาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๔
  • 4. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรือลานี้ได้ บรรทุกสินค้ารวมทั้งปืนคาบศิลาที่ทางราชอาณาจักรไทยต้องการ กัปตันแฮนได้ถวายปืนคาบศิลา ๕๐๐ กระบอก นับเป็นการทาความ ดีความชอบ จึงได้รับพระราชทานสิ่งของตอบแทนจนคุ้มราคาปืน และยังได้รับยกเว้นภาษีส่วนหนึ่ง ทั้งยังได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์ให้เป็น ขุนภักดีราช หลังจากกัปตันแฮนก็มาถึงยุคของมิชชันนารีอเมริกัน ซึ่งมีบทบาท ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสอง
  • 5. งานเผยแพร่คริสตศาสนาในพระราชอาณาจักรไทยนั้น บาทหลวง จากนิกายโรมันทาธอลิค ได้เริ่มมาแล้วตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ในสมัยอยุธยา แต่งานของมิชชันนารีจากนิกายโป รแตสแตนท์ เพิ่งจะเริ่มในสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๑ โดย ศาสนาจารย์สองคนจากสมาคมมิชชันนารีลอนดอน และสมาคม มิชชันนารีเนเทอร์แลนด์ ทั้งสองคนได้มาพักอยู่ที่บ้านคาโลส เดอซิล เวรา กงสุลโปรตุเกส ซึ่งเป็นกงสุลชาวตะวันตกคนแรกในสมัย รัตนโกสินทร์ มิชชันนารีทั้งสองได้นาคาสอนเป็นภาษาจีนมาแจกจ่าย
  • 6. ให้บรรดาคนจีนในกรุงเทพ ฯ พร้อมทั้งแจกยารักษาโรค ทาง ราชการของไทยเกรงว่าจะเป็นการยุยงปลุกปั่นคนจีนในพระ ราชอาณาจักรไทย ซึ่งมีอยู่เป็นจานวนมาก จึงสั่งห้ามแจกหนังสือแก่ คนไทย ต่อมามิชชันนารีทั้งสองได้ขอความช่วยเหลือไปยัง คริสตจักรที่สหรัฐอเมริกา ขอให้ส่งมิชชันนารีมาเพิ่มเติม จดหมาย ฉบับดังกล่าวได้ส่งไปกับ กัปตันเรือสินค้าชื่อ กัปตัน เอเบิล คอฟฟิน เรือลานี้ได้นาฝาแฝดไทยคือ อินกับจัน ไปอเมริกาด้วย ในปี พ.ศ. ๒๓๗๑ นับเป็นครั้งแรกที่คนไทยได้เดินทางไปอเมริกา และคาว่า แฝด สยาม ก็เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก
  • 7. มิชชันนารีอเมริกันคนแรกเดินทางมาถึงเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๗๔ คือ หมอ เดวิด เอบีล ความจริงงานเผยแพร่ศาสนาของ มิชชันนารีอเมริกัน ต่อคนไทยครั้งแรกได้เริ่มขึ้นแล้วหลายปีก่อน หน้านั้น โดยมิชชันนารีอเมริกันในพม่า นั่นคือในปี พ.ศ.๒๓๖๑ ณ หมู่บ้านคนไทยแห่งหนึ่งในเมืองย่างกุ้ง นางแอน เฮเซนทีน จัดสัน มิชชันนารีอเมริกันได้เข้าไปเผยแพร่ศาสนาในพม่าพร้อมสามี ได้ พยายามศึกษาภาษาไทยกับคนไทยในหมู่บ้านนั้นเป็นเวลาปีเศษ คน ไทยในหมู่บ้านดังกล่าวน่าจะเป็นคนไทยที่ตกไปอยู่ในพม่าครั้งกรุงศรี อยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อ ปี พ.ศ.๒๓๑๐
  • 8. นางแอน จัดสันได้แปลคัมภีร์บางบทออกเป็นภาษาไทย และด้วย ความช่วยเหลือของมิชชันนารีอเมริกันอีกผู้หนึ่งคือ ยอร์ช เอช เฮาห์ ซึ่งมีความรู้เป็นช่างพิมพ์ได้หล่อตัวพิมพ์ภาษาไทยชุดแรก เพื่อพิมพ์ คาสอนเป็นภาษาไทยขึ้นที่เมืองย่างกุ้ง เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๒ แท่นพิมพ์ และตัวพิมพ์ชุดนี้ต่อมาได้ตกมาอยู่ในความครองครองของสมาคม มิชชันนารีลอนดอนที่สิงคโปร์ ดังนั้นจึงได้มีการนาคัมภีร์ภาษาไทย ไปพิมพ์ที่สิงคโปร์ คณะมิชชันนารีอเมริกันที่เดินทางเข้ามายังเมืองไทยนั้นมีอยู่หลาย คณะด้วยกัน ที่สาคัญอเมริกันแบบทิสต์ บอร์ด และอเมริกัน บอร์ด ออฟ คอมมิชชันเนอร์ ฟอร์ ฟอเรน มิชชัน ต่อมาทั้งสองคณะได้รวม เป็นพวกเดียวกัน
  • 9. เรียกชื่อย่อว่า คณะ เอ.บี.ซี.เอฟ.เอ็ม. คนสาคัญในคณะทั้งสองนี้ มี หมอเดวิด เอบีล หมอชาลล์ รอบินสัน และหมอบีช บรัดเลย์ เป็นต้น มิชชันนารีเหล่านี้ส่วนมากเดินทางมาพร้อมกับภรรยา ซึ่งทาหน้าที่ เป็นมิชชันนารีเช่นกัน บ้างก็เดินทางมาจากพม่า และบ้างก็เดินทาง มาจากอเมริกา มิชชันนารีที่มีบทบาทสาคัญอีกคณะหนึ่งคือ คณะ เพรสไบทีเรียน ที่เริ่มเดินทางมาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๑ คน สาคัญในคณะนี้คือ รอเบิต ออร์ ผู้มาถึงคนแรก ต่อมามี หมอสตี เฟน แมตตูน หมอ แซมวล เฮาส์ หมอ แดเนียล แมกกิลวารี และ หมอ เอส.ยี.แบดฟาร์แลนด์ เป็นต้น
  • 10. การเข้ามาของมิชชันนารีอเมริกัน นอกจากนาศาสนาคริสเตียน เข้ามาเผยแพร่แล้ว ก็ได้นาเอาการแพทย์และการศึกษาแผนใหม่ เข้า มาทาประโยชน์ในเมืองไทยด้วย ผลงานด้านเผยแพร่ศาสนา เดวิด เอบีล เดินทางมาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๔ พร้อมหมอ ทอมลินซึ่งกลับจากสิงคโปร์ ได้พักอยู่ที่สถานกงสุลโปรตุเกส หมอ ทอมลินได้นายารักษาโรค และหนังสือสอนศาสนาทั้งภาษาจีน และ ภาษาไทยมาแจกจ่ายอีกครั้งหนึ่ง หมอ เอบีล ได้มีหนังสือไปยัง คริสตจักรที่อเมริกา ให้ส่งมิชชันนารีมาเมืองไทยอีก
  • 11. อีก สมาคมศาสนาคณะต่าง ๆ ในอเมริกา ได้ส่งมิชชันนารีเข้ามาไม่ ขาดสาย และได้ขยายงานออกไปยังจังหวัดต่าง ๆ เกือบทั่วพระ ราชอาณาจักรไทย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงขัดขวางกาย เผยแพร่ศาระยะแรก ๆ ทางราชการห้ามแจกคาสอนในหมู่คนไทย ด้วยกัน ด้วยยังไม่แน่ใจเจตจานงค์ของมิชชันนารีที่เข้ามาใหม่เท่าใด นัก พวกมิชชันนารีก็ตระหนักในความจริงว่าเมืองไทยเป็นดินแดนที่ ไม่มีการต่อต้าน ทาร้าย และทารุณพวกมิชชันนารีเหมือนดินแดน บางแห่งในเอเซียสนาแต่อย่างใด เพียงแต่ใน
  • 12. คณะมิชชันนารีได้สร้างโบสถ์ขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๐ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๑ ได้มีมิชชันนารีคณะเพรสไบที เรียน จากอเมริกามาสมทบ งานขยายงานออกนอกกรุงเทพ ฯ ยัง ไม่ได้เริ่มจนกระทั่งอีกประมาณ ๒๐ ปีต่อมา จังหวัดแรกที่คณะ มิชชันนารีอเมริกันออกไปตั้งศูนย์เผยแพร่ศาสนาคือ จังหวัด เพชรบุรี เจ้าเมืองเพชรบุรี ให้ความสนับสนุนช่วยเหลือเป็นอย่างดี ด้วยหวังว่าคณะมิชชันนารีจะได้ตั้งโรงเรียนสอนเด็ก ๆ ในจังหวัด หลังจากตั้งศูนย์เผยแพร่ได้ ๒ ปี ก็ได้สร้างโบสถ์ขึ้นที่นั่นใน ปี พ.ศ. ๒๔๐๔
  • 13. หมอแมกกิลวารี เป็นผู้ริเริ่มที่จะขยายงานของมิชชันนารีขึ้นไปถึง เชียงใหม่ หมอแมกกิลวารีได้เคยเข้าเฝ้าเจ้าเชียงใหม่ที่กรุงเทพ ฯ หลายครั้งขณะลงมาถวายเครื่องราชบรรณาการ และได้เดินทางขึ้น ไปเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๑๐ ใช้เวลาเดินทางถึงสามเดือน เจ้า เชียงใหม่กาวิโลรส ซึ่งอนุญาตให้มิชชันนารีขึ้นไปเผยแพร่ศาสนาได้ กลับต่อต้านอย่างรุนแรง ปรากฏว่าผู้เปลี่ยนศาสนาถูกลงโทษ เมื่อ สิ้นเจ้ากาวิโลรสแล้ว เจ้าอุปราชยังคงขัดขวางงานของมิชชันนารีอยู่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทราบเรื่อง จึงทรงมี พระบรมราชโองการมายังข้าหลวงเมืองเชียงใหม่ให้ประกาศแก่ ราษฎรเกี่ยวกับเรื่องการนับถือศาสนา เมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๑ มีข้อความ สาคัญว่า
  • 14. ด้านการศึกษาของมิชชันนารีอเมริกันยังไม่ปรากฏชัดในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มาปรากฏชัดขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงโปรดให้ ภรรยา มิชชันนารีสามคน ผลัดกันเข้าไปสอนหนังสือให้กับ สุภาพสตรีใน พระราชสานัก และหลังจากนั้น พวกมิชชันนารีก็เริ่ม ชักชวนเด็ก ชาวบ้านเรียนหนังสือ เช่น แหม่มแมตตูน เริ่มสอน เด็กหญิงกลุ่มหนึ่งในหมู่บ้านมอญ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๕ และในเวลา ใกล้เคียงกัน ครูชาวจีนที่เปลี่ยนศาสนาคนแรก ๆ ก็ได้สอนหนังสือ เด็กผู้ชาย ซึ่งส่วนมากเป็นลูกจีนในเขตมิชชันใกล้วัดอรุณ ฯ มีหมอ เฮาส์เป็นผู้ควบคุม ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่สาเหร่
  • 15. มีครูคนใหม่เป็นคนไทย จึงได้ใช้ภาษาไทยสอนแทนภาษาจีน วิชาที่ สอนมีปรัชญา เลข ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์ และแต่งความ เป็นต้น โรงเรียนนี้ก้าวหน้าไปตามลาดับ ในปี พ.ศ.๒๔๓๔ โรงเรียนนี้มีชื่อว่า บางกอกคริสเตียนไฮสกูล ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ฝั่งกรุงเทพ ฯ ในปี พ.ศ.๒๔๔๔ และเปลี่ยนชื่อเป็นบางกอกคริสเตียนคอลเลจ ซึ่งก็คือ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน
  • 16. เมื่อคณะมิชชันนารีขยายงานออกไปภาคเหนือ มิชชันนารีได้บันทึก ไว้ว่า ที่เชียงใหม่มีผู้หญิงเพียงสองคนเท่านั้นที่อ่านหนังสือได้ แม้ ผู้ชายเองที่อ่านหนังสือได้ก็มีน้อยมาก ผู้ที่บวชเรียนมาแล้วเท่านั้นที่ จะพออ่านออกเขียนได้ เรื่องข้อนี้แม้แต่ในกรุงเทพ ฯ เองก็ เช่นเดียวกัน เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๑๘ แหม่มแมกกิลวารี ได้ พยายามสอนให้เด็กผู้หญิงรู้จักเย็บปักถักร้อย และงานแม่บ้านอื่น ๆ พร้อมทั้งเรียนคัมภีร์ไปด้วย ได้ตั้งเป็นโรงเรียนชื่อโรงเรียนพระราช ชายา ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ เป็นโรงเรียนดาราวิทยาลัย มีเด็กจาก จังหวัดต่าง ๆ ทางภาคเหนือมาเรียนกันมาก สาหรับโรงเรียนชาย ในเชียงใหม่แห่งแรกเริ่มเมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๐
  • 17. พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งดารงพระยศเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ เสด็จหัวเมืองเหนือได้ทรงวางศิลา ฤกษ์ตึกหอประชุมโรงเรียน และพระราชทานนามโรงเรียนว่า โรงเรียนปรินซ์รอยส์ และเมื่อมีการตั้งศูนย์เผยแพร่ศาสนาที่ลาปาง แพร่ เชียงราย และน่าน พวกมิชชันนารีก็ได้สร้างโรงเรียนสาหรับ เด็กทั้งชายและหญิง ตามจังหวัดดังกล่าว ซึ่งนอกจากโรงเรียน สามัญแล้วยังมีโรงเรียนฝึกวิชาชีพสาหรับเด็กผู้ชายเช่น โรงเรียน เกษตรกรรมลาปาง
  • 18. เพียงหนึ่งปีหลังจากที่มิชชันนารีอเมริกันคนแรกเดินทางมาถึง เมืองไทย ประธานาธิบดี แอนดรู แจ๊คสัน แห่งสหรัฐอเมริกาก็ได้ส่ง เอ็ดมันด์ รอเบิตส์ เป็นทูตมายังกรุงเทพ ฯ ในปี พ.ศ.๒๓๗๕ ความ จริงชาวเมริกันได้เดินเรือมาค้าขายถึงเมืองจีน ชวา และสุมาตรามา นานแล้ว เรือพ่อค้าอเมริกันลาหนึ่งได้เข้ามาถึงกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๔ และเมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๓๖๘ กงสุลอเมริกันที่ปัตตาเวีย ได้เสนอให้รัฐบาลอเมริกันส่งทูต มาเปิดความสัมพันธ์ทางการค้ากับ ไทย และเมื่อไทยกับอังกฤษได้ทาสัญญาการค้าต่อกัน ในสมัย เฮนรี่ เบอร์นี่ เป็นทูตเข้ามาเมืองไทยในปี พ.ศ.๒๓๖๘ แต่โปรตุเกสเป็นชาติ แรกที่ส่งกงสุลมาประจาอยู่ที่กรุงเทพ ฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๓๖๓
  • 19. ทูตอเมริกันคนแรกพร้อมคณะ ๑๕ คน เดินทางมาถึงกรุงเทพ ฯ ด้วยเรือรบพีค๊อก ทางไทยให้การต้อนรับอย่างสมเกียรติ จัดให้พักอยู่ ที่ตึกรับรองแขกเมือง บริเวณบ้านเจ้าพระยาพระคลัง หน้าวัดประยูร วงศ์ ฯ เอ็ดมันด์ รอเบิตส์ มีของถวายจากประธานาธิบดี เช่นกระเช้า เงิน นาฬิกาพกทองคา และแพร เป็นต้น และของที่สาคัญที่สุดคือ พระแสงกระบี่ฝักและด้ามทองคามีรูปช้าง และนกอินทรีย์ เครื่องราช บรรณาการตอบแทนของไทยที่เป็นของพื้นเมือง มีงาช้าง ดีบุก เนื้อไม้ กายาน พริกไทย และฝาง เป็นต้น การเจรจากับฝ่ายไทยที่มีเจ้าพระยา พระคลังเป็นหัวหน้า ใช้เวลาสามสัปดาห์ได้ตกลงทาสัญญากัน เมื่อ วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๓๗๕ เป็นสนธิสัญญา ๑๐ ข้อ มีสาระสาคัญ เช่นเดียวกับสัญญาที่ไทยทากับอังกฤษ เช่นให้มีการค้าเสรี ระหว่าง พ่อค้าไทยและอเมริกัน นอกจากข้าว ปืน และฝิ่น และหากไทยได้ จะให้ ประโยชน์ใด ๆ แก่ชาติอื่น
  • 20. แล้ว สหรัฐอเมริกาก็จะได้ประโยชน์เช่นนั้นด้วย สนธิสัญญาเขียนไว้ ๔ ภาษาคือ ไทย อังกฤษ จีน และโปรตุเกส สหรัฐอเมริกาได้ส่งทูตพิเศษเข้ามาเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๓ เพื่อ ขอแก้ไขสนธิสัญญาที่ทาไว้เมื่อปี พ.ศ.๒๓๗๕ แต่โจเซฟ บาเลสเตียร์ผู้ เป็นทูตไม่เป็นที่พอใจของฝ่ายไทย และกลับไปด้วยความล้มเหลว