SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
 
ยูเครน  ( Ukraine)  เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ส่วนทางใต้จรดทะเลดำยูเครนก็เคยเป็นดินแดนของรัสเซีย พื้นที่ประเทศยูเครนในคริสต์ศตวรรษที่  9  เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมสลาฟตะวันออกในยุคกลาง ซึ่งส่งผลให้เกิดรัฐที่มีอำนาจในแถบนั้นในชื่อ เคียฟรุส  ( Kievan Rus')  อีกหลายศตวรรษหลังจากนั้นจึงถูกแบ่งไประหว่างกลุ่มอำนาจต่าง ๆ โดยเฉพาะรัสเซีย โปแลนด์ และจักรวรรดิออตโตมัน โดยมีเอกราชระยะสั้น ๆ ในช่วงปี พ . ศ . 2460-2464  อันเป็นผลมาจากการปฏิวัติรัสเซีย จากนั้นได้กลายเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียตในปี พ . ศ . 2465  ชายแดนในปัจจุบันเพิ่งได้รับการสถาปนาเมื่อปี พ . ศ . 2497  ยูเครนเป็นเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ . ศ . 2534
เมืองหลวง กรุงเคียฟ  ( Kyiv)  ประชากรจำนวน  2.8  ล้านคน เป็นเมืองหลวงเก่าของอาณาจักรคีฟรุสโบราณ  ( Kievan Rus)  และเป็นเมืองใหญ่อันดับ  3  ในสมัยจักรวรรดิรัสเซีย และสหภาพโซเวียต รองจากมอสโก และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
ที่ตั้ง อยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ติดกับทะเลดำ และอยู่ระหว่างโปแลนด์ กับรัสเซีย ทิศเหนือจรดพรมแดนรัสเซียและเบลารุส ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อรัสเซีย ทิศตะวันตกจรดพรมแดนโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทิศใต้ติดทะเลดำและทะเล  Azov  ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดพรมแดนโรมาเนีย และมอลโดวา
พื้นที่ 603,700  ตารางกิโลเมตร  ( ใหญ่เป็นอันดับสองในยุโรป รองจากรัสเซีย และเป็น  1.17  เท่าของไทย )  ร้อยละ  58  เป็นพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ มีเทือกเขา  Carpathian  ทางด้านตะวันตก เฉียงใต้ มีแม่น้ำสำคัญๆ ของทวีปยุโรปไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำดนีเปอร์ แม่น้ำดนีสเตอร์ และแม่น้ำดานูบ ซึ่งไหลลงสู่ทะเลดำ
ประชากร 46,299,862  คน  ( กรกฎาคม  2550)  ชาวยูเครน  77.8%  ชาวรัสเซีย  17.3%  อื่นๆ  4.9 % (2544) วันชาต ิ 24  สิงหาคม ภูมิอากาศ แบบภาคพื้นทวีปอบอุ่น มี  4  ฤดู ยกเว้นบริเวณชายฝั่งทะเลแถบแหลมไครเมียทางตอนใต้ ซึ่งมีอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในฤดูหนาวพื้นที่บริเวณภายในประเทศ จะมีอากาศหนาวเย็นกว่าพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลดำ ภาษาราชการ ภาษายูเครน หรือ  Little Russian ( ตระกูลภาษาสลาฟ )  เป็นภาษาราชการ และมีการใช้ภาษารัสเซียอย่างกว้างขวาง
ศาสนาศาสนาคริสต์นิกาย Ukrainian Orthodox  เป็นศาสนาประจำชาติ นับถือกว่า ร้อยละ  85 เขตการปกครอง 24  จังหวัด  ( Oblasts) 1  เขตการปกครองอิสระ และ  2  เทศบาล โดยมีสถานะเทียบเท่าจังหวัด หน่วยเงินตรา Hryvnia ( กริฟน่า ) อัตราแลกเปลี่ยน 1  USD = 5.05 Hryvnia (14  มกราคม  2551)  เช็คอัตราแลกเปลี่ยนทั่วโลก เขตเวลา UTC/GMT +2  ชั่วโมง  ( เวลาที่กรุงเคียฟช้ากว่าไทย  4  ชั่วโมงในฤดูร้อน และช้ากว่าไทย  5  ชั่วโมงในฤดูหนาว )
ประวัติศาสตร์โดยสังเขป สมัยประวัติศาสตร์ -  ก่อนสงครามโลกครั้งที่  1 นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าชาว  Nomad  โดยเฉพาะชาว  Scythian  เป็นพวกแรกที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งในยูเครนในช่วงก่อนคริสตกาล หลังจากนั้น ชาวเผ่าสลาฟได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณตอนกลางและตะวันออกของยูเครน อย่างไรก็ดี ชนชาติสำคัญที่มีบทบาทในการรวบรวมดินแดนบริเวณนี้ให้เป็นปึกแผ่นคือชาวรุส  ( Rus)  ที่มาจากสแกนดิเนเวีย โดยต่อมาชาวรุสได้สถาปนาอาณาจักร  Kievan Rus  ขึ้นในศตวรรษที่  6  และปกครองชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้ และต่อมาได้ขยายดินแดนออกไปรวบรวมเผ่าสลาฟและชนชาติต่างๆ จนเป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปในศตวรรษที่  11  แต่ในศตวรรษที่  12  อาณาจักรนี้ได้เสื่อมสลายลง เนื่องจากสงครามระหว่างเจ้าผู้ครองนครต่างๆ และการรุกรานจากชาวมองโกลในศตวรรษต่อมา หลังจากนั้น ดินแดนบางส่วนของยูเครนได้ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรต่างๆ อาทิ ลิทัวเนีย โปแลนด์ ออสโตร - ฮังกาเรียน และรัสเซีย
หลังสงครามโลกครั้งที่  1 หลังสงครามโลกครั้งที่  1  ยูเครนได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียและราชวงศ์ฮับสบวร์กเป็นครั้งแรกในปีค . ศ .1918  แต่ต่อมากระแสการปฏิวัติในรัสเซียได้ลุกลามมายังยูเครน ทำให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้น หลังจากนั้น ดินแดนส่วนตะวันตกของยูเครนได้ถูกผนวกรวมกับโปแลนด์ ในขณะที่ดินแดนตอนกลางและตะวันออกถูกผนวกรวมกับรัสเซียในฐานะ  Ukrainian Soviet Socialist Republic  ในปีค . ศ .1922  ภายใต้ระบอบสหภาพโซเวียต ชาวยูเครนถูกบังคับให้เลิกใช้ภาษาของตนเอง นอกจากนี้ ในช่วงปี ค . ศ . 1932-1933  ประธานาธิบดีสตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต ยังได้ใช้มาตรการ “ Holodomor” (Famine)  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายระบบนารวมของสหภาพโซเวียตกับชาวยูเครน อันส่งผลให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงและการขาดแคลนอาหารขึ้นทั่วประเทศ และชาวยูเครนกว่า  7  ล้านคนต้องเสียชีวิตลง ชาวนาและปัญญาชนที่ต่อต้านระบบดังกล่าวถูกกวาดล้างหรือเนรเทศไปยังไซบีเรีย
ช่วงสงครามโลกครั้งที่  2 ในช่วงแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ชาวยูเครนให้การสนับสนุนกองทัพของนาซีเยอรมัน เพื่อเป็นอิสระจากสหภาพโซเวียต แต่ต่อมาได้หันไปต่อต้าน เนื่องจากกองทัพเยอรมันปกครองอย่างกดขี่และทารุณ โดยในช่วงดังกล่าว ชาวยิวในยูเครนกว่า  1  ล้านคนถูกสังหารหมู่และ กรุงเคียฟ ถูกเผาทำลาย อย่างไรก็ดี หลังจากที่กองทัพนาซีบุกโปแลนด์ในปีค . ศ .1939  ดินแดนส่วนตะวันตกของยูเครนที่เดิมอยู่ภายใต้โปแลนด์ได้ถูกผนวกรวมกับสหภาพโซเวียต
หลังสงครามโลกครั้งที่  2 -  การประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระแสชาตินิยมในยูเครนขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยเหตุผลต่างๆ ได้แก่ ความไร้ประสิทธิภาพของระบบสหภาพโซเวียต ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วสหภาพโซเวียตและการพยายามปิดบังข้อมูลของเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสหภาพโซเวียตต่อกรณีการระเบิดของโรงงานปฏิกรณ์ปรมาณู  Chernobyl  ที่ตั้งอยู่ในยูเครนในปีค . ศ .1986  และเมื่อประธานาธิบดีกอร์บาชอฟดำเนินนโยบายเปิดกว้างทางการเมือง ได้ส่งผลให้รัฐบาลของสหภาพโซเวียตจำเป็นต้องให้อำนาจแก่สาธารณรัฐและดินแดนปกครองตนเองต่างๆ มากขึ้น กระแสการเรียกร้องสิทธิที่จะปกครองตนเองในยูเครนดำเนินไปอย่างเข้มแข็ง และในที่สุดยูเครนได้ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่  24  สิงหาคม ค . ศ . 1991  ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่  1  ธันวาคม ค . ศ .1991  ชาวยูเครนได้ลงประชามติให้ยูเครนประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต
การแบ่งเขตการปกครอง ยูเครนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น  24  จังหวัด  ( provinces -  oblasts ) 1  สาธารณรัฐปกครองตนเอง * ( autonomous republic -  avtonomna respublika )   และ  2  เทศบาลนคร ** ( municipalities -  misto )
ได้แก่ เขตการปกครองของยูเครน จังหวัดและสาธารณรัฐปกครองตนเอง   1  เชียร์คาซี   10  คเมลนิตสกี   19  ซูมืย   2  เชียร์นีฮิฟ   11  คีโรโวฮราด   20  เตียร์โนปิล   3  เชียร์นิฟต์ซี   12  เคียฟ   21  วินนิตเซีย   4  ไครเมีย * 13  ลูฮันสค์   22  โวลิน   5  ดนีโปรเปตรอฟสค์   14  ลวีฟ   23  ซาคาร์ปัตเตีย   6  โดเนตสค์   15  มีโคลายิฟ   24  ซาโปริจเจีย   7  อีวาโน-ฟรังคิฟสค์   16  โอเดสซา   25  จีโตมีร์   8  คาร์คิฟ   17  ปอลตาวา   9  เคียร์ซอน   18  ริฟเน
จัตุรัส   Jaturus  mykhailivska               จัตุรัสที่สวยงามคลาสสิค และเป็นจุดโดดเด่นที่สุดของกรุงเคียฟ และเป็นที่ตั้ง อาคารรัฐสภายูเครน ซึ่งสร้างเมื่อปี  1936  ช่วงสงครามโลกครั้งที่  2  แต่ถูกทำลายลงและได้รับการบูรณะขึ้นมาใหม่เมื่อปี  1946  นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้ง อนุสาวรีย์แห่งมิตรภาพของรัสเซียและยูเครน ที่มีการสร้างด้วยหินแกรนิตโค้งเป็นรูปครึ่งวงกลม ทำให้มีลักษณะสวยงามและเป็นอนุสรณ์สถานแห่งหนึ่งที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด   
  โบสถ์เซนต์ไมเคิล สร้างในศตวรรษที่  12  ซึ่งถูกทำลายในสมัยที่ปกครอง ด้วยระบอบสังคมนิยม ภายหลังจากที่ระบอบสังคมนิยมล่มสลาย ประชาชนได้เรียกรองให้มีการสร้างโบสถ์ขึ้นใหม่ โดยใช้เวลาในการก่อสร้าง  3  ปี ในการบูรณะซ่อมแซม             โบสถ์เซนต์ไมเคิลหรือ โดมทองคำ  ( St.Michael’s Golden-Domed)  เป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนาคริสต์นิกายยูเครนเนีย ออร์โธด็อกซ์ อยู่ริมแม่น้ำนีเปอร์ และอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหารเซนต์โซเฟีย  ( St.Sophia Cathedral)   โบสถ์เซนต์ไมเคิลสร้างในยุคกลางสมัยกษัตริย์  Sviatopolk II Iziaslavich  ที่ปกครองดินแดน  Kievan Rus  ในปี  1050-1113                 ดินแดนแห่งนี้เป็นรัฐอิสระ มีอาณาเขตอยู่ในประเทศยูเครนปัจจุบัน รูปแบบการก่อสร้างเป็นศิลปะแบบยูเครนเนีย บาร็อก ด้านในตกแต่งแบบไบแซนไทน์ มีลักษณะเหมือนโบสถ์หลายแห่งในรัสเซียและตุรกี นับตั้งแต่ยูเครนได้รับเอกราชจากรัสเซีย รัฐบาลได้ทำการบูรณะโบสถ์แห่งนี้ใหม่หมด พร้อมทั้งเปิดอย่างเป็นทางการให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวชมเมื่อเดือนพฤษภาคมปี  1999     
            พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์  ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บสมบัติล้ำค่าของยูเครน เช่นเครื่องเพชรพลอยโบราณ และภาพวาด ฯลฯ นำท่านชม พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่  2  ชมอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ ที่ปลดประจำการสมัยสงครามโลก ครั้งที่นาซีเยอรมัน บุกเข้ากรุงเคียฟ ซึ่งภายหลังจากสงครามสงบแล้ว ได้เก็บรวบรวมอาวุธต่างๆ เพื่อไว้เตือนใจชนรุ่นหลังให้ระลึกถึงเหล่าวีรชนผู้กล้าหาญ     
พระราชวังโวรอนซอฟ  ( VORONTSOV’S PALACE)                 ซึ่งเป็นพระราชวัง ที่ถูกดำริให้สร้างในปี  1828  โดย  MIKHAIL VORONTSOV  มีพื้นที่ทั้งหมด  40  เฮกเตอร์ )  ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ  E.BLORE  ห้องต่างๆที่อยู่ในพระราชวังมีถึง  150  ห้อง ซึ่งได้รับการยกย่องว่าตกแต่งอย่างสวยงาม ที่สุดในประเทศยูเครนสไตล์ในการตกตแต่งห้องนั้นเกิดจากการผสมผสานสถาปัตยกรรมระหว่าง อังกฤษ และ ตะวันออก ได้อย่างลงตัว และนอกจากนี้ ยังเคยใช้เป็นที่รับรองบุคคลสำคัญต่างๆ เช่น เซอร์วินสตัน เชอร์ชิล แห่งประเทศอังกฤษ พระราชวังโวรอนซอฟ  ( VORONTSOV’S PALACE   
พระราชวังลิวาเดีย  ( LIVADIA PALACE)               ซึ่งเป็นพระราชวังของพระเจ้าซาร์รัสเซีย เคยใช้ ในการเป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระเจ้าซาร์เมื่อเสด็จมายังแหลมไครเมียในช่วงฤดูร้อนและเป็นสถานที่ประชุมผู้นำระดับโลกคือ ประธานาธิบดี รูสเวลท์ แห่งสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล ของอังกฤษ และประธานาธิบดี สตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่  11  กุมภาพันธ์  1945  พระราชวังแห่งนี้ได้เปิดให้เข้าชมเมื่อปี  1974  ประกอบไปด้วยอาคาร  60  หลัง ซึ่งมีความงดงามของพระราชวังที่ถูกสร้างขึ้นด้วยศิลปะ สไตล์ อิตาเลียน – เรอเนซองซ์ ที่ดูเรียบง่ายแต่คลาสสิค     
 
http://th.wikipedia.org/wiki/
 

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 

ยูเครน

  • 1.  
  • 2. ยูเครน ( Ukraine) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ส่วนทางใต้จรดทะเลดำยูเครนก็เคยเป็นดินแดนของรัสเซีย พื้นที่ประเทศยูเครนในคริสต์ศตวรรษที่ 9 เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมสลาฟตะวันออกในยุคกลาง ซึ่งส่งผลให้เกิดรัฐที่มีอำนาจในแถบนั้นในชื่อ เคียฟรุส ( Kievan Rus') อีกหลายศตวรรษหลังจากนั้นจึงถูกแบ่งไประหว่างกลุ่มอำนาจต่าง ๆ โดยเฉพาะรัสเซีย โปแลนด์ และจักรวรรดิออตโตมัน โดยมีเอกราชระยะสั้น ๆ ในช่วงปี พ . ศ . 2460-2464 อันเป็นผลมาจากการปฏิวัติรัสเซีย จากนั้นได้กลายเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียตในปี พ . ศ . 2465 ชายแดนในปัจจุบันเพิ่งได้รับการสถาปนาเมื่อปี พ . ศ . 2497 ยูเครนเป็นเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ . ศ . 2534
  • 3. เมืองหลวง กรุงเคียฟ ( Kyiv) ประชากรจำนวน 2.8 ล้านคน เป็นเมืองหลวงเก่าของอาณาจักรคีฟรุสโบราณ ( Kievan Rus) และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ในสมัยจักรวรรดิรัสเซีย และสหภาพโซเวียต รองจากมอสโก และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
  • 4.  
  • 5. ที่ตั้ง อยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ติดกับทะเลดำ และอยู่ระหว่างโปแลนด์ กับรัสเซีย ทิศเหนือจรดพรมแดนรัสเซียและเบลารุส ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อรัสเซีย ทิศตะวันตกจรดพรมแดนโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทิศใต้ติดทะเลดำและทะเล Azov ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดพรมแดนโรมาเนีย และมอลโดวา
  • 6. พื้นที่ 603,700 ตารางกิโลเมตร ( ใหญ่เป็นอันดับสองในยุโรป รองจากรัสเซีย และเป็น 1.17 เท่าของไทย ) ร้อยละ 58 เป็นพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ มีเทือกเขา Carpathian ทางด้านตะวันตก เฉียงใต้ มีแม่น้ำสำคัญๆ ของทวีปยุโรปไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำดนีเปอร์ แม่น้ำดนีสเตอร์ และแม่น้ำดานูบ ซึ่งไหลลงสู่ทะเลดำ
  • 7. ประชากร 46,299,862 คน ( กรกฎาคม 2550) ชาวยูเครน 77.8% ชาวรัสเซีย 17.3% อื่นๆ 4.9 % (2544) วันชาต ิ 24 สิงหาคม ภูมิอากาศ แบบภาคพื้นทวีปอบอุ่น มี 4 ฤดู ยกเว้นบริเวณชายฝั่งทะเลแถบแหลมไครเมียทางตอนใต้ ซึ่งมีอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในฤดูหนาวพื้นที่บริเวณภายในประเทศ จะมีอากาศหนาวเย็นกว่าพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลดำ ภาษาราชการ ภาษายูเครน หรือ Little Russian ( ตระกูลภาษาสลาฟ ) เป็นภาษาราชการ และมีการใช้ภาษารัสเซียอย่างกว้างขวาง
  • 8. ศาสนาศาสนาคริสต์นิกาย Ukrainian Orthodox เป็นศาสนาประจำชาติ นับถือกว่า ร้อยละ 85 เขตการปกครอง 24 จังหวัด ( Oblasts) 1 เขตการปกครองอิสระ และ 2 เทศบาล โดยมีสถานะเทียบเท่าจังหวัด หน่วยเงินตรา Hryvnia ( กริฟน่า ) อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 5.05 Hryvnia (14 มกราคม 2551) เช็คอัตราแลกเปลี่ยนทั่วโลก เขตเวลา UTC/GMT +2 ชั่วโมง ( เวลาที่กรุงเคียฟช้ากว่าไทย 4 ชั่วโมงในฤดูร้อน และช้ากว่าไทย 5 ชั่วโมงในฤดูหนาว )
  • 9. ประวัติศาสตร์โดยสังเขป สมัยประวัติศาสตร์ - ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าชาว Nomad โดยเฉพาะชาว Scythian เป็นพวกแรกที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งในยูเครนในช่วงก่อนคริสตกาล หลังจากนั้น ชาวเผ่าสลาฟได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณตอนกลางและตะวันออกของยูเครน อย่างไรก็ดี ชนชาติสำคัญที่มีบทบาทในการรวบรวมดินแดนบริเวณนี้ให้เป็นปึกแผ่นคือชาวรุส ( Rus) ที่มาจากสแกนดิเนเวีย โดยต่อมาชาวรุสได้สถาปนาอาณาจักร Kievan Rus ขึ้นในศตวรรษที่ 6 และปกครองชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้ และต่อมาได้ขยายดินแดนออกไปรวบรวมเผ่าสลาฟและชนชาติต่างๆ จนเป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปในศตวรรษที่ 11 แต่ในศตวรรษที่ 12 อาณาจักรนี้ได้เสื่อมสลายลง เนื่องจากสงครามระหว่างเจ้าผู้ครองนครต่างๆ และการรุกรานจากชาวมองโกลในศตวรรษต่อมา หลังจากนั้น ดินแดนบางส่วนของยูเครนได้ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรต่างๆ อาทิ ลิทัวเนีย โปแลนด์ ออสโตร - ฮังกาเรียน และรัสเซีย
  • 10. หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยูเครนได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียและราชวงศ์ฮับสบวร์กเป็นครั้งแรกในปีค . ศ .1918 แต่ต่อมากระแสการปฏิวัติในรัสเซียได้ลุกลามมายังยูเครน ทำให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้น หลังจากนั้น ดินแดนส่วนตะวันตกของยูเครนได้ถูกผนวกรวมกับโปแลนด์ ในขณะที่ดินแดนตอนกลางและตะวันออกถูกผนวกรวมกับรัสเซียในฐานะ Ukrainian Soviet Socialist Republic ในปีค . ศ .1922 ภายใต้ระบอบสหภาพโซเวียต ชาวยูเครนถูกบังคับให้เลิกใช้ภาษาของตนเอง นอกจากนี้ ในช่วงปี ค . ศ . 1932-1933 ประธานาธิบดีสตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต ยังได้ใช้มาตรการ “ Holodomor” (Famine) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายระบบนารวมของสหภาพโซเวียตกับชาวยูเครน อันส่งผลให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงและการขาดแคลนอาหารขึ้นทั่วประเทศ และชาวยูเครนกว่า 7 ล้านคนต้องเสียชีวิตลง ชาวนาและปัญญาชนที่ต่อต้านระบบดังกล่าวถูกกวาดล้างหรือเนรเทศไปยังไซบีเรีย
  • 11. ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ชาวยูเครนให้การสนับสนุนกองทัพของนาซีเยอรมัน เพื่อเป็นอิสระจากสหภาพโซเวียต แต่ต่อมาได้หันไปต่อต้าน เนื่องจากกองทัพเยอรมันปกครองอย่างกดขี่และทารุณ โดยในช่วงดังกล่าว ชาวยิวในยูเครนกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารหมู่และ กรุงเคียฟ ถูกเผาทำลาย อย่างไรก็ดี หลังจากที่กองทัพนาซีบุกโปแลนด์ในปีค . ศ .1939 ดินแดนส่วนตะวันตกของยูเครนที่เดิมอยู่ภายใต้โปแลนด์ได้ถูกผนวกรวมกับสหภาพโซเวียต
  • 12. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 - การประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระแสชาตินิยมในยูเครนขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยเหตุผลต่างๆ ได้แก่ ความไร้ประสิทธิภาพของระบบสหภาพโซเวียต ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วสหภาพโซเวียตและการพยายามปิดบังข้อมูลของเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสหภาพโซเวียตต่อกรณีการระเบิดของโรงงานปฏิกรณ์ปรมาณู Chernobyl ที่ตั้งอยู่ในยูเครนในปีค . ศ .1986 และเมื่อประธานาธิบดีกอร์บาชอฟดำเนินนโยบายเปิดกว้างทางการเมือง ได้ส่งผลให้รัฐบาลของสหภาพโซเวียตจำเป็นต้องให้อำนาจแก่สาธารณรัฐและดินแดนปกครองตนเองต่างๆ มากขึ้น กระแสการเรียกร้องสิทธิที่จะปกครองตนเองในยูเครนดำเนินไปอย่างเข้มแข็ง และในที่สุดยูเครนได้ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค . ศ . 1991 ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค . ศ .1991 ชาวยูเครนได้ลงประชามติให้ยูเครนประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต
  • 13. การแบ่งเขตการปกครอง ยูเครนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 24 จังหวัด ( provinces - oblasts ) 1 สาธารณรัฐปกครองตนเอง * ( autonomous republic - avtonomna respublika ) และ 2 เทศบาลนคร ** ( municipalities - misto )
  • 14. ได้แก่ เขตการปกครองของยูเครน จังหวัดและสาธารณรัฐปกครองตนเอง 1 เชียร์คาซี 10 คเมลนิตสกี 19 ซูมืย 2 เชียร์นีฮิฟ 11 คีโรโวฮราด 20 เตียร์โนปิล 3 เชียร์นิฟต์ซี 12 เคียฟ 21 วินนิตเซีย 4 ไครเมีย * 13 ลูฮันสค์ 22 โวลิน 5 ดนีโปรเปตรอฟสค์ 14 ลวีฟ 23 ซาคาร์ปัตเตีย 6 โดเนตสค์ 15 มีโคลายิฟ 24 ซาโปริจเจีย 7 อีวาโน-ฟรังคิฟสค์ 16 โอเดสซา 25 จีโตมีร์ 8 คาร์คิฟ 17 ปอลตาวา 9 เคียร์ซอน 18 ริฟเน
  • 15. จัตุรัส  Jaturus  mykhailivska              จัตุรัสที่สวยงามคลาสสิค และเป็นจุดโดดเด่นที่สุดของกรุงเคียฟ และเป็นที่ตั้ง อาคารรัฐสภายูเครน ซึ่งสร้างเมื่อปี 1936 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ถูกทำลายลงและได้รับการบูรณะขึ้นมาใหม่เมื่อปี 1946 นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้ง อนุสาวรีย์แห่งมิตรภาพของรัสเซียและยูเครน ที่มีการสร้างด้วยหินแกรนิตโค้งเป็นรูปครึ่งวงกลม ทำให้มีลักษณะสวยงามและเป็นอนุสรณ์สถานแห่งหนึ่งที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาด  
  • 16.   โบสถ์เซนต์ไมเคิล สร้างในศตวรรษที่ 12 ซึ่งถูกทำลายในสมัยที่ปกครอง ด้วยระบอบสังคมนิยม ภายหลังจากที่ระบอบสังคมนิยมล่มสลาย ประชาชนได้เรียกรองให้มีการสร้างโบสถ์ขึ้นใหม่ โดยใช้เวลาในการก่อสร้าง 3 ปี ในการบูรณะซ่อมแซม             โบสถ์เซนต์ไมเคิลหรือ โดมทองคำ ( St.Michael’s Golden-Domed) เป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนาคริสต์นิกายยูเครนเนีย ออร์โธด็อกซ์ อยู่ริมแม่น้ำนีเปอร์ และอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาวิหารเซนต์โซเฟีย ( St.Sophia Cathedral)  โบสถ์เซนต์ไมเคิลสร้างในยุคกลางสมัยกษัตริย์ Sviatopolk II Iziaslavich ที่ปกครองดินแดน Kievan Rus ในปี 1050-1113               ดินแดนแห่งนี้เป็นรัฐอิสระ มีอาณาเขตอยู่ในประเทศยูเครนปัจจุบัน รูปแบบการก่อสร้างเป็นศิลปะแบบยูเครนเนีย บาร็อก ด้านในตกแต่งแบบไบแซนไทน์ มีลักษณะเหมือนโบสถ์หลายแห่งในรัสเซียและตุรกี นับตั้งแต่ยูเครนได้รับเอกราชจากรัสเซีย รัฐบาลได้ทำการบูรณะโบสถ์แห่งนี้ใหม่หมด พร้อมทั้งเปิดอย่างเป็นทางการให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวชมเมื่อเดือนพฤษภาคมปี 1999    
  • 17.             พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บสมบัติล้ำค่าของยูเครน เช่นเครื่องเพชรพลอยโบราณ และภาพวาด ฯลฯ นำท่านชม พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ชมอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ ที่ปลดประจำการสมัยสงครามโลก ครั้งที่นาซีเยอรมัน บุกเข้ากรุงเคียฟ ซึ่งภายหลังจากสงครามสงบแล้ว ได้เก็บรวบรวมอาวุธต่างๆ เพื่อไว้เตือนใจชนรุ่นหลังให้ระลึกถึงเหล่าวีรชนผู้กล้าหาญ    
  • 18. พระราชวังโวรอนซอฟ ( VORONTSOV’S PALACE)                ซึ่งเป็นพระราชวัง ที่ถูกดำริให้สร้างในปี 1828 โดย MIKHAIL VORONTSOV มีพื้นที่ทั้งหมด 40 เฮกเตอร์ ) ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ E.BLORE ห้องต่างๆที่อยู่ในพระราชวังมีถึง 150 ห้อง ซึ่งได้รับการยกย่องว่าตกแต่งอย่างสวยงาม ที่สุดในประเทศยูเครนสไตล์ในการตกตแต่งห้องนั้นเกิดจากการผสมผสานสถาปัตยกรรมระหว่าง อังกฤษ และ ตะวันออก ได้อย่างลงตัว และนอกจากนี้ ยังเคยใช้เป็นที่รับรองบุคคลสำคัญต่างๆ เช่น เซอร์วินสตัน เชอร์ชิล แห่งประเทศอังกฤษ พระราชวังโวรอนซอฟ ( VORONTSOV’S PALACE  
  • 19. พระราชวังลิวาเดีย ( LIVADIA PALACE)              ซึ่งเป็นพระราชวังของพระเจ้าซาร์รัสเซีย เคยใช้ ในการเป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระเจ้าซาร์เมื่อเสด็จมายังแหลมไครเมียในช่วงฤดูร้อนและเป็นสถานที่ประชุมผู้นำระดับโลกคือ ประธานาธิบดี รูสเวลท์ แห่งสหรัฐอเมริกา นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล ของอังกฤษ และประธานาธิบดี สตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 1945 พระราชวังแห่งนี้ได้เปิดให้เข้าชมเมื่อปี 1974 ประกอบไปด้วยอาคาร 60 หลัง ซึ่งมีความงดงามของพระราชวังที่ถูกสร้างขึ้นด้วยศิลปะ สไตล์ อิตาเลียน – เรอเนซองซ์ ที่ดูเรียบง่ายแต่คลาสสิค    
  • 20.  
  • 22.