SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
พระราชประวัติ
                พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออ
เบิร์น เมืองเคมบริ ดจ์ รัฐแมสสาชูเซสท์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา เมื่อวันจันทร์ ขึ้น ๑๒ คํ่า เดือนอ้าย ปี เถาะ จุล
ศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลย
เดช เป็ นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จเจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานคริ นทร์ (พระราช
                                             ่ ั
โอรส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว และสมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสา
อัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระราชชนนีศรี สังวาลย์ ซึ่ งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย
เป็ นสมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราช
ชนนี มีพระเชษฐภคินีและพระเชษฐา คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ ากัลยาณิ วฒนา ประสู ติเมื่อวันที่ ๖
                                                                                ั
พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ ณ กรุ งลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา
อานันทมหิ ดล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช
๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลเบิร์ก ประเทศเยอรมนี

เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งทรง
สําเร็ จการศึกษาปริ ญญาแพทยศาสตร์ บณฑิตเกียรตินิยม จาก
                                      ั
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ ดประเทศสหรัฐอเมริ กา เสด็จกลับประเทศไทย
ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช
                                                                     ่ ั
๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกทิวงคต ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว รัชกาลปั จจุบน ทรงเจริ ญ
                                                                                    ั
พระชนมายุได้ไม่ถึงสองพรรษา และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ พรรษา ได้เสด็จเข้ารับการศึกษาชั้นต้น ณ
โรงเรี ยนมาแตร์ เดอี กรุ งเทพฯ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๗๖ จึงเสด็จไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศ
สวิตเซอร์ แลนด์ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินีและพระเชษฐา เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้น
ประถมศึกษา ในโรงเรี ยนเมียร์ มองต์ ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมันและภาษาอังกฤษ จากนั้น
ทรงเข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอล นูแวล เดอ ลา ชืออิส โรมองต์ เมืองแชลลี ชือ โลซานน์ ทรงได้รับ
ประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์ จาก ยิมนาส กลาชีค กังโดนาล แห่งเมืองโลซานน์ แล้วทรงเข้าศึกษาใน
มหาวิทยาลัยโลซานน์ โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิศวกรรมศาสตร์

ในพุทธศักราช ๒๔๗๗ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิ ดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็ นพระมหากษัตริ ย ์
รัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรี วงศ์ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับการสถาปนา
ขึ้นเป็ น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๘ และได้โดยเสด็จพระราช
                         ่ ั
ดําเนิน สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล นิวติประเทศไทยเป็ นครั้งแรก ในพุทธ>ศักราช ๒๔๘๑ โดย
                                               ั
ประทับ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เป็ นการชัวคราว แล้วเสด็จกลับไปประเทศ
                                                            ่
                                                                                 ่ ั
สวิตเซอร์แลนด์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๘ จึงโดยเสด็จพระราชดําเนิน สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล
                                นิวติประเทศไทยเป็ นครั้งที่สอง ครั้งนี้ประทับ ณ พระที่นงบรมพิมาน
                                   ั                                                   ั่
                                ในพระบรมมหาราชวัง

                                                                                          ่ ั
                                  ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันท
                                  มหิดล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ พระที่นงบรมพิมาน ใน
                                                                               ั่
                                  พระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดช
                                  จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่
                                  เนื่องจากยังทรงมีพระราชภารกิจด้านการศึกษา จึงต้องทรงอําลา
                                  ประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชดําเนินกลับไปยังประเทศ
                                  สวิตเซอร์ แลนด์อีกครั้งหนึ่ง ในเดือนสิ งหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙
                                  เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในครั้งนี้ ทรงเลือกศึกษา
                                  วิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์ แทนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษา
อยูเ่ ดิม

ระหว่างที่ประทับศึกษาอยูในต่างประเทศนั้น ทรงพบกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ธิ ดาในพระวรวงศ์
                        ่
เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว  ่ ั
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอิสริ ยยศ ขึ้นเป็ น พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้านักขัตรมง
คล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓ และในพุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเป็ น
พระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่าพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) และหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์)
กิติยากร ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ณ
เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดําเนินนิวติพระนคร ประทับ ณ พระที่นงอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
                                              ั                       ั่
ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
                                  ั
มหาอานันทมหิดล ในเดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘ เมษายน ปี เดียวกัน ทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ณ พระตําหนัก
                         ั
สมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธี
ราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ขึ้นเป็ น
สมเด็จพระราชินีสิริกิต์ ิในวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งการพระ
                                                                                          ั
ราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี ข้ ึน ณ พระที่นงไพศาลทักษิณ ใน
                                                                 ั่
พระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย ตามที่จารึ กในพระสุ พรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรี นฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถ
บพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่ นดินโดยธรรม เพือประโยชน์ สุข
                                                                                     ่
แห่ งมหาชนชาวสยาม และในโอกาสนี้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ
สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิต์ ิ ขึ้นเป็ น สมเด็จ
พระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี หลังจากเสร็ จการพระราชพิธีบรม
ราชาภิเษกแล้ว ได้เสด็จพระราชดําเนินไปทรงรักษาสุ ขภาพ ณ
ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคําแนะนํา และ
ระหว่างที่ประทับรักษาพระองค์อยูน้ น สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระ
                                    ่ ั
บรมราชินี มีพระประสู ติกาลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ สมเด็จพระ
เจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณวดี ซึ่งประสู ติ ณ
                                          ั
โรงพยาบาลมองซัวซีส์ เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน
พุทธศักราช ๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริ ญ
                                                  ่ ั
พระชันษาได้ ๗ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ได้เสด็จพระราช
ดําเนินนิวติพระนคร ประทับ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน
           ั
พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้ายที่ประทับไปประทับ ณ พระที่นงอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต และที่พระที่
                                                               ั่
นังอัมพรสถานนี้ เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี มีพระประสู ติกาลพระราชโอรสและพระราช
  ่
ธิดาอีกสามพระองค์ คือ

      สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้ าฟามหาวชิ ราลงกรณ สยามมกุฏราชกุมาร เสด็จพระราชสมภพ เมื่อ
                                       ้
       วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕
      สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา เจ้ าฟามหาจักรีสิรินธร รั ฐสี มาคุณากรปิ ยชาติ สยามบรมราช
                                         ้
       กุมารี เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๔๙๘
      สมเด็จพระเจ้ าลูกเธอ เจ้ าฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีประสู ติ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม
                                  ้
       พุทธศักราช ๒๕๐๐

                                        ่ ั
ในพุทธศักราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงมีพระราชศรัทธาที่จะทรงผนวช ด้วยทรง
พระราชดําริ วา พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจําชาติ ที่ประชาชนของพระองค์เลื่อมใสกันอยูเ่ ป็ นจํานวน
             ่
มาก ยิงทรงมีโอกาสคุนเคยกับหลักการและทางปฏิบติของพุทธศาสนิกชน ระหว่างที่ทรงปฏิบติพระราช
      ่            ้                       ั                                  ั
กรณี ยกิจ ก็ทรงมีพระราชศรัทธายิงขึ้น เพราะได้ประจักษ์แก่พระราชหฤทัยว่า ธรรมคําสั่งสอนของสมเด็จ
                               ่
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประกอบด้วยเหตุผลและสัจจธรรม แม้ผใดจะวิจารณ์ดวยหลักวิทยาศาสตร์ ก็จะไม่
                                                    ู้          ้
เสื่ อมถอยในความนิยมเชื่ อถือ ทั้งจักเป็ นทางสนองพระเดชพระคุณพระราชบูรพการี ตามคตินิยมอีกโสต
หนึ่งด้วย จึงได้เสด็จออกทรงผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ
วันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ เสร็ จการพระราชพิธีทรงผนวชแล้ว เสด็จพระราชดําเนินไปประทับ
ณ พระตําหนักปั้ นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้า
สิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี เป็ นผูสาเร็ จราชการทรงปฏิบติพระราชกรณี ยกิจแทนพระองค์ตลอดเวลา ๑๕ วันที่
                                ้ ํ                 ั
ทรงผนวชอยู่ และจากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี ทรงปฏิบติพระราชกรณี ยกิจใน
                                                                        ั
ตําแหน่งผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรี ยบร้อย เป็ นที่พอพระราชหฤทัย จึงมีพระบรมราชโองการ
          ้ ํ
โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็ น สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ในปี เดียวกันนั้นเอง และใน
พุทธศักราช ๒๕๐๐ ทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นงอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปประทับที่พระตําหนัก
                                          ั่
จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จนถึงปัจจุบน
                                        ั
พระอัจฉริยภาพด้ านจิตรกรรมฝี พระหัตถ์




                                     ่ ั
               พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว สนพระราชหฤทัยงานศิลปะ ด้านจิตรกรรมตั้งแต่ยงทรงพระ
                                                                                     ั
                       ่
เยาว์ ขณะที่ยงประทับอยูประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ โดยทรงศึกษาด้วยพระองค์เอง จากตําราทางด้านศิลปะ
             ั
และเสด็จพระราชดําเนิ นไปทอดพระเนตร งานศิลปกรรมตามหอศิลป์ และพิพิธภัณฑ์ต่างๆ




                    หลังจากที่เสด็จนิวตประเทศไทย พระองค์จึงทรงเริ่ มต้น สร้างสรรค์งานจิตรกรรมอย่าง
                                      ั
จริ งจัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ เป็ นต้นมา ทรงใช้เวลาเมื่อว่างจากพระราชภารกิจ เพื่อเขียนภาพ ภาพที่ทรง
เขียนส่ วนมาก จะเป็ นพระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ซึ่ งมักจะเป็ น
ภาพเขียนครึ่ งพระองค์ เป็ นส่ วนใหญ่
                ผลงานจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ เริ่ มเผยแพร่ ให้ชื่นชมในวงกว้าง เมื่อทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานภาพเข้าร่ วมแสดง ในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๖ และในครั้งต่อๆ
มา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริ ญญาดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา
                                                                         ั
จิตรกรรม และในโอกาสสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ครบ ๒๐๐ ปี กรมศิลปากรได้พระราชทานพระบรมรา
ชานุญาต ให้จดนิทรรศการจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ของพระองค์ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ นับเป็ น
              ั
ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่มีการแสดงงานศิลปะของพระมหากษัตริ ยเ์ พียงพระองค์เดียว
                                                                      ่ ั ั
                ผลงานจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มีท้ งสิ้ นกว่า ๑๐๐ ชิ้น ส่ วน
ใหญ่เป็ นภาพสี น้ ามันบนผืนผ้าใบ จิตรกรรมฝี พระหัตถ์น้ น มีหลากหลายรู ปแบบ แบ่งออกเป็ น ๓ กลุ่ม
                  ํ                                    ั
ใหญ่ๆ คือ ภาพแบบเหมือนจริ ง (Realistic) ภาพเอ็กซ์เพรสชันสิ สต์ (Expressionism) และภาพนามธรรม
                                                          ่
(Abstractionism)




                  ภาพเขียนเหมือนจริ งที่ทรงเขียน ส่ วนใหญ่จะเป็ นภาพพระสาทิสลักษณ์ ของสมเด็จพระนาง
เจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถ และทูลกระหม่อมทุกพระองค์ ภาพเหล่านี้มีความกลมกลืน งดงามของแสงเงาอย่าง
นุ่มนวล ให้บรรยากาศลึกซึ้ ง ชวนฝัน
                   ส่ วนภาพเขียนแบบนามธรรม เป็ นผลงานที่พระองค์ ทรงพัฒนามาจากงานเขียน ในลักษณะ
เอ็กซ์เพรสชันนิสต์ เป็ นการแสดงออกทางอารมณ์ และความรู ้สึกอย่างอิสระ ปราศจากรู ปทรง และเรื่ องราว
              ่
                            ่
มีความรู ้สึกจริ งจัง แฝงอยูในผลงานที่แสดงออกด้วยการใช้ฝีแปรงหยาบๆ สี สันที่ตดกันลงตัว
                                                                              ั
พระอัจฉริยภาพด้ านหัตถกรรม




                                              ่ ั
                    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงสนพระราชหฤทัย ในงานช่างตั้งแต่ยงทรงพระเยาว์ั
                 ่
ขณะที่ประทับอยูที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ทรงร่ วมกับสมเด็จพระบรมเชษฐาธิ ราช ประดิษฐ์
ของเล่นของใช้หลายๆ แบบเมื่อพระชนมายุ ๑๐ พรรษา ทรงประกอบวิทยุโดยซื้ อหาอุปกรณ์ มาทําเองจน
สําเร็ จ สามารถฟังวิทยุท่ีส่งได้ พระองค์สนพระทัยในการทําเรื อแบบต่างๆ ด้วยไม้ ทรงจําลองเรื อรบหลวง
ศรี อยุธยา และทรงประดิษฐ์หุ่นเครื่ องบินเล็ก เรื อใบจําลอง และเครื่ องร่ อนต่างๆ และเมื่อทรงประดิษฐ์สิ่งใด
เพื่อความสวยงามแล้ว จะทรงคํานึงประโยชน์ใช้สอยของสิ่ งนั้นด้วย

                   เรื่ อใบลําแรกที่ทรงต่อเอง เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๐๗ เป็ นเรื อใบประเภทเอ็นเตอร์
ไพรส์ (International Enterprise Class) ชื่อ เรื่ อราชปะแตน และลําต่อมาชื่อ เรื อเอจี โดยทรงต่อตามแบบ
                                 ่ ั
สากล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงแข่งขันแล่นเรื อใบหลายครั้ง ทั้งในและนอกประเทศ เช่น ในปี
พุทธศักราช ๒๕๐๘ ทรงใช้เรื อราชปะแตนแข่งขันกับดุ๊ค ออฟ เอดินเบอระ (The Duke of Edinburgh) พระ
ราชอาคันตุกะส่ วนพระองค์ โดยใช้เส้นทางไป - กลับ ระหว่างพัทยา - เกาะล้าน




                  ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๘ ทรงต่อเรื อใบประเภทโอเค (International OK Class) ตามแบบ
สากลลําแรกที่ทรงต่อชื่ อ เรื อนวฤกษ์ หลังจากนั้นทรงต่อเรื อใบประเภทนี้ อีกหลายลํา เช่น เรื อเวคา ๑ เรื อเว
คา ๒ และเรื อเวคา ๓ เป็ นต้น
่ ั
                      พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงออกแบบและต่อเรื อใบประเภทม็อธ (International
                                                       ํ
Moth Class) จํานวนหลายลํา เรื อประเภทนี้ เป็ นเรื อที่กาหนดความยาวของตัวเรื อไม่เกิน ๑๑ ฟุต เนื้ อที่ใบไม่
เกิน ๗๕ ตารางฟุต ส่ วนความกว้างของเรื อ รู ปร่ างลักษณะของเรื อ ความสู งของเสา ออกแบบได้โดยไม่
จํากัด วัสดุที่ใช้สร้างเรื อ อาจทําด้วยโลหะ ไฟเบอร์ กลาส หรื อไม้ก็ได้ เรื อม็อธ ที่ทรงออกแบบ และทรงต่อ
ด้วยพระองค์เอง ในระหว่างปี พุทธศักราช ๒๕๐๙ - ๒๕๑๐ มีอยู่ ๓ แบบ ซึ่ งได้พระราชทานชื่อดังนี้ เรื อมด
เรื อซูเปอร์มด และเรื อไมโครมด
พระอัจฉริยภาพด้ านการเกษตร




             1.ทรงสร้ างฐานข้ อมูลของพืนที่
                                       ้

                           ่                                               ่ ั
                การเสด็จฯทัวประเทศไทย นับตั้งแต่ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จนิวต  ั
                                              ่ ั
ประเทศไทยพร้อมกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล พระบรมเชษฐาธิ ราช รัชกาลที่ 8 ใน
วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2489 ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จที่ทุ่งนาบางเขน ที่วดพระศรี มหาธาตุ ทั้งสองพระองค์สน
                                                                     ั
พระทัยอาชีพของชาวนามาตั้งแต่ครั้งนั้นที่เห็นชาวนาทํานา ปลูกข้าว เกี่ยวข้าว และพระองค์ยงทรงหว่าน
                                                                                          ั
ข้าว

                ต่อมาในวันที่ 9 มิถุนายน 2489 ซึ่งรัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุยเดชเสด็จขึ้นครองสิ ริราชสมบัติเป็ นกษัตริ ยรัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จกรี เมื่อ
                                                             ์                       ั
พระชนมายุ 19 ชันษา และหลังจากนั้นทรงกลับไปเปลี่ยนแนวทางศึกษาหลังจากที่ได้ตดสิ นพระราชหฤทัยที่
                                                                                       ั
เสด็จขึ้นครองราชย์ เสด็จฯไปเปลี่ยนแผนการศึกษาจากเดิมที่ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ด้านชลประทาน
เปลี่ยนเป็ นด้านการปกครองด้านรัฐศาสตร์ และหลายๆ อย่าง

             ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 ทรงโปรดเกล้าฯให้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้น และได้
พระราชทานปฐมบรมราชโองการว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาว
สยาม" เป็ นพระราชสัจวาจาที่ทรงยึดมันมาเป็ นเวลา 56 ปี นับแต่น้ นเป็ นต้นมา
                                   ่                           ั
ในการสร้างฐานข้อมูลพื้นฐาน พระองค์ทานทรงเป็ นเหมือนเด็กหนุ่ม ทรงประทับใน
                                                       ่
ต่างประเทศเหมือนฝรั่งไม่เคยเห็นเมืองไทยเลยเพราะฉะนั้นการที่จะมาทรงเป็ นประมุขของประเทศ ท่านก็
ต้องศึกษาเมืองไทยให้ละเอียด และวิธีการที่ดีที่สุดก็คือการเสด็จไปเยียมราษฎรในทุกภาคของประเทศไทย
                                                                   ่
เพื่อให้ได้สัมผัสและทอดพระเนตรด้วยพระองค์เอง ขอพระราชทานอนุ ญาตใช้คาสามัญว่า จะได้เห็นได้ฟัง
                                                                           ํ
ได้ชิม ได้สัมผัส เห็นฝุ่ น เห็นทะเล ด้วยตาตนเอง

              ครั้งแรกที่เสด็จฯไปที่พระราชวังไกลกังวล ที่หวหิ นและเสด็จฯไปจังหวัดประจวบคีรีขนธ์
                                                          ั                                 ั
ราชบุรี เพชรบุรี การที่เสด็จฯไปทรงงานทัวประเทศทําให้ได้ทรงเห็นเมืองไทย รู ้จกคนไทย มีความ
                                        ่                                   ั
ประทับใจ ทําให้เกิดแรงดลพระราชหฤทัยให้มีโครงการพระราชดําริ ข้ ึนมา

             ช่วงที่เสด็จฯไปที่หวหิ นสมัยก่อนอาจจะไปรถไฟต่อมามีถนนจึงเดินทางโดยรถยนต์ และได้
                                ั
                                                                                 ่
ทอดพระเนตรเห็นป่ ายางนาในช่วงอําเภอบ้านลาด จนถึงอําเภอท่ายาง จ.เพชรบุรี ขึ้นอยูสองข้างทาง
พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะเก็บป่ ายางนาไว้แต่เนื่องด้วยมีเหตุขดข้องทําให้ไม่สามารถรักษาป่ าไว้ได้ จึง
                                                               ั
ทรงโปรดให้มหาดเล็กเก็บเมล็ดพันธุ์ยางมาเพาะแล้วนํามาปลูกที่สวนจิตรลดา ปั จจุบนแปลงนายางนั้นยังอยู่
                                                                               ั
แสดงให้เห็นว่าพระองค์สนพระทัยที่จะอนุ รักษ์พนธุ์ไม้
                                              ั

             ในช่วงปี พ.ศ.2496-2498 เสด็จเยียมเกษตรกรในภาคกลาง เสด็จฯโดยเรื อพระที่นง เสด็จฯไป
                                            ่                                           ั่
                                                                                     ั่ ่
ตอนเช้าเย็นเสด็จฯกลับไม่ทรงประทับแรม มีครั้งเดียวที่เสด็จฯ ชัยนาทประทับบนเรื อพระที่นงอยูครั้งเดียว

                 ในวันที่ 2-20 พฤศจิกายน 2498 ทรงไปเยียมภาคอีสานทุกจังหวัดเป็ นเวลา 19 วัน เป็ นครั้ง
                                                       ่
แรกที่เสด็จฯภาคอีสาน พระองค์ทรงเหน็ดเหนื่อยมาก เพราะไปรถไฟ จากรถไฟต่อรถยนต์ จากรถยนต์ต่อ
เฮลิคอปเตอร์ ไปภูกระดึง จากภูกระดึงมาประทับรถยนต์พระที่นงเสด็จฯ มาหนองคาย จากหนองคายมาลง
                                                              ั่
เรื อวิงตามลํานํ้าชมนํ้าโขงและนังรถยนต์ต่อ ผูที่เล่าตอนนั้นบอกว่าใกล้ฤดูหนาวเริ่ มแล้งฝุ่ นมาก เข้าใจว่า
       ่                         ่           ้
ตอนนั้นรถยังไม่มีแอร์ ฝุ่ นก็เยอะมาก

               ในระหว่างที่เสด็จฯจากนครพนมเพื่อเสด็จฯไปขอนแก่น ซึ่ งจะต้องผ่านภูพานลงมาจากภูพาน
ก็จะถึงสี่ แยกสมเด็จ ตอนแรกไม่ได้จะเสด็จที่น้ ีแต่มีพสกนิกรมาเฝ้ ารับเสด็จฯ ตอนนั้นแล้งมากข้าวในนาตาย
หมด พระองค์ตรัสถามชาวนาที่มาเฝ้ ารับเสด็จฯว่าข้าวในนาตายเพราะแล้งใช่ไหม ชาวนาบอกว่าไม่ใช่ ตาย
                                       ่                             ่
เพราะนํ้าท่วม ทําให้พระองค์ตระหนักได้วาเมืองไทยมีน้ าสมบูรณ์แต่วานํ้าไม่สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้
                                                       ํ
เต็มที่ พอตกลงมาก็ท่วมสร้างความเสี ยหายแล้วนํ้าก็ไหลลงแม่น้ าลําคลองไม่มีประโยชน์อะไร
                                                             ํ
่
              ทําให้ทรงมีแรงดลพระราชหฤทัยหลายเรื่ องในจุดนั้น ท่านทรงมีพระราชดําริ วาบนภูพานมี
แม่น้ าหลายสายน่าจะมีการทําฝายทดนํ้าเล็กๆ เป็ นขั้นๆ ต่อมามีการทํากันมาก เมืองไทยมีแหล่งเก็บนํ้า
      ํ
ธรรมชาติมาก จึงคิดว่าทําไมไม่ขดบ่อในไร่ นาขุดบ่อให้มีน้ าในไร่ นา แต่น่าเสี ยดายว่าแหล่งนํ้าธรรมชาติ
                                    ุ                         ํ
หลายแห่งถูกพัฒนาแต่พฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวมากกว่า ต่อมาการขุดบ่อนํ้าในนาได้กลายมาเป็ นอ่างเก็บนํ้า
                           ั
                                                                   ่
เล็กๆ มากขึ้นหรื อที่เรี ยกกันว่า "แก้มลิง" ที่ตอนนี้กรุ งเทพฯมีอยูประมาณ 30 แก้ม

               อีกหนึ่งโครงการพระราชดําริ ที่สาคัญคือถึงจะเป็ นหน้าแล้งแต่เมืองไทยก็มีเมฆขาวเต็ม
                                              ํ
ท้องฟ้ า น่าจะมีวธีการที่ทาอย่างไรให้เมฆเหล่านั้นตกลงมาตามที่ตองการแล้วต่อมาก็กลายเป็ นโครงการฝน
                 ิ        ํ                                     ้
หลวง

             วันที่ 20 กุมภาพันธ์ ถึง 17 มีนาคม พ.ศ.2501 เสด็จฯภาคเหนือทุกจังหวัด ยกเว้นจังหวัด
แม่ฮ่องสอน ทําให้มีแรงดลพระราชหฤทัยให้มีโครงการพระราชดําริ ช่วยเหลือชาวเขา ซึ่ งต่อมาได้กลายเป็ น
โครงการหลวงในที่สุด เพราะเนื่องมาจากเห็นชาวเขาปลูกฝิ่ นและทําไร่ เลื่อนลอย

               วันที่ 6-26 มีนาคม 2502 เสด็จฯเยียมภาคใต้ทุกจังหวัด ทรงประทับที่จงหวัดนราธิวาส จังหวัด
                                                ่                               ั
ปั ตตานี ทําให้ทรงทราบว่าเมืองไทยนั้นมีชาวมุสลิมอาศัยอยูหลายจังหวัดมีประเพณี ที่ต่างกับภาคอื่นและมี
                                                          ่
ทะเลที่สวยงามมาก

              จากนั้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2502 ถึงวันที่ 9 มิถุนายน 2510 เสด็จฯเยียมมิตรประเทศ
                                                                                   ่
กว่า 28 ประเทศ บางช่วงเสด็จถึง 6 เดือนเพื่อศึกษาความแตกต่างของประเทศที่เจริ ญแล้วว่ามีสิ่งใดบ้างที่ควร
นํามาปรับปรุ ง ในสิ่ งที่ไม่ดีก็ไม่พยายามป้ องกันไม่นาเข้ามา เป็ นการผูกมิตรกับมิตรประเทศ
                                                     ํ

              2.ทรงเริ่มงานพัฒนา ประกอบด้ วยอาชีพของประชาชน การพัฒนาป่ าไม้ ดินและนา
                                                                                   ้

               นับตั้งแต่ปี 2512 เป็ นต้นมา ตลอดเวลา 17 ปี พระองค์จะเสด็จฯแปรพระราชฐานไปเยียม
                                                                                           ่
ราษฎรในภาคต่างๆ ทุกปี จะหมุนเวียนไปทุกภาคเพื่อไปทรงงานต่อยอดงานในโครงการพระราชดําริ ทุกปี
จากนั้นเป็ นต้นมาไม่เคยเสด็จฯต่างประเทศอีกเลย กระทังปี 2517 จึงได้เสด็จฯไปประเทศลาวซึ่งมีโครงการ
                                                       ่
สร้างสะพาน

            พระองค์ทรงมีเหตุผลของพระองค์ท่ีจะทรงใช้เวลาทั้งหมดเพื่อการพัฒนาช่วยเหลือประชาชน
ชาวไทย ทรงเริ่ มงานพัฒนาเกี่ยวกับอาชีพและอาหารของประชาชน การเริ่ มงานส่ วนใหญ่ทรงแนะนําหน่วย
ราชการในช่วงนั้นที่รับพระราชดําริ ไปค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ แต่บางสิ่ งบางอย่างเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีขอมูลทันที
                                                                                               ้
ไม่เห็นด้วยแต่บางอย่างที่พระองค์สนพระทัยก็จะนํามาวิจยมาพัฒนาของพระองค์เองที่พระตําหนักสวน
                                                    ั
จิตรลดา และพระตําหนักสวนอัมพร งานแรกที่เป็ นงานพัฒนาอาหาร คือ ข้าว ปลา ผัก ผลไม้ เป็ นอาหาร
หลักของคนไทยโดยเฉพาะเรื่ องข้าวสนพระทัยมาก

                 โครงการแรกคือ ทรงรับปลาหมอเทศมาจากปี นัง และทรงนําเลี้ยงที่พระตําหนักสวนจิตรลดา
แล้วจากนั้นได้นาพันธุ์ปลาหมอเทศ 5 หมื่นตัวไปแจกแก่กลุ่มเกษตรกรที่บางเขนแล้วก็แพร่ หลายออกไป
                    ํ
แล้วต่อมาที่สวนจิตรลดาก็ได้ขยายออกมาเป็ นสถานีทดลองส่ วนพระองค์ และทุกปี ในวันพืชมงคล จะโปรด
เกล้าฯให้ประชาชนเข้าชมงานในนั้น
                  ในปี 2503 ทรงฟื้ นฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ที่เลิกมาตั้งแต่สมัย
เปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 ที่ตองฟื้ นขึ้นมาเพื่อเป็ นขวัญกําลังใจแก่เกษตรกรที่เป็ นประชากรส่ วนใหญ่
                                       ้
ของประเทศ จากนั้นทรงเริ่ มมีระบบสหกรณ์ ธนาคารโคกระบือ ธนาคารข้าว การทดสอบการปลูกข้าวใน
สภาพดินต่างๆ เป็ นการทดลองในสภาพพื้นที่เช่นภาคเหนือที่มีการทดลองปลูกข้าวแบบขั้นบันได
                  ในปี พ.ศ.2505 ทรงเริ่ มโครงการโคนม ที่สวนจิตรลดา ตามพระราชประวัติของพระองค์เมื่อ
ทรงเรี ยนอนุบาลมีพระชนมายุ 5 ชันษา ที่โรงเรี ยนมาแตร์เดอี สมเด็จพระราชชนนีจะโปรดเกล้าฯให้
พระองค์และสมเด็จพระเชษฐา สะพายนมสดไปเสวยที่โรงเรี ยนทุกวัน เพราะอยากให้คนไทยร่ างกาย
แข็งแรงแบบฝรั่ง เป็ นแนวคิดในการส่ งเสริ มให้เลี้ยงโคนม
                  ในปี พ.ศ.2509 มกุฎราชกุมารประเทศญี่ปุ่นได้พระราชทานพันธุ์ปลานิลเป็ นปลาที่กลายพันธุ์
                                                 ั                           ่ ั
มาจากปลาหมอเทศ เติบโตเร็ วกว่าอร่ อยกว่าให้กบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวและต่อมาพระองค์ได้
                                                   ่
เพาะเลี้ยงกลายพันธุ์เป็ นปลาทับทิมที่แพร่ หลายอยูในตอนนี้ เผยแพร่ ไปทัวประเทศ
                                                                           ่
                  ต่อมาเป็ นการพัฒนาป่ าไม้และดิน ในปี 2512 พระองค์เห็นสภาพปั ญหาของชาวเหนือที่มี
                  ่
ชาวเขาอาศัยอยูหลายเผ่า ชาวเขามักจะถางป่ าทําไร่ เลื่อนลอยแล้วทําให้ตนนํ้าลําธารมีปัญหาแล้วเป็ นนํ้าที่คน
                                                                         ้
พื้นล่างใช้ พระองค์เริ่ มโครงการพัฒนาชาวเขาหาทางปลูกพืชอะไรก็ได้แทนการปลูกฝิ่ นและรายได้ดี หยุด
การทําไร่ เลื่อนลอย ขณะเดียวกันก็ปลูกป่ าเพิ่ม ต่อมาปี 2513 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็ นโครงการหลวงซึ่ง
ดําเนินงานต่อมาถึงปั จจุบน  ั
                  แนวพระราชดําริ ดานป่ าไม้ที่ทรงแนะนํา คือ 1.ให้สร้างฝายต้นนํ้าขนาดเล็ก ทางเหนื อเรี ยกว่า
                                     ้
ฝายแม้ว2.การปลูกป่ าโดยไม่ตองไปถางหรื อท่านใช้คาว่า "ห้ามปอกเปลือกป่ า" ปล่อยให้ข้ ึนเอง การปลูก
                                ้                        ํ
ต้นไม้ 3 อย่าง เพื่อประโยชน์ 4 อย่าง 1.ไม้ผล 2.ไม้ใช้สอย 3.ไม่ทาเชื้อเพลิง และ 4.เป็ นการอนุรักษ์ดินและ
                                                                  ํ
นํ้า การปลูกไม้ผลบนยอดเขาเมล็ดของมันจะแพร่ พนธุ์ไปเองั
                  ทางด้าน ดิน พระองค์ทรงมีโครงการพระราชดําริ แกล้งดินในภาคใต้ เนื่องจากดินส่ วนใหญ่
เป็ นดินพรุ เป็ นกรดทําให้ดินเปรี้ ยว พระองค์ทรงใช้วธีการทําให้ดินหายเป็ นกรดคือต้องทําให้เปรี้ ยวสุ ดสุ ด
                                                       ิ
แล้วแก้หนเดียว โดยเริ่ มทําครั้งแรกที่ศูนย์พิกุลทอง จังหวัดนราธิ วาส จะเห็นว่าพระองค์จะไม่แนะนําเรื่ อง
สารเคมีเลย
เมื่อเกิดปั ญหาหน้าดินถล่มในปี พ.ศ.2532 ทรงแนะนําเรื่ องหญ้าแฝกเพราะว่าปี นั้นมีโครงการ
ดอยตุงมีผหวังดีไปตัดถนนใหม่เป็ นทางตรง ปรากฏว่าดินถล่มลงมากลบนาชาวบ้าน พระองค์ทรงมี
            ู้
พระราชดําริ ให้ปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้ องกันการชะล้างและการพังทลายของหน้าดินและยังช่วยบํารุ งดินเป็ นปุ๋ ย
พืชสด
                โครงการนํ้า แห่งแรกที่พระองค์ริเริ่ มเมื่อปี 2506 การทําโครงการเก็บนํ้าเขาเต่าที่หวหิ นเป็ น
                                                                                                      ั
โครงการแรกเลย โดยการทําเขื่อนกั้นไม่ให้น้ าทะเลเข้าแล้วเอานํ้าจืดจากเขามาใช้ประโยชน์เลี้ยงปลาทํา
                                               ํ
การเกษตรได้ มีพระราชดําริ อย่างหนึ่งว่า การสร้างเขื่อนดีแน่ แต่การสร้างเขื่อนใหญ่ๆ มักใช้เงินมากต้องกู้
เงินมาสร้าง มีประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้ า กันนํ้าท่วมได้ แต่ประโยชน์ท่ีเกษตรกรรายย่อยได้รับทันทีนอย             ้
เพราะว่าการทําต้องทําคลองส่ งนํ้าและไม่มีเวลาที่จะทําให้แนวพระราชดําริ ของพระองค์ท่านคือทําเขื่อนตาม
แม่น้ าและคลองขนาดเล็กเพื่อสร้างเขื่อนขนาดเล็ก
       ํ
                3.ทรงสร้ างฐานส่ งกาลังบารุ งแบบทหาร
                การทํางานต้องมีฐานกําลังสนับสนุน เมื่อครั้งที่พระองค์เสด็จฯไปทรงงานไปต่างจังหวัด
                                ้ ้่
สมัยก่อนจะทรงไปประทับที่บานผูวาราชการจังหวัด ศาลากลางไม่มีที่ประทับในตอนนั้น ฉะนั้นจึงได้มีการ
สร้างตําหนักขึ้นมาในภาคกลางก็จะมีที่ประทับที่พระราชวังไกลกังวลพระตําหนักเปี่ ยมสุ ข เป็ นฐานที่ทางาน          ํ
ในภาคกลางตะวันออกตะวันตก ในภาคเหนือสร้างพระตําหนักภูพิงค์ ภาคใต้สร้างพระราชตําหนักทักษิณ
ราชนิเวศน์ และที่ภาคอีสานสร้างตําหนักภูพานราชนิ เวศน์ ถือว่าเป็ นฐานที่ทรงไปปฏิบติงานประจําปี เพื่อ
                                                                                              ั
สามารถขยายผลได้อีก
                ในปี พ.ศ.2522 ทรงสร้างศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาด้านการเกษตร 6 แห่งทัวประเทศ เพื่อเป็ น่
ตัวอย่างของความสําเร็ จในการทํางานของหน่วยงาน เพื่อประชาชนในท้องถิ่นสามารถนําไปใช้ได้ทนที เป็ น         ั
พิพิธภัณฑ์ของสิ่ งมีชีวต เป็ นศูนย์บริ การเบ็ดเสร็ จ หรื อ One Stop Service เป็ นศูนย์ที่ต้ งก่อนธนาคารและ
                        ิ                                                                   ั
อําเภอจะทําเสี ยอีก นอกจากนี้ยงมีมูลนิธิชยพัฒนาเป็ นมูลนิธิส่วนพระองค์ที่ต้ งขึ้นมาเพื่อใช้ในเหตุการณ์
                                 ั          ั                                    ั
เร่ งด่วน เพราะบางโครงการกว่าจะรอรัฐบาลอนุมติก็ใช้เวลานานเป็ นปี
                                                     ั
                โครงการทฤษฎีใหม่เป็ นการบริ หารจัดการดิน นํ้า พืช ทุน แรงงาน ให้มีประสิ ทธิภาพ ตาม
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ทรงรับสั่งครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 และรับสั่งอีกครั้งใน
วันที่ 4 ธันวาคม 2538 ในช่วงนั้นเกิดฟองสบู่แตกประชาชนประชาชนเริ่ มหันไปสนใจแนวพระราชดําริ
ทฤษฎีใหม่มากขึ้น กระทังครั้งล่าสุ ดเมื่อวันที่ 4ธันวาคม 2548 เป็ นพระราชดํารัสของพระองค์ครั้งหลังสุ ด
                            ่
                ขออัญเชิ ญพระราชดํารัสของพระองค์ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ที่รับสั่งว่า " เราก็ตอง      ้
ขอให้พรทุกฝ่ าย ฝ่ ายรัฐบาล ฝ่ ายค้าน ได้พร้อมใจทําอะไรก็ทาให้ดี แต่วนนี้ไม่พดว่าให้ทาอะไรเพราะว่าจะ
                                                                ํ         ั        ู              ํ
ทะเลาะกันไม่เอา ไม่ให้ทะเลาะกัน ให้ทาอะไรที่ดูดี แล้วคิดให้อย่าเกิน อย่าเลยเถิด แต่ถาแต่ละคนทํางานให้
                                          ํ                                                     ้
เหมาะสมบ้านเมืองถึงจะไปได้ ถึงจะต้องให้พรว่าให้บานเมืองไปได้ให้แต่ละคนไปได้ ไม่ใช่ให้มีการหัวชน
                                                          ้
ฝา จะทําอะไรก็ขอให้แต่ละคนมีความสําเร็ จ พอสมควร เศรษฐกิจพอเพียงคือทําให้พอเพียง ถ้าไม่พอเพียงก็
ไปไม่ได้ แต่ถาทําพอเพียงสามารถนําพาประเทศไปได้ ก็ขอให้ทุกคนประสบความสําเร็ จพอเพียงเพื่อให้
              ้
                                               ่
บ้านเมืองบรรลุความสําเร็ จที่แท้จริ ง ขอให้รู้วาคนที่รับพรก็รับไปคนที่ไม่รับพรก็คิดในใจ ขอบใจท่าน
ทั้งหลายที่มาให้พรเราเราขอรับพรท่าน"


               พระอัจฉริ ยภาพด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
                               วิทยาศาสตร์




                   ด้ านการศึกษา “… ในประเทศไทยนี้ถาดูจากสถิติก็มีพลเมืองเพิมขึ้นทุกๆ วัน จึงสันนิษฐาน
                                                       ้                      ่
ได้วาพลเมืองของประเทศไทยนี้อยูในวัยเรี ยนอยูเ่ ป็ นส่ วนมากทุกๆ ปี การที่ส่วนรวมคือ ประชาชนทั้ง
     ่                             ่
ประเทศเล็งเห็นความสําคัญของการศึกษาเป็ นสิ่ งที่ดีแล้ว จึงต้องช่วยกันจัดการให้เยาวชน ให้ประชาชนที่
เกิดขึ้นมาใหม่น้ ีได้มีโอกาสได้รับการศึกษาที่ดี เราจะไปอาศัยรัฐบาลหรื ออาศัยทางราชการที่จะช่วยให้
บ้านเมืองมีความเจริ ญด้านเดียวไม่ได้เพราะว่าในสมัยนี้ถือว่าเป็ นสมัยประชาธิ ปไตยทุกคนมีส่วนในงานของ
ประเทศชาติ... ” (พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการบริ หารมูลนิธิช่วยนักเรี ยนที่ ขาดแคลน
ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2512) ดังพระบรมราโววาทของพระบาทสมเด็จพระ
       ่ ั
เจ้าอยูหว ทรงเห็นความสําคัญของการศึกษากับประชาชนทุกช่วงวัย แต่ทรงเน้นหนักที่เยาวชน
                            ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดตั้งโครงการสารานุกรมไทยสําหรับ
                                                                   ั
เยาวชน ซึ่ งแบ่งหลักการทําคําอธิ บายเรื่ องต่างๆ แต่ละเรื่ องเป็ นสามระดับคือ

               „ ระดับเด็กเล็กอ่าน
               „ ระดับเด็กรุ่ นกลางอ่าน
               „ ระดับเด็กรุ่ นใหญ่รวมถึงผูใหญ่อ่าน
                                           ้
ในปัจจุบนได้มีการจัดพิมพ์สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ใน
                     ั
                       ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว รวม 29 เล่ม

                                                                   ่ ั
                    ในด้านทุนการศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อตั้งกองทุนการศึกษาขึ้นตั้งแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ
                                             ่
อุดมศึกษา เพราะพระองค์ทรางทราบดีวาเด็กไทยมีความสามารถในการเรี ยน แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ดังพระ
ราชดํารัสแก่สมาชิกสโมสรไลออนส์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2513 ว่า “… การให้
การศึกษาแก่คนนี้เป็ นปั ญหาของคนทุกคน ไม่ใช่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ ต้องร่ วมมือกันหลาย
ฝ่ าย ระหว่างผูที่มีความรู ้ ผูที่มีเจตนาดีต่อสังคม และผูมีทุนทรัพย์... ”
                  ้            ้                         ้
          ดังนั้น พระองค์ทรงตั้งกองทุนพระราชทานให้แก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเรี ยน ซึ่ งแต่ละ
ทุนมีวตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกัน ดังนี้
        ั

                                                                                  ่ ั
              „ ทุนมูลนิธิ “ ภูมิพล ” ก่อเมื่อ พ.ศ. 2495 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชทาน
ทรัพย์ส่วนพระองค์จานวน 100 , 000 บาท ให้แก่มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ เพื่อพระราชทานแก่นกศึกษา
                  ํ                                                                     ั
มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ผเู ้ รี ยนดีแต่ขาดทุนทรัพย์ ต่อมาได้พระราชทานทุนขยายไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ
และได้ตราระเบียบลงวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2511 ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
              „ ทุนประเภทช่วยเหลือการศึกษา
              „ ทุนประเภทช่วยเหลือการทําปริ ญญานิพนธ์หรื อการวิจย   ั

                 „ ทุนมูลนิธิ “ อานันทมหิดล ” ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2498 โดยพระราชทานทุนนี้แก่นกศึกษา
                                                                                            ั
แพทย์ตามรอยพระบาทสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และเป็ นพระบรมราชา
นุสรณ์แด่สมเด็จพระบรมเชษฐาธิ ราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดล เพื่อให้ไปศึกษาต่อ
ณ ต่างประเทศเมื่อสําเร็ จแล้วให้มาทํางานเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เรี ยนมา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระ
       ่ ั
เจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดทะเบียนตราสารทุนอานันทมหิ ดล เป็ น “ มูลนิธิอานันท
มหิดล ” เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2502

              ปัจจุบนมูลนิธิ “ อานันทมหิดล ” ได้พระราชทานทุนแก่นกศึกษาสาขาต่างๆ คือ
                    ั                                           ั
แพทยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์
สังคมศาสตร์ วารสารศาสตร์ และอักษรศาสตร์
่ ั
                  „ ทุนเล่าเรี ยนหลวงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ได้ริเริ่ มพระราชทาน “ ทุน
เล่าเรี ยนหลวง ” (King's Scholarship) ให้นกเรี ยนไปเรี ยต่อต่างประเทศต่อเนื่ องกันมาจนถึงรัชกาล
                                          ั
                                   ่ ั
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองาจึงยุติไปใน พ.ศ. 2476
                            ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชประสงค์ให้ฟ้ื นฟูทุนนี้ข้ ึน โดยพระราชทานแก่
นักเรี ยนที่สอบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสู ตรของกระทรวงศึกษาธิ การได้คะแนนดีเยียมปี ละ 9 ทุน
                                                                                            ่
คือ แผนกศิลปะ 3 ทุน แผนกวิทยาศาสตร์ 3 ทุน และแผนกทัวไป 3 ทุน ่

              „ ทุนการศึกษาสังเคราะห์ในมูลนิธิราชประชานุ เคราะห์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรง่ ั
พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ก่อตั้ง “ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ” เพื่อสงเคราะห์เด็กที่ครอบครัวประสบวาตภัย
ภาคใต้ และขาดผูอุปการะเลี้ยงดู รวมทั้งช่วยเหลือราษฏรผูประสบสาธารณภัยทัวประเทศ
               ้                                      ้                    ่

                  „ ทุนมูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถัมภ์ และมูลนิธิโรงเรี ยนราชประชาสมาสัย
ใน พ.ศ. 2501 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างสถาบันวิจยค้นคว้าเรื่ อง
                                        ่ ั                                                  ั
โรคเรื้ อน ณ อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เนื่ องจากว่าขณะนั้นโรคเรื้ อนได้ระบาดในประเทศ
ไทย กระทรวงสาธารณสุ ขและองค์การอนามัยโลกพยายามกําจัดโรคเรื้ อนให้หมดไปภายใน 10 ปี แต่ตองมี           ้
                                                           ่ ั
สถาบันค้นคว้าและวิจย ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงทรงพระราชทานเงินทุนในการก่อตั้งสถาบัน
                       ั
และเสด็จพระราชดําเนินไปประกอบพิธีเปิ ดสถาบันเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2503 พระราชทานนาม
ว่า “ ราชประชาสมาสัย ” ต่อมากระทรวงสาธารณสุ ขได้ขอพระราชทานพระมหากรุ ณาธิ คุณให้ทรงรับ
                                                               ่ ั             ่
มูลนิธิน้ ีไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงทรงมีขอแม้วากระทรวงสาธารณสุ ข
                                                                          ้
จะต้องจัดตั้งโรงเรี ยนสําหรับบุตรของผูป่วยที่เป็ นโรคเรื้ อน ซึ่ งแยกจากบิดามารดาตั้งแต่แรกเกิดดังพระบรม
                                      ้
ราโชวาทที่พระราชทานถึงการก่อตั้งโรงเรี ยน และพระราชดํารัสในพิธีเปิ ดโรงเรี ยนราชประชาสมาสัย เมื่อ
วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2507

                                                     ่ ั
                 „ ทุนนวฤกษ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาริ เริ่ มก่อตั้ง “ ทุนนวฤกษ์ ” เพื่อ
ช่วยเหลือนักเรี ยนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์แต่มีผลการเรี ยนดี ความประพฤติเรี ยบร้อย ให้มีโอกาสได้ศึกษาต่อ
ในระดับต่างๆ รวมทั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์และสมทบจากผู ้
                                             ่ ั
บริ จาคทรัพย์โดยเสด็จพระราชกุศล ก่อสร้างโรงเรี ยนตามวัดในชนบท ทั้งระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา เพื่อสังเคราะห์เด็กยากจนและเด็กกําพร้าให้มีสถานศึกษาเล่าเรี ยน

                „ ทุนการศึกษาพระราชทานแก่นกเรี ยนเฉพาะกรณี
                                            ั
                „ ทุนพระราชทานแก่นกเรี ยนชาวเขา
                                   ั
                „ ทุนพระราชทานแก่นกเรี ยนเฉพาะสถานศึกษา
                                     ั
„ รางวัลพระราชทานแก่นกเรี ยนและโรงเรี ยนดีเด่น
                                    ั

                                                                 ่ ั
                ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงสนพระราชหฤทัยศึกษาหลาย
ด้าน อาทิ วิทยาศาสตร์ การเกษตร วิศวกรรมศาสตร์ การใช้เครื่ องมือเทคโนโลยีต่างๆ เป็ นต้น นอกจากนั้น
แล้วพระองค์ทรงสนพระทัยงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทรงศึกษาคิดค้นสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพื่อการประมวลผลข้อมูลต่างๆ ด้วยพระองค์เอง

               ด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นอกเหนือจากพระอัจฉริ ยภาพด้านอื่นๆ แล้ว
                          ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวยังทรงสนพระราชหฤทัยในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอีกด้วย พระองค์
ทรงประดิษฐ์และสร้างสรรค์งานต่างๆ มากมายเนื่องจากตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ พระองค์
ได้เสด็จพระราชดําเนินเยียมราษฏรเป็ นประจํา เมื่อพระองค์พบเจอปั ญหาที่ราษฎรประสบพระองค์ก็ทรง
                        ่
ศึกษาและประดิษฐ์เครื่ องมือต่างๆ เพื่อนํามาช่วยเหลือบรรเทาปั ญหาต่างๆ ซึ่ งพระองค์ได้มีพระราชดําริ ให้
จัดตั้งโครงการและมูลนิธิต่างๆ ดังนี้

                  1. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ลักษณะของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในระยะแรกสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
                   „ โครงการลักษณะที่พระองค์ทรงทําการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เป็ นการส่ วนพระองค์ และ
นําผลสรุ ปพระราชทานเผยแพร่ แก่เกษตรกร
                   „ โครงที่พระองค์ทรงเข้าไปร่ วมแก้ไขปั ญหาหลักของเกษตรกร ระยะแรกโครงการยัง
จํากัดอยูในพื้นที่รอบๆ ที่ประทับในส่ วนภูมิภาค ต่อมาเริ่ มขยายตัวสู่ สังคมเกษตรในพื้นที่ต่างๆ
           ่
                                                           ่
                   โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ มีอยูมากมายหลายสาขา หลายประเภท ในระยะแรกมี
ชื่อ เรี ยกแตกต่างกันไปดังนี้คือ
                  „ โครงการตามพระราชประสงค์
                  „ โครงการหลวง
                  „ โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
                  „ โครงการตามพระราชดําริ
                   2 . มูลนิธิชยพัฒนาความเป็ นมา เป็ นที่ประจักษ์แจ้งชัดในความรู้สึก และสํานึกของ
                               ั
                                                             ่ ั
ประชาชนชาวไทยทุกถ้วนหน้าว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงเป็ นศูนย์รวมแห่งดวงใจและความ
จงรักภักดีอนยิงใหญ่ของพสกนิกรชาวไทยทั้งชาติ ด้วยเหตุที่ได้ทรงทุ่มเทพระวรกาย พระสติปัญญา เวลา
             ั ่
และพระราชทรัพย์ ตลอดจนได้อุทิศพระองค์ในการทรงงาน และประกอบพระราชกรณี ยกิจเพื่อการพัฒนา
ประเทศและช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชนผูยากไร้ตลอดมา เป็ นระยะเวลาที่ยาวนานและต่อเนื่ อง ทั้งนี้ก็
                                             ้
โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าบังเกิดความร่ มเย็น มีความอยูดีกินดี อันจะนําไปสู่ ความ
                                                                                  ่
มันคงของประเทศชาติเป็ นส่ วนรวม
   ่
                   อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการดําเนินงานพัฒนาช่วยเหลือประชาชนตามระบบราชการนั้น
บางครั้งบางโอกาสจําเป็ นต้องดําเนินการตามระเบียบปฏิบติที่ทางราชการกําหนดไว้ตามขั้นตอนต่างๆ ทําให้
                                                            ั
โครงการบางโครงการอาจถูกจํากัดด้วยเงื่อนไขบางประการ เช่น กฎเกณฑ์ ระเบียบ หรื องบประมาณ ฯลฯ
จนเป็ นเหตุให้การดําเนินงานนั้นๆ ไม่สอดคล้องหรื อทันกับสถานการณ์ท่ีจาเป็ นเร่ งด่วนที่จะต้องกระทําการ
                                                                              ํ
โดยเร็ ว
                                              ่ ั
                   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้มีพระราชดําริ ให้จดตั้ง “ มูลนิธิชยพัฒนา ” เพื่อสนับสนุน
                                                                          ั           ั
การช่วยเหลือประชาชนในรู ปของการดําเนินการพัฒนาในด้านต่างๆ ในกรณี ท่ีการดําเนินการนั้นๆ ถูกจํากัด
ด้วยเงื่อนไขดังที่ได้กล่าวมาแล้ว หรื อดําเนิ นงานในลักษณะอื่นใดที่จะทําให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่าง
                                ่
แท้จริ ง รวดเร็ ว และไม่ตกอยูภายใต้ขอจํากัดในเรื่ องเงื่อนไขของเวลา
                                       ้
                   กระทรวงมหาดไทย โดยกรุ งเทพมหานครได้รับจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิชยพัฒนาให้เป็ นั
นิติบุคคลตามเลขทะเบียนลําดับที่ 3975 ตั้งแต่ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2531 และได้ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่มที่ 105 ตอนที่ 109 วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2531
                   3. ทฤษฎีใหม่ การขุดสระนํ้าประจําไร่ นา
                                                                                                   ่ ั่
                    “… หลักสําคัญจะต้องมีน้ าบริ โภค นํ้าใช้ นํ้าเพื่อการเพาะปลูกเพราะว่าชีวิตอยูท่ีนน ถ้ามี
                                                ํ
          ่                   ่                      ่                                  ่
นํ้าคนอยูได้ ถ้าไม่มีน้ าคนอยูไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้ าคนอยูได้ แต่ถามีไฟฟ้ า ไม่มีน้ า คนอยูไม่ได้.. ”
                        ํ                                     ้                 ํ
                                                                      ่ ั
                   จากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวข้างต้นนี้ได้พระราชทานแก่
ผูอานวยการสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.)
   ้ํ
และคณะฯ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2529 ณ สวนจิตรลดา คงสามารถเป็ นเครื่ องยืนยันได้วาพระองค์ทรง   ่
ตระหนักถึงความสําคัญเรื่ องทรัพยากรนํ้าเป็ นอย่างยิง เพราะนํ้านั้นจําเป็ นอย่างยิงในการดํารงชีวตของมนุษย์
                                                         ่                          ่               ิ
      ่
ไม่วาในด้านอุปโภคหรื อบริ โภค ตลอดจนการเพาะปลูก
                   ตลอดระยะเวลานานกว่า 40 ปี พระองค์ทรงทุ่มเทพระสติปัญญาตรากตรําพระวรกายโดย
        ่
มิได้ยอท้อต่อความเหนื่ อยยากแม้แต่นอยท่ามกลางปั ญหาอันสลับซับซ้อนนี้ พระองค์ทรงหาหนทางโดยใช้
                                         ้
หลักการหรื อทฤษฎีปฏิบติอย่างง่ายๆ เข้าแก้ไขสิ่ งที่ยากอยูเ่ สมอ เพราะทุกหนทางที่จะแก้ไขนั้นจะต้องเป็ น
                           ั
หนทางที่ชาวบ้านทําได้ แต่ที่สาคัญในการแก้ไขปั ญา พระองค์ทรงมีพระบรมราโชบายให้ราษฏรเข้ามามี
                                  ํ
ส่ วนร่ วม มีส่วนรับผิดชอบด้วยตนเองด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้ราษฏรมีความรู้สึกเป็ นเจ้าของ หวงแหน และ
แบ่งปั นผลประโยชน์ซ่ ึ งกันและกัน
                   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้พระราชทานแนวพระราชดําริ เกี่ยวกับ “ ทฤษฏีใหม่ ” ใน
                                               ่ ั
การแก้ไขปั ญหานํ้าเพื่อการเกษตรให้ราษฏรและได้ใช้พ้ืนที่ของมูลนิธิชยพัฒนา อันเป็ นมูลนิธิส่วนพระองค์
                                                                            ั
ทําการทดสอบจนประสบความสําเร็ จมาแล้ว ที่วดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี แนวทางในการแก้ไขของ
                                                   ั
พระองค์น้ นแสนจะง่าย แต่ในขณะเดียวกันก็ลึกซึ้ งยิงนักเพราะเป็ นหนทางธรรมชาติ
            ั                                          ่
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชAmmie Sweetty
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
ศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacraments
ศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacramentsศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacraments
ศีลศักดิ์สิทธิ์ Sacraments
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา
8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา
8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 

Viewers also liked

รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมdekthai
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดsornblog2u
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
รายการอ้างอิง
รายการอ้างอิงรายการอ้างอิง
รายการอ้างอิงKrittin Chesthah
 
การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548
การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548
การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548Utai Sukviwatsirikul
 
Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Pui Pui
 
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTรายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTArknova2123
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะPiyarerk Bunkoson
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 

Viewers also liked (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
คค
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
รายการอ้างอิง
รายการอ้างอิงรายการอ้างอิง
รายการอ้างอิง
 
การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548
การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548
การประชุมวิชาการพืชกระท่อม วันที่ 17-18 ตุลาคม 2548
 
Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Ponlamoung2557
Ponlamoung2557
 
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTรายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 

Similar to พระราชประวัติรัชกาลที่ 9

พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
รอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวงรอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวงMy_Suphatsara
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาsangkeetwittaya stourajini
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 

Similar to พระราชประวัติรัชกาลที่ 9 (20)

พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
รอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวงรอยยิ้มของในหลวง
รอยยิ้มของในหลวง
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 

พระราชประวัติรัชกาลที่ 9

  • 1. พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เสด็จพระราชสมภพ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออ เบิร์น เมืองเคมบริ ดจ์ รัฐแมสสาชูเซสท์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา เมื่อวันจันทร์ ขึ้น ๑๒ คํ่า เดือนอ้าย ปี เถาะ จุล ศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลย เดช เป็ นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จเจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานคริ นทร์ (พระราช ่ ั โอรส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว และสมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสา อัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระราชชนนีศรี สังวาลย์ ซึ่ งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย เป็ นสมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราช ชนนี มีพระเชษฐภคินีและพระเชษฐา คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ ากัลยาณิ วฒนา ประสู ติเมื่อวันที่ ๖ ั พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๖ ณ กรุ งลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิ ดล เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมืองไฮเดลเบิร์ก ประเทศเยอรมนี เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งทรง สําเร็ จการศึกษาปริ ญญาแพทยศาสตร์ บณฑิตเกียรตินิยม จาก ั มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ ดประเทศสหรัฐอเมริ กา เสด็จกลับประเทศไทย ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ่ ั ๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกทิวงคต ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว รัชกาลปั จจุบน ทรงเจริ ญ ั พระชนมายุได้ไม่ถึงสองพรรษา และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ พรรษา ได้เสด็จเข้ารับการศึกษาชั้นต้น ณ โรงเรี ยนมาแตร์ เดอี กรุ งเทพฯ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๗๖ จึงเสด็จไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินีและพระเชษฐา เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้น ประถมศึกษา ในโรงเรี ยนเมียร์ มองต์ ทรงศึกษาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมันและภาษาอังกฤษ จากนั้น ทรงเข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอล นูแวล เดอ ลา ชืออิส โรมองต์ เมืองแชลลี ชือ โลซานน์ ทรงได้รับ ประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์ จาก ยิมนาส กลาชีค กังโดนาล แห่งเมืองโลซานน์ แล้วทรงเข้าศึกษาใน มหาวิทยาลัยโลซานน์ โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในพุทธศักราช ๒๔๗๗ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิ ดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็ นพระมหากษัตริ ย ์ รัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรี วงศ์ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับการสถาปนา ขึ้นเป็ น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดช เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๘ และได้โดยเสด็จพระราช ่ ั ดําเนิน สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล นิวติประเทศไทยเป็ นครั้งแรก ในพุทธ>ศักราช ๒๔๘๑ โดย ั
  • 2. ประทับ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เป็ นการชัวคราว แล้วเสด็จกลับไปประเทศ ่ ่ ั สวิตเซอร์แลนด์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๘๘ จึงโดยเสด็จพระราชดําเนิน สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล นิวติประเทศไทยเป็ นครั้งที่สอง ครั้งนี้ประทับ ณ พระที่นงบรมพิมาน ั ั่ ในพระบรมมหาราชวัง ่ ั ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันท มหิดล เสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน ณ พระที่นงบรมพิมาน ใน ั่ พระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดช จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่ เนื่องจากยังทรงมีพระราชภารกิจด้านการศึกษา จึงต้องทรงอําลา ประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชดําเนินกลับไปยังประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์อีกครั้งหนึ่ง ในเดือนสิ งหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในครั้งนี้ ทรงเลือกศึกษา วิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์ แทนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษา อยูเ่ ดิม ระหว่างที่ประทับศึกษาอยูในต่างประเทศนั้น ทรงพบกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ธิ ดาในพระวรวงศ์ ่ เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ่ ั มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอิสริ ยยศ ขึ้นเป็ น พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้านักขัตรมง คล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓ และในพุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเป็ น พระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่าพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) และหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์) กิติยากร ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในพุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดําเนินนิวติพระนคร ประทับ ณ พระที่นงอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ั ั่ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร ั มหาอานันทมหิดล ในเดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘ เมษายน ปี เดียวกัน ทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ณ พระตําหนัก ั สมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่งในการพระราชพิธี ราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ขึ้นเป็ น สมเด็จพระราชินีสิริกิต์ ิในวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งการพระ ั ราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี ข้ ึน ณ พระที่นงไพศาลทักษิณ ใน ั่ พระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย ตามที่จารึ กในพระสุ พรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระ
  • 3. ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรี นฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถ บพิตร พร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า เราจะครองแผ่ นดินโดยธรรม เพือประโยชน์ สุข ่ แห่ งมหาชนชาวสยาม และในโอกาสนี้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิต์ ิ ขึ้นเป็ น สมเด็จ พระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี หลังจากเสร็ จการพระราชพิธีบรม ราชาภิเษกแล้ว ได้เสด็จพระราชดําเนินไปทรงรักษาสุ ขภาพ ณ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคําแนะนํา และ ระหว่างที่ประทับรักษาพระองค์อยูน้ น สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระ ่ ั บรมราชินี มีพระประสู ติกาลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ สมเด็จพระ เจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณวดี ซึ่งประสู ติ ณ ั โรงพยาบาลมองซัวซีส์ เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริ ญ ่ ั พระชันษาได้ ๗ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ได้เสด็จพระราช ดําเนินนิวติพระนคร ประทับ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน ั พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้ายที่ประทับไปประทับ ณ พระที่นงอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต และที่พระที่ ั่ นังอัมพรสถานนี้ เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี มีพระประสู ติกาลพระราชโอรสและพระราช ่ ธิดาอีกสามพระองค์ คือ  สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้ าฟามหาวชิ ราลงกรณ สยามมกุฏราชกุมาร เสด็จพระราชสมภพ เมื่อ ้ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา เจ้ าฟามหาจักรีสิรินธร รั ฐสี มาคุณากรปิ ยชาติ สยามบรมราช ้ กุมารี เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๔๙๘  สมเด็จพระเจ้ าลูกเธอ เจ้ าฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีประสู ติ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ้ พุทธศักราช ๒๕๐๐ ่ ั ในพุทธศักราช ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงมีพระราชศรัทธาที่จะทรงผนวช ด้วยทรง พระราชดําริ วา พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจําชาติ ที่ประชาชนของพระองค์เลื่อมใสกันอยูเ่ ป็ นจํานวน ่ มาก ยิงทรงมีโอกาสคุนเคยกับหลักการและทางปฏิบติของพุทธศาสนิกชน ระหว่างที่ทรงปฏิบติพระราช ่ ้ ั ั กรณี ยกิจ ก็ทรงมีพระราชศรัทธายิงขึ้น เพราะได้ประจักษ์แก่พระราชหฤทัยว่า ธรรมคําสั่งสอนของสมเด็จ ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประกอบด้วยเหตุผลและสัจจธรรม แม้ผใดจะวิจารณ์ดวยหลักวิทยาศาสตร์ ก็จะไม่ ู้ ้ เสื่ อมถอยในความนิยมเชื่ อถือ ทั้งจักเป็ นทางสนองพระเดชพระคุณพระราชบูรพการี ตามคตินิยมอีกโสต
  • 4. หนึ่งด้วย จึงได้เสด็จออกทรงผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ วันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ เสร็ จการพระราชพิธีทรงผนวชแล้ว เสด็จพระราชดําเนินไปประทับ ณ พระตําหนักปั้ นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้า สิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี เป็ นผูสาเร็ จราชการทรงปฏิบติพระราชกรณี ยกิจแทนพระองค์ตลอดเวลา ๑๕ วันที่ ้ ํ ั ทรงผนวชอยู่ และจากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี ทรงปฏิบติพระราชกรณี ยกิจใน ั ตําแหน่งผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรี ยบร้อย เป็ นที่พอพระราชหฤทัย จึงมีพระบรมราชโองการ ้ ํ โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็ น สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ในปี เดียวกันนั้นเอง และใน พุทธศักราช ๒๕๐๐ ทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นงอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปประทับที่พระตําหนัก ั่ จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จนถึงปัจจุบน ั
  • 5. พระอัจฉริยภาพด้ านจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว สนพระราชหฤทัยงานศิลปะ ด้านจิตรกรรมตั้งแต่ยงทรงพระ ั ่ เยาว์ ขณะที่ยงประทับอยูประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ โดยทรงศึกษาด้วยพระองค์เอง จากตําราทางด้านศิลปะ ั และเสด็จพระราชดําเนิ นไปทอดพระเนตร งานศิลปกรรมตามหอศิลป์ และพิพิธภัณฑ์ต่างๆ หลังจากที่เสด็จนิวตประเทศไทย พระองค์จึงทรงเริ่ มต้น สร้างสรรค์งานจิตรกรรมอย่าง ั จริ งจัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ เป็ นต้นมา ทรงใช้เวลาเมื่อว่างจากพระราชภารกิจ เพื่อเขียนภาพ ภาพที่ทรง
  • 6. เขียนส่ วนมาก จะเป็ นพระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ซึ่ งมักจะเป็ น ภาพเขียนครึ่ งพระองค์ เป็ นส่ วนใหญ่ ผลงานจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ เริ่ มเผยแพร่ ให้ชื่นชมในวงกว้าง เมื่อทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานภาพเข้าร่ วมแสดง ในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๖ และในครั้งต่อๆ มา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริ ญญาดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา ั จิตรกรรม และในโอกาสสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ครบ ๒๐๐ ปี กรมศิลปากรได้พระราชทานพระบรมรา ชานุญาต ให้จดนิทรรศการจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ของพระองค์ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ นับเป็ น ั ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่มีการแสดงงานศิลปะของพระมหากษัตริ ยเ์ พียงพระองค์เดียว ่ ั ั ผลงานจิตรกรรมฝี พระหัตถ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มีท้ งสิ้ นกว่า ๑๐๐ ชิ้น ส่ วน ใหญ่เป็ นภาพสี น้ ามันบนผืนผ้าใบ จิตรกรรมฝี พระหัตถ์น้ น มีหลากหลายรู ปแบบ แบ่งออกเป็ น ๓ กลุ่ม ํ ั ใหญ่ๆ คือ ภาพแบบเหมือนจริ ง (Realistic) ภาพเอ็กซ์เพรสชันสิ สต์ (Expressionism) และภาพนามธรรม ่ (Abstractionism) ภาพเขียนเหมือนจริ งที่ทรงเขียน ส่ วนใหญ่จะเป็ นภาพพระสาทิสลักษณ์ ของสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถ และทูลกระหม่อมทุกพระองค์ ภาพเหล่านี้มีความกลมกลืน งดงามของแสงเงาอย่าง นุ่มนวล ให้บรรยากาศลึกซึ้ ง ชวนฝัน ส่ วนภาพเขียนแบบนามธรรม เป็ นผลงานที่พระองค์ ทรงพัฒนามาจากงานเขียน ในลักษณะ เอ็กซ์เพรสชันนิสต์ เป็ นการแสดงออกทางอารมณ์ และความรู ้สึกอย่างอิสระ ปราศจากรู ปทรง และเรื่ องราว ่ ่ มีความรู ้สึกจริ งจัง แฝงอยูในผลงานที่แสดงออกด้วยการใช้ฝีแปรงหยาบๆ สี สันที่ตดกันลงตัว ั
  • 7. พระอัจฉริยภาพด้ านหัตถกรรม ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงสนพระราชหฤทัย ในงานช่างตั้งแต่ยงทรงพระเยาว์ั ่ ขณะที่ประทับอยูที่เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ทรงร่ วมกับสมเด็จพระบรมเชษฐาธิ ราช ประดิษฐ์ ของเล่นของใช้หลายๆ แบบเมื่อพระชนมายุ ๑๐ พรรษา ทรงประกอบวิทยุโดยซื้ อหาอุปกรณ์ มาทําเองจน สําเร็ จ สามารถฟังวิทยุท่ีส่งได้ พระองค์สนพระทัยในการทําเรื อแบบต่างๆ ด้วยไม้ ทรงจําลองเรื อรบหลวง ศรี อยุธยา และทรงประดิษฐ์หุ่นเครื่ องบินเล็ก เรื อใบจําลอง และเครื่ องร่ อนต่างๆ และเมื่อทรงประดิษฐ์สิ่งใด เพื่อความสวยงามแล้ว จะทรงคํานึงประโยชน์ใช้สอยของสิ่ งนั้นด้วย เรื่ อใบลําแรกที่ทรงต่อเอง เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๐๗ เป็ นเรื อใบประเภทเอ็นเตอร์ ไพรส์ (International Enterprise Class) ชื่อ เรื่ อราชปะแตน และลําต่อมาชื่อ เรื อเอจี โดยทรงต่อตามแบบ ่ ั สากล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงแข่งขันแล่นเรื อใบหลายครั้ง ทั้งในและนอกประเทศ เช่น ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๘ ทรงใช้เรื อราชปะแตนแข่งขันกับดุ๊ค ออฟ เอดินเบอระ (The Duke of Edinburgh) พระ ราชอาคันตุกะส่ วนพระองค์ โดยใช้เส้นทางไป - กลับ ระหว่างพัทยา - เกาะล้าน ในปี พุทธศักราช ๒๕๐๘ ทรงต่อเรื อใบประเภทโอเค (International OK Class) ตามแบบ สากลลําแรกที่ทรงต่อชื่ อ เรื อนวฤกษ์ หลังจากนั้นทรงต่อเรื อใบประเภทนี้ อีกหลายลํา เช่น เรื อเวคา ๑ เรื อเว คา ๒ และเรื อเวคา ๓ เป็ นต้น
  • 8. ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงออกแบบและต่อเรื อใบประเภทม็อธ (International ํ Moth Class) จํานวนหลายลํา เรื อประเภทนี้ เป็ นเรื อที่กาหนดความยาวของตัวเรื อไม่เกิน ๑๑ ฟุต เนื้ อที่ใบไม่ เกิน ๗๕ ตารางฟุต ส่ วนความกว้างของเรื อ รู ปร่ างลักษณะของเรื อ ความสู งของเสา ออกแบบได้โดยไม่ จํากัด วัสดุที่ใช้สร้างเรื อ อาจทําด้วยโลหะ ไฟเบอร์ กลาส หรื อไม้ก็ได้ เรื อม็อธ ที่ทรงออกแบบ และทรงต่อ ด้วยพระองค์เอง ในระหว่างปี พุทธศักราช ๒๕๐๙ - ๒๕๑๐ มีอยู่ ๓ แบบ ซึ่ งได้พระราชทานชื่อดังนี้ เรื อมด เรื อซูเปอร์มด และเรื อไมโครมด
  • 9. พระอัจฉริยภาพด้ านการเกษตร 1.ทรงสร้ างฐานข้ อมูลของพืนที่ ้ ่ ่ ั การเสด็จฯทัวประเทศไทย นับตั้งแต่ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จนิวต ั ่ ั ประเทศไทยพร้อมกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล พระบรมเชษฐาธิ ราช รัชกาลที่ 8 ใน วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2489 ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จที่ทุ่งนาบางเขน ที่วดพระศรี มหาธาตุ ทั้งสองพระองค์สน ั พระทัยอาชีพของชาวนามาตั้งแต่ครั้งนั้นที่เห็นชาวนาทํานา ปลูกข้าว เกี่ยวข้าว และพระองค์ยงทรงหว่าน ั ข้าว ต่อมาในวันที่ 9 มิถุนายน 2489 ซึ่งรัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุยเดชเสด็จขึ้นครองสิ ริราชสมบัติเป็ นกษัตริ ยรัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จกรี เมื่อ ์ ั พระชนมายุ 19 ชันษา และหลังจากนั้นทรงกลับไปเปลี่ยนแนวทางศึกษาหลังจากที่ได้ตดสิ นพระราชหฤทัยที่ ั เสด็จขึ้นครองราชย์ เสด็จฯไปเปลี่ยนแผนการศึกษาจากเดิมที่ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ด้านชลประทาน เปลี่ยนเป็ นด้านการปกครองด้านรัฐศาสตร์ และหลายๆ อย่าง ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2493 ทรงโปรดเกล้าฯให้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้น และได้ พระราชทานปฐมบรมราชโองการว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาว สยาม" เป็ นพระราชสัจวาจาที่ทรงยึดมันมาเป็ นเวลา 56 ปี นับแต่น้ นเป็ นต้นมา ่ ั
  • 10. ในการสร้างฐานข้อมูลพื้นฐาน พระองค์ทานทรงเป็ นเหมือนเด็กหนุ่ม ทรงประทับใน ่ ต่างประเทศเหมือนฝรั่งไม่เคยเห็นเมืองไทยเลยเพราะฉะนั้นการที่จะมาทรงเป็ นประมุขของประเทศ ท่านก็ ต้องศึกษาเมืองไทยให้ละเอียด และวิธีการที่ดีที่สุดก็คือการเสด็จไปเยียมราษฎรในทุกภาคของประเทศไทย ่ เพื่อให้ได้สัมผัสและทอดพระเนตรด้วยพระองค์เอง ขอพระราชทานอนุ ญาตใช้คาสามัญว่า จะได้เห็นได้ฟัง ํ ได้ชิม ได้สัมผัส เห็นฝุ่ น เห็นทะเล ด้วยตาตนเอง ครั้งแรกที่เสด็จฯไปที่พระราชวังไกลกังวล ที่หวหิ นและเสด็จฯไปจังหวัดประจวบคีรีขนธ์ ั ั ราชบุรี เพชรบุรี การที่เสด็จฯไปทรงงานทัวประเทศทําให้ได้ทรงเห็นเมืองไทย รู ้จกคนไทย มีความ ่ ั ประทับใจ ทําให้เกิดแรงดลพระราชหฤทัยให้มีโครงการพระราชดําริ ข้ ึนมา ช่วงที่เสด็จฯไปที่หวหิ นสมัยก่อนอาจจะไปรถไฟต่อมามีถนนจึงเดินทางโดยรถยนต์ และได้ ั ่ ทอดพระเนตรเห็นป่ ายางนาในช่วงอําเภอบ้านลาด จนถึงอําเภอท่ายาง จ.เพชรบุรี ขึ้นอยูสองข้างทาง พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะเก็บป่ ายางนาไว้แต่เนื่องด้วยมีเหตุขดข้องทําให้ไม่สามารถรักษาป่ าไว้ได้ จึง ั ทรงโปรดให้มหาดเล็กเก็บเมล็ดพันธุ์ยางมาเพาะแล้วนํามาปลูกที่สวนจิตรลดา ปั จจุบนแปลงนายางนั้นยังอยู่ ั แสดงให้เห็นว่าพระองค์สนพระทัยที่จะอนุ รักษ์พนธุ์ไม้ ั ในช่วงปี พ.ศ.2496-2498 เสด็จเยียมเกษตรกรในภาคกลาง เสด็จฯโดยเรื อพระที่นง เสด็จฯไป ่ ั่ ั่ ่ ตอนเช้าเย็นเสด็จฯกลับไม่ทรงประทับแรม มีครั้งเดียวที่เสด็จฯ ชัยนาทประทับบนเรื อพระที่นงอยูครั้งเดียว ในวันที่ 2-20 พฤศจิกายน 2498 ทรงไปเยียมภาคอีสานทุกจังหวัดเป็ นเวลา 19 วัน เป็ นครั้ง ่ แรกที่เสด็จฯภาคอีสาน พระองค์ทรงเหน็ดเหนื่อยมาก เพราะไปรถไฟ จากรถไฟต่อรถยนต์ จากรถยนต์ต่อ เฮลิคอปเตอร์ ไปภูกระดึง จากภูกระดึงมาประทับรถยนต์พระที่นงเสด็จฯ มาหนองคาย จากหนองคายมาลง ั่ เรื อวิงตามลํานํ้าชมนํ้าโขงและนังรถยนต์ต่อ ผูที่เล่าตอนนั้นบอกว่าใกล้ฤดูหนาวเริ่ มแล้งฝุ่ นมาก เข้าใจว่า ่ ่ ้ ตอนนั้นรถยังไม่มีแอร์ ฝุ่ นก็เยอะมาก ในระหว่างที่เสด็จฯจากนครพนมเพื่อเสด็จฯไปขอนแก่น ซึ่ งจะต้องผ่านภูพานลงมาจากภูพาน ก็จะถึงสี่ แยกสมเด็จ ตอนแรกไม่ได้จะเสด็จที่น้ ีแต่มีพสกนิกรมาเฝ้ ารับเสด็จฯ ตอนนั้นแล้งมากข้าวในนาตาย หมด พระองค์ตรัสถามชาวนาที่มาเฝ้ ารับเสด็จฯว่าข้าวในนาตายเพราะแล้งใช่ไหม ชาวนาบอกว่าไม่ใช่ ตาย ่ ่ เพราะนํ้าท่วม ทําให้พระองค์ตระหนักได้วาเมืองไทยมีน้ าสมบูรณ์แต่วานํ้าไม่สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้ ํ เต็มที่ พอตกลงมาก็ท่วมสร้างความเสี ยหายแล้วนํ้าก็ไหลลงแม่น้ าลําคลองไม่มีประโยชน์อะไร ํ
  • 11. ทําให้ทรงมีแรงดลพระราชหฤทัยหลายเรื่ องในจุดนั้น ท่านทรงมีพระราชดําริ วาบนภูพานมี แม่น้ าหลายสายน่าจะมีการทําฝายทดนํ้าเล็กๆ เป็ นขั้นๆ ต่อมามีการทํากันมาก เมืองไทยมีแหล่งเก็บนํ้า ํ ธรรมชาติมาก จึงคิดว่าทําไมไม่ขดบ่อในไร่ นาขุดบ่อให้มีน้ าในไร่ นา แต่น่าเสี ยดายว่าแหล่งนํ้าธรรมชาติ ุ ํ หลายแห่งถูกพัฒนาแต่พฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวมากกว่า ต่อมาการขุดบ่อนํ้าในนาได้กลายมาเป็ นอ่างเก็บนํ้า ั ่ เล็กๆ มากขึ้นหรื อที่เรี ยกกันว่า "แก้มลิง" ที่ตอนนี้กรุ งเทพฯมีอยูประมาณ 30 แก้ม อีกหนึ่งโครงการพระราชดําริ ที่สาคัญคือถึงจะเป็ นหน้าแล้งแต่เมืองไทยก็มีเมฆขาวเต็ม ํ ท้องฟ้ า น่าจะมีวธีการที่ทาอย่างไรให้เมฆเหล่านั้นตกลงมาตามที่ตองการแล้วต่อมาก็กลายเป็ นโครงการฝน ิ ํ ้ หลวง วันที่ 20 กุมภาพันธ์ ถึง 17 มีนาคม พ.ศ.2501 เสด็จฯภาคเหนือทุกจังหวัด ยกเว้นจังหวัด แม่ฮ่องสอน ทําให้มีแรงดลพระราชหฤทัยให้มีโครงการพระราชดําริ ช่วยเหลือชาวเขา ซึ่ งต่อมาได้กลายเป็ น โครงการหลวงในที่สุด เพราะเนื่องมาจากเห็นชาวเขาปลูกฝิ่ นและทําไร่ เลื่อนลอย วันที่ 6-26 มีนาคม 2502 เสด็จฯเยียมภาคใต้ทุกจังหวัด ทรงประทับที่จงหวัดนราธิวาส จังหวัด ่ ั ปั ตตานี ทําให้ทรงทราบว่าเมืองไทยนั้นมีชาวมุสลิมอาศัยอยูหลายจังหวัดมีประเพณี ที่ต่างกับภาคอื่นและมี ่ ทะเลที่สวยงามมาก จากนั้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2502 ถึงวันที่ 9 มิถุนายน 2510 เสด็จฯเยียมมิตรประเทศ ่ กว่า 28 ประเทศ บางช่วงเสด็จถึง 6 เดือนเพื่อศึกษาความแตกต่างของประเทศที่เจริ ญแล้วว่ามีสิ่งใดบ้างที่ควร นํามาปรับปรุ ง ในสิ่ งที่ไม่ดีก็ไม่พยายามป้ องกันไม่นาเข้ามา เป็ นการผูกมิตรกับมิตรประเทศ ํ 2.ทรงเริ่มงานพัฒนา ประกอบด้ วยอาชีพของประชาชน การพัฒนาป่ าไม้ ดินและนา ้ นับตั้งแต่ปี 2512 เป็ นต้นมา ตลอดเวลา 17 ปี พระองค์จะเสด็จฯแปรพระราชฐานไปเยียม ่ ราษฎรในภาคต่างๆ ทุกปี จะหมุนเวียนไปทุกภาคเพื่อไปทรงงานต่อยอดงานในโครงการพระราชดําริ ทุกปี จากนั้นเป็ นต้นมาไม่เคยเสด็จฯต่างประเทศอีกเลย กระทังปี 2517 จึงได้เสด็จฯไปประเทศลาวซึ่งมีโครงการ ่ สร้างสะพาน พระองค์ทรงมีเหตุผลของพระองค์ท่ีจะทรงใช้เวลาทั้งหมดเพื่อการพัฒนาช่วยเหลือประชาชน ชาวไทย ทรงเริ่ มงานพัฒนาเกี่ยวกับอาชีพและอาหารของประชาชน การเริ่ มงานส่ วนใหญ่ทรงแนะนําหน่วย ราชการในช่วงนั้นที่รับพระราชดําริ ไปค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ แต่บางสิ่ งบางอย่างเจ้าหน้าที่ก็ไม่มีขอมูลทันที ้
  • 12. ไม่เห็นด้วยแต่บางอย่างที่พระองค์สนพระทัยก็จะนํามาวิจยมาพัฒนาของพระองค์เองที่พระตําหนักสวน ั จิตรลดา และพระตําหนักสวนอัมพร งานแรกที่เป็ นงานพัฒนาอาหาร คือ ข้าว ปลา ผัก ผลไม้ เป็ นอาหาร หลักของคนไทยโดยเฉพาะเรื่ องข้าวสนพระทัยมาก โครงการแรกคือ ทรงรับปลาหมอเทศมาจากปี นัง และทรงนําเลี้ยงที่พระตําหนักสวนจิตรลดา แล้วจากนั้นได้นาพันธุ์ปลาหมอเทศ 5 หมื่นตัวไปแจกแก่กลุ่มเกษตรกรที่บางเขนแล้วก็แพร่ หลายออกไป ํ แล้วต่อมาที่สวนจิตรลดาก็ได้ขยายออกมาเป็ นสถานีทดลองส่ วนพระองค์ และทุกปี ในวันพืชมงคล จะโปรด เกล้าฯให้ประชาชนเข้าชมงานในนั้น ในปี 2503 ทรงฟื้ นฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ที่เลิกมาตั้งแต่สมัย เปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 ที่ตองฟื้ นขึ้นมาเพื่อเป็ นขวัญกําลังใจแก่เกษตรกรที่เป็ นประชากรส่ วนใหญ่ ้ ของประเทศ จากนั้นทรงเริ่ มมีระบบสหกรณ์ ธนาคารโคกระบือ ธนาคารข้าว การทดสอบการปลูกข้าวใน สภาพดินต่างๆ เป็ นการทดลองในสภาพพื้นที่เช่นภาคเหนือที่มีการทดลองปลูกข้าวแบบขั้นบันได ในปี พ.ศ.2505 ทรงเริ่ มโครงการโคนม ที่สวนจิตรลดา ตามพระราชประวัติของพระองค์เมื่อ ทรงเรี ยนอนุบาลมีพระชนมายุ 5 ชันษา ที่โรงเรี ยนมาแตร์เดอี สมเด็จพระราชชนนีจะโปรดเกล้าฯให้ พระองค์และสมเด็จพระเชษฐา สะพายนมสดไปเสวยที่โรงเรี ยนทุกวัน เพราะอยากให้คนไทยร่ างกาย แข็งแรงแบบฝรั่ง เป็ นแนวคิดในการส่ งเสริ มให้เลี้ยงโคนม ในปี พ.ศ.2509 มกุฎราชกุมารประเทศญี่ปุ่นได้พระราชทานพันธุ์ปลานิลเป็ นปลาที่กลายพันธุ์ ั ่ ั มาจากปลาหมอเทศ เติบโตเร็ วกว่าอร่ อยกว่าให้กบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวและต่อมาพระองค์ได้ ่ เพาะเลี้ยงกลายพันธุ์เป็ นปลาทับทิมที่แพร่ หลายอยูในตอนนี้ เผยแพร่ ไปทัวประเทศ ่ ต่อมาเป็ นการพัฒนาป่ าไม้และดิน ในปี 2512 พระองค์เห็นสภาพปั ญหาของชาวเหนือที่มี ่ ชาวเขาอาศัยอยูหลายเผ่า ชาวเขามักจะถางป่ าทําไร่ เลื่อนลอยแล้วทําให้ตนนํ้าลําธารมีปัญหาแล้วเป็ นนํ้าที่คน ้ พื้นล่างใช้ พระองค์เริ่ มโครงการพัฒนาชาวเขาหาทางปลูกพืชอะไรก็ได้แทนการปลูกฝิ่ นและรายได้ดี หยุด การทําไร่ เลื่อนลอย ขณะเดียวกันก็ปลูกป่ าเพิ่ม ต่อมาปี 2513 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็ นโครงการหลวงซึ่ง ดําเนินงานต่อมาถึงปั จจุบน ั แนวพระราชดําริ ดานป่ าไม้ที่ทรงแนะนํา คือ 1.ให้สร้างฝายต้นนํ้าขนาดเล็ก ทางเหนื อเรี ยกว่า ้ ฝายแม้ว2.การปลูกป่ าโดยไม่ตองไปถางหรื อท่านใช้คาว่า "ห้ามปอกเปลือกป่ า" ปล่อยให้ข้ ึนเอง การปลูก ้ ํ ต้นไม้ 3 อย่าง เพื่อประโยชน์ 4 อย่าง 1.ไม้ผล 2.ไม้ใช้สอย 3.ไม่ทาเชื้อเพลิง และ 4.เป็ นการอนุรักษ์ดินและ ํ นํ้า การปลูกไม้ผลบนยอดเขาเมล็ดของมันจะแพร่ พนธุ์ไปเองั ทางด้าน ดิน พระองค์ทรงมีโครงการพระราชดําริ แกล้งดินในภาคใต้ เนื่องจากดินส่ วนใหญ่ เป็ นดินพรุ เป็ นกรดทําให้ดินเปรี้ ยว พระองค์ทรงใช้วธีการทําให้ดินหายเป็ นกรดคือต้องทําให้เปรี้ ยวสุ ดสุ ด ิ แล้วแก้หนเดียว โดยเริ่ มทําครั้งแรกที่ศูนย์พิกุลทอง จังหวัดนราธิ วาส จะเห็นว่าพระองค์จะไม่แนะนําเรื่ อง สารเคมีเลย
  • 13. เมื่อเกิดปั ญหาหน้าดินถล่มในปี พ.ศ.2532 ทรงแนะนําเรื่ องหญ้าแฝกเพราะว่าปี นั้นมีโครงการ ดอยตุงมีผหวังดีไปตัดถนนใหม่เป็ นทางตรง ปรากฏว่าดินถล่มลงมากลบนาชาวบ้าน พระองค์ทรงมี ู้ พระราชดําริ ให้ปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้ องกันการชะล้างและการพังทลายของหน้าดินและยังช่วยบํารุ งดินเป็ นปุ๋ ย พืชสด โครงการนํ้า แห่งแรกที่พระองค์ริเริ่ มเมื่อปี 2506 การทําโครงการเก็บนํ้าเขาเต่าที่หวหิ นเป็ น ั โครงการแรกเลย โดยการทําเขื่อนกั้นไม่ให้น้ าทะเลเข้าแล้วเอานํ้าจืดจากเขามาใช้ประโยชน์เลี้ยงปลาทํา ํ การเกษตรได้ มีพระราชดําริ อย่างหนึ่งว่า การสร้างเขื่อนดีแน่ แต่การสร้างเขื่อนใหญ่ๆ มักใช้เงินมากต้องกู้ เงินมาสร้าง มีประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้ า กันนํ้าท่วมได้ แต่ประโยชน์ท่ีเกษตรกรรายย่อยได้รับทันทีนอย ้ เพราะว่าการทําต้องทําคลองส่ งนํ้าและไม่มีเวลาที่จะทําให้แนวพระราชดําริ ของพระองค์ท่านคือทําเขื่อนตาม แม่น้ าและคลองขนาดเล็กเพื่อสร้างเขื่อนขนาดเล็ก ํ 3.ทรงสร้ างฐานส่ งกาลังบารุ งแบบทหาร การทํางานต้องมีฐานกําลังสนับสนุน เมื่อครั้งที่พระองค์เสด็จฯไปทรงงานไปต่างจังหวัด ้ ้่ สมัยก่อนจะทรงไปประทับที่บานผูวาราชการจังหวัด ศาลากลางไม่มีที่ประทับในตอนนั้น ฉะนั้นจึงได้มีการ สร้างตําหนักขึ้นมาในภาคกลางก็จะมีที่ประทับที่พระราชวังไกลกังวลพระตําหนักเปี่ ยมสุ ข เป็ นฐานที่ทางาน ํ ในภาคกลางตะวันออกตะวันตก ในภาคเหนือสร้างพระตําหนักภูพิงค์ ภาคใต้สร้างพระราชตําหนักทักษิณ ราชนิเวศน์ และที่ภาคอีสานสร้างตําหนักภูพานราชนิ เวศน์ ถือว่าเป็ นฐานที่ทรงไปปฏิบติงานประจําปี เพื่อ ั สามารถขยายผลได้อีก ในปี พ.ศ.2522 ทรงสร้างศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาด้านการเกษตร 6 แห่งทัวประเทศ เพื่อเป็ น่ ตัวอย่างของความสําเร็ จในการทํางานของหน่วยงาน เพื่อประชาชนในท้องถิ่นสามารถนําไปใช้ได้ทนที เป็ น ั พิพิธภัณฑ์ของสิ่ งมีชีวต เป็ นศูนย์บริ การเบ็ดเสร็ จ หรื อ One Stop Service เป็ นศูนย์ที่ต้ งก่อนธนาคารและ ิ ั อําเภอจะทําเสี ยอีก นอกจากนี้ยงมีมูลนิธิชยพัฒนาเป็ นมูลนิธิส่วนพระองค์ที่ต้ งขึ้นมาเพื่อใช้ในเหตุการณ์ ั ั ั เร่ งด่วน เพราะบางโครงการกว่าจะรอรัฐบาลอนุมติก็ใช้เวลานานเป็ นปี ั โครงการทฤษฎีใหม่เป็ นการบริ หารจัดการดิน นํ้า พืช ทุน แรงงาน ให้มีประสิ ทธิภาพ ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ทรงรับสั่งครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2537 และรับสั่งอีกครั้งใน วันที่ 4 ธันวาคม 2538 ในช่วงนั้นเกิดฟองสบู่แตกประชาชนประชาชนเริ่ มหันไปสนใจแนวพระราชดําริ ทฤษฎีใหม่มากขึ้น กระทังครั้งล่าสุ ดเมื่อวันที่ 4ธันวาคม 2548 เป็ นพระราชดํารัสของพระองค์ครั้งหลังสุ ด ่ ขออัญเชิ ญพระราชดํารัสของพระองค์ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ที่รับสั่งว่า " เราก็ตอง ้ ขอให้พรทุกฝ่ าย ฝ่ ายรัฐบาล ฝ่ ายค้าน ได้พร้อมใจทําอะไรก็ทาให้ดี แต่วนนี้ไม่พดว่าให้ทาอะไรเพราะว่าจะ ํ ั ู ํ ทะเลาะกันไม่เอา ไม่ให้ทะเลาะกัน ให้ทาอะไรที่ดูดี แล้วคิดให้อย่าเกิน อย่าเลยเถิด แต่ถาแต่ละคนทํางานให้ ํ ้ เหมาะสมบ้านเมืองถึงจะไปได้ ถึงจะต้องให้พรว่าให้บานเมืองไปได้ให้แต่ละคนไปได้ ไม่ใช่ให้มีการหัวชน ้ ฝา จะทําอะไรก็ขอให้แต่ละคนมีความสําเร็ จ พอสมควร เศรษฐกิจพอเพียงคือทําให้พอเพียง ถ้าไม่พอเพียงก็
  • 14. ไปไม่ได้ แต่ถาทําพอเพียงสามารถนําพาประเทศไปได้ ก็ขอให้ทุกคนประสบความสําเร็ จพอเพียงเพื่อให้ ้ ่ บ้านเมืองบรรลุความสําเร็ จที่แท้จริ ง ขอให้รู้วาคนที่รับพรก็รับไปคนที่ไม่รับพรก็คิดในใจ ขอบใจท่าน ทั้งหลายที่มาให้พรเราเราขอรับพรท่าน" พระอัจฉริ ยภาพด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ ด้ านการศึกษา “… ในประเทศไทยนี้ถาดูจากสถิติก็มีพลเมืองเพิมขึ้นทุกๆ วัน จึงสันนิษฐาน ้ ่ ได้วาพลเมืองของประเทศไทยนี้อยูในวัยเรี ยนอยูเ่ ป็ นส่ วนมากทุกๆ ปี การที่ส่วนรวมคือ ประชาชนทั้ง ่ ่ ประเทศเล็งเห็นความสําคัญของการศึกษาเป็ นสิ่ งที่ดีแล้ว จึงต้องช่วยกันจัดการให้เยาวชน ให้ประชาชนที่ เกิดขึ้นมาใหม่น้ ีได้มีโอกาสได้รับการศึกษาที่ดี เราจะไปอาศัยรัฐบาลหรื ออาศัยทางราชการที่จะช่วยให้ บ้านเมืองมีความเจริ ญด้านเดียวไม่ได้เพราะว่าในสมัยนี้ถือว่าเป็ นสมัยประชาธิ ปไตยทุกคนมีส่วนในงานของ ประเทศชาติ... ” (พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการบริ หารมูลนิธิช่วยนักเรี ยนที่ ขาดแคลน ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2512) ดังพระบรมราโววาทของพระบาทสมเด็จพระ ่ ั เจ้าอยูหว ทรงเห็นความสําคัญของการศึกษากับประชาชนทุกช่วงวัย แต่ทรงเน้นหนักที่เยาวชน ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดตั้งโครงการสารานุกรมไทยสําหรับ ั เยาวชน ซึ่ งแบ่งหลักการทําคําอธิ บายเรื่ องต่างๆ แต่ละเรื่ องเป็ นสามระดับคือ „ ระดับเด็กเล็กอ่าน „ ระดับเด็กรุ่ นกลางอ่าน „ ระดับเด็กรุ่ นใหญ่รวมถึงผูใหญ่อ่าน ้
  • 15. ในปัจจุบนได้มีการจัดพิมพ์สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ใน ั ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว รวม 29 เล่ม ่ ั ในด้านทุนการศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อก่อตั้งกองทุนการศึกษาขึ้นตั้งแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ ่ อุดมศึกษา เพราะพระองค์ทรางทราบดีวาเด็กไทยมีความสามารถในการเรี ยน แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ดังพระ ราชดํารัสแก่สมาชิกสโมสรไลออนส์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2513 ว่า “… การให้ การศึกษาแก่คนนี้เป็ นปั ญหาของคนทุกคน ไม่ใช่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ ต้องร่ วมมือกันหลาย ฝ่ าย ระหว่างผูที่มีความรู ้ ผูที่มีเจตนาดีต่อสังคม และผูมีทุนทรัพย์... ” ้ ้ ้ ดังนั้น พระองค์ทรงตั้งกองทุนพระราชทานให้แก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเรี ยน ซึ่ งแต่ละ ทุนมีวตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกัน ดังนี้ ั ่ ั „ ทุนมูลนิธิ “ ภูมิพล ” ก่อเมื่อ พ.ศ. 2495 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชทาน ทรัพย์ส่วนพระองค์จานวน 100 , 000 บาท ให้แก่มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ เพื่อพระราชทานแก่นกศึกษา ํ ั มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ผเู ้ รี ยนดีแต่ขาดทุนทรัพย์ ต่อมาได้พระราชทานทุนขยายไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ และได้ตราระเบียบลงวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2511 ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ „ ทุนประเภทช่วยเหลือการศึกษา „ ทุนประเภทช่วยเหลือการทําปริ ญญานิพนธ์หรื อการวิจย ั „ ทุนมูลนิธิ “ อานันทมหิดล ” ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2498 โดยพระราชทานทุนนี้แก่นกศึกษา ั แพทย์ตามรอยพระบาทสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และเป็ นพระบรมราชา นุสรณ์แด่สมเด็จพระบรมเชษฐาธิ ราช พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดล เพื่อให้ไปศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศเมื่อสําเร็ จแล้วให้มาทํางานเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เรี ยนมา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระ ่ ั เจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดทะเบียนตราสารทุนอานันทมหิ ดล เป็ น “ มูลนิธิอานันท มหิดล ” เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2502 ปัจจุบนมูลนิธิ “ อานันทมหิดล ” ได้พระราชทานทุนแก่นกศึกษาสาขาต่างๆ คือ ั ั แพทยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ วารสารศาสตร์ และอักษรศาสตร์
  • 16. ่ ั „ ทุนเล่าเรี ยนหลวงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ได้ริเริ่ มพระราชทาน “ ทุน เล่าเรี ยนหลวง ” (King's Scholarship) ให้นกเรี ยนไปเรี ยต่อต่างประเทศต่อเนื่ องกันมาจนถึงรัชกาล ั ่ ั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองาจึงยุติไปใน พ.ศ. 2476 ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชประสงค์ให้ฟ้ื นฟูทุนนี้ข้ ึน โดยพระราชทานแก่ นักเรี ยนที่สอบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสู ตรของกระทรวงศึกษาธิ การได้คะแนนดีเยียมปี ละ 9 ทุน ่ คือ แผนกศิลปะ 3 ทุน แผนกวิทยาศาสตร์ 3 ทุน และแผนกทัวไป 3 ทุน ่ „ ทุนการศึกษาสังเคราะห์ในมูลนิธิราชประชานุ เคราะห์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรง่ ั พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ก่อตั้ง “ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ” เพื่อสงเคราะห์เด็กที่ครอบครัวประสบวาตภัย ภาคใต้ และขาดผูอุปการะเลี้ยงดู รวมทั้งช่วยเหลือราษฏรผูประสบสาธารณภัยทัวประเทศ ้ ้ ่ „ ทุนมูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถัมภ์ และมูลนิธิโรงเรี ยนราชประชาสมาสัย ใน พ.ศ. 2501 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างสถาบันวิจยค้นคว้าเรื่ อง ่ ั ั โรคเรื้ อน ณ อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เนื่ องจากว่าขณะนั้นโรคเรื้ อนได้ระบาดในประเทศ ไทย กระทรวงสาธารณสุ ขและองค์การอนามัยโลกพยายามกําจัดโรคเรื้ อนให้หมดไปภายใน 10 ปี แต่ตองมี ้ ่ ั สถาบันค้นคว้าและวิจย ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงทรงพระราชทานเงินทุนในการก่อตั้งสถาบัน ั และเสด็จพระราชดําเนินไปประกอบพิธีเปิ ดสถาบันเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2503 พระราชทานนาม ว่า “ ราชประชาสมาสัย ” ต่อมากระทรวงสาธารณสุ ขได้ขอพระราชทานพระมหากรุ ณาธิ คุณให้ทรงรับ ่ ั ่ มูลนิธิน้ ีไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึงทรงมีขอแม้วากระทรวงสาธารณสุ ข ้ จะต้องจัดตั้งโรงเรี ยนสําหรับบุตรของผูป่วยที่เป็ นโรคเรื้ อน ซึ่ งแยกจากบิดามารดาตั้งแต่แรกเกิดดังพระบรม ้ ราโชวาทที่พระราชทานถึงการก่อตั้งโรงเรี ยน และพระราชดํารัสในพิธีเปิ ดโรงเรี ยนราชประชาสมาสัย เมื่อ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2507 ่ ั „ ทุนนวฤกษ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาริ เริ่ มก่อตั้ง “ ทุนนวฤกษ์ ” เพื่อ ช่วยเหลือนักเรี ยนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์แต่มีผลการเรี ยนดี ความประพฤติเรี ยบร้อย ให้มีโอกาสได้ศึกษาต่อ ในระดับต่างๆ รวมทั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์และสมทบจากผู ้ ่ ั บริ จาคทรัพย์โดยเสด็จพระราชกุศล ก่อสร้างโรงเรี ยนตามวัดในชนบท ทั้งระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา เพื่อสังเคราะห์เด็กยากจนและเด็กกําพร้าให้มีสถานศึกษาเล่าเรี ยน „ ทุนการศึกษาพระราชทานแก่นกเรี ยนเฉพาะกรณี ั „ ทุนพระราชทานแก่นกเรี ยนชาวเขา ั „ ทุนพระราชทานแก่นกเรี ยนเฉพาะสถานศึกษา ั
  • 17. „ รางวัลพระราชทานแก่นกเรี ยนและโรงเรี ยนดีเด่น ั ่ ั ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงสนพระราชหฤทัยศึกษาหลาย ด้าน อาทิ วิทยาศาสตร์ การเกษตร วิศวกรรมศาสตร์ การใช้เครื่ องมือเทคโนโลยีต่างๆ เป็ นต้น นอกจากนั้น แล้วพระองค์ทรงสนพระทัยงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทรงศึกษาคิดค้นสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการประมวลผลข้อมูลต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นอกเหนือจากพระอัจฉริ ยภาพด้านอื่นๆ แล้ว ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวยังทรงสนพระราชหฤทัยในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอีกด้วย พระองค์ ทรงประดิษฐ์และสร้างสรรค์งานต่างๆ มากมายเนื่องจากตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ พระองค์ ได้เสด็จพระราชดําเนินเยียมราษฏรเป็ นประจํา เมื่อพระองค์พบเจอปั ญหาที่ราษฎรประสบพระองค์ก็ทรง ่ ศึกษาและประดิษฐ์เครื่ องมือต่างๆ เพื่อนํามาช่วยเหลือบรรเทาปั ญหาต่างๆ ซึ่ งพระองค์ได้มีพระราชดําริ ให้ จัดตั้งโครงการและมูลนิธิต่างๆ ดังนี้ 1. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ลักษณะของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในระยะแรกสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ „ โครงการลักษณะที่พระองค์ทรงทําการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เป็ นการส่ วนพระองค์ และ นําผลสรุ ปพระราชทานเผยแพร่ แก่เกษตรกร „ โครงที่พระองค์ทรงเข้าไปร่ วมแก้ไขปั ญหาหลักของเกษตรกร ระยะแรกโครงการยัง จํากัดอยูในพื้นที่รอบๆ ที่ประทับในส่ วนภูมิภาค ต่อมาเริ่ มขยายตัวสู่ สังคมเกษตรในพื้นที่ต่างๆ ่ ่ โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ มีอยูมากมายหลายสาขา หลายประเภท ในระยะแรกมี ชื่อ เรี ยกแตกต่างกันไปดังนี้คือ „ โครงการตามพระราชประสงค์ „ โครงการหลวง „ โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ „ โครงการตามพระราชดําริ 2 . มูลนิธิชยพัฒนาความเป็ นมา เป็ นที่ประจักษ์แจ้งชัดในความรู้สึก และสํานึกของ ั ่ ั ประชาชนชาวไทยทุกถ้วนหน้าว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงเป็ นศูนย์รวมแห่งดวงใจและความ จงรักภักดีอนยิงใหญ่ของพสกนิกรชาวไทยทั้งชาติ ด้วยเหตุที่ได้ทรงทุ่มเทพระวรกาย พระสติปัญญา เวลา ั ่ และพระราชทรัพย์ ตลอดจนได้อุทิศพระองค์ในการทรงงาน และประกอบพระราชกรณี ยกิจเพื่อการพัฒนา ประเทศและช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชนผูยากไร้ตลอดมา เป็ นระยะเวลาที่ยาวนานและต่อเนื่ อง ทั้งนี้ก็ ้
  • 18. โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าบังเกิดความร่ มเย็น มีความอยูดีกินดี อันจะนําไปสู่ ความ ่ มันคงของประเทศชาติเป็ นส่ วนรวม ่ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการดําเนินงานพัฒนาช่วยเหลือประชาชนตามระบบราชการนั้น บางครั้งบางโอกาสจําเป็ นต้องดําเนินการตามระเบียบปฏิบติที่ทางราชการกําหนดไว้ตามขั้นตอนต่างๆ ทําให้ ั โครงการบางโครงการอาจถูกจํากัดด้วยเงื่อนไขบางประการ เช่น กฎเกณฑ์ ระเบียบ หรื องบประมาณ ฯลฯ จนเป็ นเหตุให้การดําเนินงานนั้นๆ ไม่สอดคล้องหรื อทันกับสถานการณ์ท่ีจาเป็ นเร่ งด่วนที่จะต้องกระทําการ ํ โดยเร็ ว ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้มีพระราชดําริ ให้จดตั้ง “ มูลนิธิชยพัฒนา ” เพื่อสนับสนุน ั ั การช่วยเหลือประชาชนในรู ปของการดําเนินการพัฒนาในด้านต่างๆ ในกรณี ท่ีการดําเนินการนั้นๆ ถูกจํากัด ด้วยเงื่อนไขดังที่ได้กล่าวมาแล้ว หรื อดําเนิ นงานในลักษณะอื่นใดที่จะทําให้ประชาชนได้รับประโยชน์อย่าง ่ แท้จริ ง รวดเร็ ว และไม่ตกอยูภายใต้ขอจํากัดในเรื่ องเงื่อนไขของเวลา ้ กระทรวงมหาดไทย โดยกรุ งเทพมหานครได้รับจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิชยพัฒนาให้เป็ นั นิติบุคคลตามเลขทะเบียนลําดับที่ 3975 ตั้งแต่ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2531 และได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เล่มที่ 105 ตอนที่ 109 วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 3. ทฤษฎีใหม่ การขุดสระนํ้าประจําไร่ นา ่ ั่ “… หลักสําคัญจะต้องมีน้ าบริ โภค นํ้าใช้ นํ้าเพื่อการเพาะปลูกเพราะว่าชีวิตอยูท่ีนน ถ้ามี ํ ่ ่ ่ ่ นํ้าคนอยูได้ ถ้าไม่มีน้ าคนอยูไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้ าคนอยูได้ แต่ถามีไฟฟ้ า ไม่มีน้ า คนอยูไม่ได้.. ” ํ ้ ํ ่ ั จากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวข้างต้นนี้ได้พระราชทานแก่ ผูอานวยการสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) ้ํ และคณะฯ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2529 ณ สวนจิตรลดา คงสามารถเป็ นเครื่ องยืนยันได้วาพระองค์ทรง ่ ตระหนักถึงความสําคัญเรื่ องทรัพยากรนํ้าเป็ นอย่างยิง เพราะนํ้านั้นจําเป็ นอย่างยิงในการดํารงชีวตของมนุษย์ ่ ่ ิ ่ ไม่วาในด้านอุปโภคหรื อบริ โภค ตลอดจนการเพาะปลูก ตลอดระยะเวลานานกว่า 40 ปี พระองค์ทรงทุ่มเทพระสติปัญญาตรากตรําพระวรกายโดย ่ มิได้ยอท้อต่อความเหนื่ อยยากแม้แต่นอยท่ามกลางปั ญหาอันสลับซับซ้อนนี้ พระองค์ทรงหาหนทางโดยใช้ ้ หลักการหรื อทฤษฎีปฏิบติอย่างง่ายๆ เข้าแก้ไขสิ่ งที่ยากอยูเ่ สมอ เพราะทุกหนทางที่จะแก้ไขนั้นจะต้องเป็ น ั หนทางที่ชาวบ้านทําได้ แต่ที่สาคัญในการแก้ไขปั ญา พระองค์ทรงมีพระบรมราโชบายให้ราษฏรเข้ามามี ํ ส่ วนร่ วม มีส่วนรับผิดชอบด้วยตนเองด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้ราษฏรมีความรู้สึกเป็ นเจ้าของ หวงแหน และ แบ่งปั นผลประโยชน์ซ่ ึ งกันและกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้พระราชทานแนวพระราชดําริ เกี่ยวกับ “ ทฤษฏีใหม่ ” ใน ่ ั การแก้ไขปั ญหานํ้าเพื่อการเกษตรให้ราษฏรและได้ใช้พ้ืนที่ของมูลนิธิชยพัฒนา อันเป็ นมูลนิธิส่วนพระองค์ ั ทําการทดสอบจนประสบความสําเร็ จมาแล้ว ที่วดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี แนวทางในการแก้ไขของ ั พระองค์น้ นแสนจะง่าย แต่ในขณะเดียวกันก็ลึกซึ้ งยิงนักเพราะเป็ นหนทางธรรมชาติ ั ่