SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
นางสาวนภลดา กล้าหาญ เลขที่ 20 ม.5/1

                                นักออกแบบลายผ้า




นิยามอาชีพ

ผูปฏิบติงานนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer ทาหน้าที่สร้างสรรค์ การ
  ้ ั                         ่
ออกแบบสิ่ งทอเสื้ อผ้า รวมทั้งการออกแบบเนื้อผ้า หรื อลายผ้าสวยงามเหมาะกับแฟชัน แต่ละยุค
                                                                                ่
สมัยให้แก่บุคคล และวิธีการตัดเย็บ หรื อผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปในทางอุตสาหกรรม และมีการ
พัฒนาเพื่อให้มีการแข่งขันกับตลาดต่างประเทศได้
ลักษณะของงานทีทา  ่

ผูประกอบอาชีพนักออกแบบเครื่ องแต่งกายจะมีหน้าที่คล้ายกับนักออกแบบเครื่ องประดับ หรื อ
   ้
นักออกแบบเครื่ องเรื อน โดยมีหน้าที่ ดังนี้
วิเคราะห์ ศึกษาวัสดุ ที่นามาออกแบบสิ่ งทอ ลายผ้า และเนื้อวัสดุ เพื่อตัดเย็บ และวิธีการตัดเย็บ
ควบคุมการตัดเย็บให้เป็ น ไปตามแบบที่ออกไว้
ให้คาแนะนาในเรื่ องการแก้ไขข้อบกพร่ อง ของรู ปร่ างแต่ละบุคคล โดยมีพ้ืนฐานความเข้าใจใน
ศิลปะการแต่งกายของไทยโบราณและการแต่งกายแบบตะวันตกยุคต่างๆ ในการออกแบบและ
ขั้นตอนการผลิต
นาเทคนิคทางเทคโนโลยีที่มีต่อการสร้างงานศิลป์ มาประยุกต์ใช้ โดยจะมีข้ นตอนการทางาน
                                                                          ั
                ู้ ่
ออกแบบให้ผวาจ้างดังนี้
                                                             ้่
1. ต้องรวบรวมความคิด ข้อมูลที่เป็ นสัดส่ วนจากลูกค้าหรื อผูวาจ้าง
2. ศึกษารู ปแบบงานที่มีอยู่ ถ้าสามารถนากลับมาใช้ใหม่หรื อดัดแปลง เพื่อลดระยะเวลาการ
ทางานและต้นทุนการผลิตในเวลาเดียวกัน ต้องทาการค้นคว้าวิจยด้วย    ั
                                       ่
3. ทาการร่ างแบบคร่ าวๆ โดยคุมให้อยูในแนวความคิดดังกล่าวให้ได้ตามความต้องการ
4. นาภาพที่ร่าง แล้วให้ผวาจ้างพิจารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลิต รวมทั้งการใช้
                         ู้ ่
วัตถุดิบ และประเมินราคา
                     ่
5. นาภาพร่ างที่ผานการพิจารณาและแก้ไขแล้วมาสร้างแบบ (Pattern) วิธีที่จะต้องตัดเย็บใน
รายละเอียด ปัก กุ๊น เดินลาย หรื อ จับเดรปแล้วนามาลงสี ตามจริ ง เขียนภาพและอธิบายวิธีการทา
ให้ละเอียด และชัดเจนที่สุดเท่าที่สามารถจะทาได้เพื่อให้ช่างทาตามแบบได้
                                                             ้่
6. ส่ งแบบ หรื อชุดที่ตดเนาไว้ให้ฝ่ายบริ หารและลูกค้า หรื อผูวาจ้าง พิจารณาทดลองใส่ เพื่อ
                       ั
แก้ไขข้อบกพร่ องขั้นสุ ดท้าย
              ู้ ่
7. นาแบบที่ผวาจ้างเห็นชอบ ทางานประสานกับช่างตัดเย็บ ช่างปัก เพื่อให้ได้ผลงานตามที่ลูกค้า
ต้องการ


สภาพการจ้ างงาน

สาหรับนักออกแบบเสื้ อผ้า หรื อแฟชันดีไซเนอร์ที่มีความสามารถและผลงานในระยะเวลาที่เป็ น
                                  ่
นักศึกษา เมื่อเริ่ มทางานกับบริ ษทผลิตและ ออกแบบเสื้ อผ้า อาจได้อตราค่าจ้างเป็ นเงินเดือน
                                 ั                               ั
สาหรับวุฒิการศึกษาระดับประโยควิชาชีพ และประโยควิชาชีพชั้นสู ง อาจได้รับอัตราค่าจ้าง
ขั้นต้นเป็ นเงินเดือนประมาณ 8,000 - 10,000 บาท
ส่ วนผูสาเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี จะได้รับเงินประมาณ 9,000 - 10,000 บาท หรื ออาจ
       ้
               ่ ั
มากกว่า ขึ้นอยูกบฝี มือการออกแบบและประสบการณ์ของนักออกแบบแต่ละคนมีสวัสดิการ
                                 ่ ั
โบนัส และสิ ทธิพิเศษอื่นๆ ขึ้นอยูกบผลประกอบการของเจ้าของกิจการ
ส่ วนมากผูประกอบนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer จะมีร้านหรื อใช้
          ้                  ่
บ้านเป็ นร้านรับออกแบบตัดเสื้ อผ้าเป็ นของตนเองเป็ นส่ วนใหญ่ เนื่องจากเป็ นอาชีพอิสระที่มี
รายได้ดี
สาหรับนักออกแบบประจาห้องเสื้ อหรื อร้านเสื้ อใหญ่ๆ หรื อโรงเรี ยนสอนตัดเสื้ อที่มีผลงาน
แสดงเป็ นประจานั้น เป็ นผูที่มีประสบการณ์สูงและต้องมีผสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการแสดงผล
                          ้                           ู้
งานและคอลเล็คชัน
               ่

สภาพการทางาน

ผูประกอบนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer ในสถานที่ประกอบการ
  ้                            ่
ผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปจะปฏิบติหน้าที่เหมือนในสานัก สร้างสรรค์ทวไปที่ค่อนข้างเป็ นสัดส่ วน มี
                             ั                                 ั่
อุปกรณ์ เครื่ องใช้ในการออกแบบ เช่น โต๊ะเขียนแบบ หุ่นลองเสื้ อขนาดต่างๆ ตามที่ตดเย็บ ผ้า
                                                                                   ั
กระดาษสร้างแพทเทิร์น และสี สาหรับลงสี เพื่อให้ภาพออกแบบเหมือนจริ ง อาจมีเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและให้สีได้เช่นกัน หรื อสแกนภาพที่วาดแล้วลงใน
คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้การนาเสนอต่อลูกค้าสมบูรณ์ยงขึ้น ในกรณี ผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปอาจมี
                                                      ิ่
ผูช่วยทางานในการสร้างแบบ (Pattern)
    ้
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ

ผูสนใจในนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer ควรมีคุณสมบัติทวๆ ไป
  ้                  ่                                                    ั่
ดังนี้
1. มีความคิดสร้างสรรค์มีความชอบและรักงานด้านออกแบบ มีมุมมองเรื่ องของศิลป์ ความรัก
สวยงามอาจมีพ้ืนฐาน ทางด้านศิลป์ บ้าง
2. มีความกระตือรื อร้น ช่างสังเกตว่ามีความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง กล้าคิดกล้าทา กล้าที่จะ
ถ่ายทอด
3. มีความสามารถในการถ่ายทอด ความคิด หรื อแนวคิดให้ผอ่ืนฟังได้
                                                   ู้
ผู้ทจะประกอบนักออกแบบแฟชั่น-นักออกแบบเสื้อผ้ า-Fashion-Designer ควรเตรียมความ
    ี่
พร้ อมดังต่ อไปนีคอ : ผูที่มีคุณสมบัติข้ นต้น ดังกล่าว สามารถเข้ารับการอบรมหลักสู ตรระยะสั้น
                 ้ ื ้                   ั
ในการออกแบบตัดเย็บเสื้ อผ้าได้ที่โรงเรี ยนหรื อสถาบันการออกแบบตัดเย็บเสื้ อผ้าที่มีชื่อเสี ยง
่                 ้                                                                  ่ ั
ทัวไป ซึ่งเปิ ดรับผูสนใจเข้าเรี ยนโดยไม่จากัดวุฒิการศึกษาเพราะการออกแบบเสื้ อผ้าขึ้นอยูกบ
ความริ เริ่ มสร้างสรรค์ประสบการณ์ และการฝึ กหัด
สาหรับผูสาเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ตองการศึกษาต่อในหลักสู ตรปริ ญญาตรี นอกจาก
        ้                              ้
โรงเรี ยนหรื อวิทยาลัยสายวิชาชีพแล้ว ยังสามารถสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาโดย
มี คณะศิลปกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เปิ ดสาขาวิชาการ ออกแบบพัสตราภรณ์
ผูที่เข้ารับการศึกษาในสาขาวิชาทางด้านนี้จะได้รับความรู ้ในเรื่ องของความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการ
  ้
พัฒนาสิ่ งทอ และเครื่ องแต่งกายของไทย ตะวันออก และตะวันตก เพื่อสื บทอดมรดกและศิลป
สิ่ งทอของไทย ในท้องถิ่นต่างๆ
นอกจากนี้ ยังมีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเทคนิคกรุ งเทพฯ คณะคหกรรมศาสตร์
สาขาผ้า และเครื่ องแต่งกาย ธุรกิจเสื้ อผ้า ฯลฯ

โอกาสในการมีงานทา

ผูที่สาเร็จการศึกษาแล้วสามารถนาความรู ้ ซึ่งเป็ นที่ตองการของตลาดในยุคปัจจุบน คือสามารถ
  ้                                                  ้                      ั
ออกแบบสิ่ งทอสาหรับอุตสาหกรรมระดับต่างๆ ได้มีความรู ้ในเรื่ องการบริ หารการตลาด และ
การใช้เทคโนโลยี ที่จาเป็ นต่ออุตสาหกรรมสิ่ งทอและเสื้ อผ้าสาเร็จรู ป
ในวงการแฟชันในประเทศไทยยังไม่สามารถเป็ นศูนย์กลางของการออกแบบแฟชันได้แต่กลับ
           ่                                                     ่
เป็ น ศูนย์กลางของวัตถุดิบอย่างเช่น ผ้าไหมและการผลิตเสื้ อผ้าเพื่อการส่ งออกภายใต้ยหอสิ นค้า
                                                                                   ี่ ้
ต่างประเทศ และเสื้ อผ้าสาเร็จรู ป เพราะมีค่าแรงราคาถูก
                             ่
อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ผานมา ในวงการออกแบบเสื้ อผ้าไทยถือว่ามีความสาเร็จใน
ระดับหนึ่งที่การผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปภายใต้ยหอไทย ได้มีการส่ งออกไปขายในต่างประเทศบ้าง
                                              ี่ ้
แล้ว เช่น Fly Now หรื อในเรื่ องของการสนับสนุนการออกแบบลายผ้าไหมที่มีลายเป็ น
เอกลักษณ์ และการให้สีตามที่ลูกค้า ในต่างประเทศต้องการ และสามารถส่ งออกได้
นักออกแบบแฟชันในต่างประเทศหลายสถาบันต่างก็ให้ความสนใจแนวการแต่งกาย วัฒนธรรม
             ่
และการใช้ชีวตอันเป็ นเอกลักษณ์ของชาวเอเชียมากขึ้น ดังนั้น นักออกแบบแฟชันไทยควรหัน
            ิ                                                          ่
มาสนใจ วัตถุดิบในประเทศ และคิดสร้างสรรค์งานที่เป็ นเอกลักษณ์และโดดเด่น เพราะแรงงาน
และวัตถุดิบในประเทศ ยังมีราคาถูก ตลาดสิ่ งทอไทยในต่างประเทศ เช่น เสื้ อผ้าถักสาเร็จรู ป
เสื้ อผ้าทอสาเร็จรู ปยังมีศกยภาพในการส่ งออกสู ง
                           ั
                                          ่
นอกจากนี้ รัฐบาลและแนวโน้มของคนไทยกาลังอยูในระหว่างนิยมเลือกใช้สินค้าไทย
โดยเฉพาะเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปและผลิตภัณฑ์เครื่ องนุ่งห่มที่ได้มาตรฐานการส่ งออก นับเป็ นโอกาส
อันดีท่ีนกออกแบบแฟชันสามารถสร้างสรรค์งานได้เต็มที่ หรื อมีแนวคิดรู ปแบบการสร้างสรรค์
         ั          ่
งานใหม่ หรื อแนวโน้มใหม่ที่มีเอกลักษณ์ โดดเด่นในการใช้วสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ขยาย
                                                       ั
แหล่งวัตถุดิบ เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตพยายามให้ตนทุนการผลิตต่อหน่วย ต่ามากที่สุด เพื่อคง
                                                ้
ต้นทุนการผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปของไทยไว้เผชิญกับการเปิ ดเสรี สิ่งทอในปี 2548เพราะเวลานั้ น
ผูนาด้านการตลาด แฟชัน และเทคโนโลยีการผลิตเท่านั้นที่สามารถจะครองตลาดสิ่ งทอได้ใน
  ้                 ่
ต่างประเทศ หรื อแม้แต่ตลาดเสื้ อผ้าบริ เวณชายแดนไทยที่คู่แข่งขันสามารถนาเสื้ อผ้าเข้ามาตี
ตลาดไทยได้ นักออกแบบแฟชันจึงเป็ นส่ วนสาคัญที่จะต้องรักษาฐานตลาดของไทยไว้ท้ งในเชิง
                        ่                                                   ั
รุ ก ในการผลิต สร้างเครื อข่ายทั้งระบบข้อมูลข่าวสาร และเครื อข่ายจาหน่ายสิ นค้า

โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพ

ปัจจัยที่ทาให้ผที่ประกอบนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designerประสบ
               ู้                    ่
ความสาเร็จและก้าวหน้าในอาชีพ ก็คือการคงไว้ซ่ ึงการเป็ นนักออกแบบเสื้ อผ้าหรื อแฟชันดีไซ
                                                                                  ่
เนอร์ไว้ ซึ่งต้องใช้โอกาส เวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิต และการแสดงผลงานที่มีตนทุนต่าให้
                                                                           ้
เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและเต็มศักยภาพ
                     ่ ่ ั
นักออกแบบแฟชันไม่ควรยาอยูกบที่ ควรมีความคิดเชิงรุ กมากกว่ารับเพียงคาสั่งจากลูกค้าควร
             ่
ศึกษาหาความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพและควรสร้างโอกาสให้ตนเอง เช่น การศึกษา
ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม ศึกษาด้านการตลาด ความต้องการของลูกค้า กลุ่มเป้ าหมายลูกค้าใหม่
เสาะหาแหล่งตลาดวัตถุดิบ เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตที่ครบวงจร สร้างแนวโน้มแฟชัน ศึกษา
                                                                           ่
รู ปแบบของสิ นค้าจากต่างประเทศ และข้อกีดกันทางการค้า ซึ่งเป็ นปัจจัยในความก้าวหน้าทัน
             ่
โลก และยืนอยูในอาชีพได้นาน และอาจสร้างผลงานที่คนไทยภูมิใจ หันมาใส่ เสื้ อผ้าที่ผลิตโดย
นักออกแบบเสื้ อผ้าไทยกันทัวประเทศ
                          ่
นักออกแบบลายผ้า

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
บทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญบทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญpeter dontoom
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
สุริยุปราคา
สุริยุปราคาสุริยุปราคา
สุริยุปราคาNatcha Ninrat
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกkunkrooyim
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)CHIDCHANOKPHOOPECH
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 

What's hot (20)

บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
Cell
CellCell
Cell
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
Math in natural
Math in naturalMath in natural
Math in natural
 
บทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญบทคัดย่อสารบัญ
บทคัดย่อสารบัญ
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
สุริยุปราคา
สุริยุปราคาสุริยุปราคา
สุริยุปราคา
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
5614650776
56146507765614650776
5614650776
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวก
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
 

Similar to นักออกแบบลายผ้า

โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายratchadaphun
 
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุลโครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุลเม เป๋อ
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีkrunoommr
 
โครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocxโครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocxWaritsanan Chot
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
เทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอางเทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอางNing Rommanee
 
2562 final-project 2
2562 final-project 22562 final-project 2
2562 final-project 2ssuser37a5ed
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser37a5ed
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานKrooIndy Csaru
 

Similar to นักออกแบบลายผ้า (20)

นักออกแบบแฟชั่น
นักออกแบบแฟชั่นนักออกแบบแฟชั่น
นักออกแบบแฟชั่น
 
S2 work2 m34no35-2
S2 work2 m34no35-2S2 work2 m34no35-2
S2 work2 m34no35-2
 
S2 work2 m34no35
S2 work2 m34no35S2 work2 m34no35
S2 work2 m34no35
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุลโครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
 
7
77
7
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี
 
โครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocxโครงร่าง เต็มDocx
โครงร่าง เต็มDocx
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
เทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอางเทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอาง
 
2562 final-project 2
2562 final-project 22562 final-project 2
2562 final-project 2
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
234
234234
234
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

นักออกแบบลายผ้า

  • 1. นางสาวนภลดา กล้าหาญ เลขที่ 20 ม.5/1 นักออกแบบลายผ้า นิยามอาชีพ ผูปฏิบติงานนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer ทาหน้าที่สร้างสรรค์ การ ้ ั ่ ออกแบบสิ่ งทอเสื้ อผ้า รวมทั้งการออกแบบเนื้อผ้า หรื อลายผ้าสวยงามเหมาะกับแฟชัน แต่ละยุค ่ สมัยให้แก่บุคคล และวิธีการตัดเย็บ หรื อผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปในทางอุตสาหกรรม และมีการ พัฒนาเพื่อให้มีการแข่งขันกับตลาดต่างประเทศได้ ลักษณะของงานทีทา ่ ผูประกอบอาชีพนักออกแบบเครื่ องแต่งกายจะมีหน้าที่คล้ายกับนักออกแบบเครื่ องประดับ หรื อ ้ นักออกแบบเครื่ องเรื อน โดยมีหน้าที่ ดังนี้ วิเคราะห์ ศึกษาวัสดุ ที่นามาออกแบบสิ่ งทอ ลายผ้า และเนื้อวัสดุ เพื่อตัดเย็บ และวิธีการตัดเย็บ ควบคุมการตัดเย็บให้เป็ น ไปตามแบบที่ออกไว้ ให้คาแนะนาในเรื่ องการแก้ไขข้อบกพร่ อง ของรู ปร่ างแต่ละบุคคล โดยมีพ้ืนฐานความเข้าใจใน ศิลปะการแต่งกายของไทยโบราณและการแต่งกายแบบตะวันตกยุคต่างๆ ในการออกแบบและ
  • 2. ขั้นตอนการผลิต นาเทคนิคทางเทคโนโลยีที่มีต่อการสร้างงานศิลป์ มาประยุกต์ใช้ โดยจะมีข้ นตอนการทางาน ั ู้ ่ ออกแบบให้ผวาจ้างดังนี้ ้่ 1. ต้องรวบรวมความคิด ข้อมูลที่เป็ นสัดส่ วนจากลูกค้าหรื อผูวาจ้าง 2. ศึกษารู ปแบบงานที่มีอยู่ ถ้าสามารถนากลับมาใช้ใหม่หรื อดัดแปลง เพื่อลดระยะเวลาการ ทางานและต้นทุนการผลิตในเวลาเดียวกัน ต้องทาการค้นคว้าวิจยด้วย ั ่ 3. ทาการร่ างแบบคร่ าวๆ โดยคุมให้อยูในแนวความคิดดังกล่าวให้ได้ตามความต้องการ 4. นาภาพที่ร่าง แล้วให้ผวาจ้างพิจารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลิต รวมทั้งการใช้ ู้ ่ วัตถุดิบ และประเมินราคา ่ 5. นาภาพร่ างที่ผานการพิจารณาและแก้ไขแล้วมาสร้างแบบ (Pattern) วิธีที่จะต้องตัดเย็บใน รายละเอียด ปัก กุ๊น เดินลาย หรื อ จับเดรปแล้วนามาลงสี ตามจริ ง เขียนภาพและอธิบายวิธีการทา ให้ละเอียด และชัดเจนที่สุดเท่าที่สามารถจะทาได้เพื่อให้ช่างทาตามแบบได้ ้่ 6. ส่ งแบบ หรื อชุดที่ตดเนาไว้ให้ฝ่ายบริ หารและลูกค้า หรื อผูวาจ้าง พิจารณาทดลองใส่ เพื่อ ั แก้ไขข้อบกพร่ องขั้นสุ ดท้าย ู้ ่ 7. นาแบบที่ผวาจ้างเห็นชอบ ทางานประสานกับช่างตัดเย็บ ช่างปัก เพื่อให้ได้ผลงานตามที่ลูกค้า ต้องการ สภาพการจ้ างงาน สาหรับนักออกแบบเสื้ อผ้า หรื อแฟชันดีไซเนอร์ที่มีความสามารถและผลงานในระยะเวลาที่เป็ น ่ นักศึกษา เมื่อเริ่ มทางานกับบริ ษทผลิตและ ออกแบบเสื้ อผ้า อาจได้อตราค่าจ้างเป็ นเงินเดือน ั ั สาหรับวุฒิการศึกษาระดับประโยควิชาชีพ และประโยควิชาชีพชั้นสู ง อาจได้รับอัตราค่าจ้าง ขั้นต้นเป็ นเงินเดือนประมาณ 8,000 - 10,000 บาท ส่ วนผูสาเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี จะได้รับเงินประมาณ 9,000 - 10,000 บาท หรื ออาจ ้ ่ ั มากกว่า ขึ้นอยูกบฝี มือการออกแบบและประสบการณ์ของนักออกแบบแต่ละคนมีสวัสดิการ ่ ั โบนัส และสิ ทธิพิเศษอื่นๆ ขึ้นอยูกบผลประกอบการของเจ้าของกิจการ ส่ วนมากผูประกอบนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer จะมีร้านหรื อใช้ ้ ่
  • 3. บ้านเป็ นร้านรับออกแบบตัดเสื้ อผ้าเป็ นของตนเองเป็ นส่ วนใหญ่ เนื่องจากเป็ นอาชีพอิสระที่มี รายได้ดี สาหรับนักออกแบบประจาห้องเสื้ อหรื อร้านเสื้ อใหญ่ๆ หรื อโรงเรี ยนสอนตัดเสื้ อที่มีผลงาน แสดงเป็ นประจานั้น เป็ นผูที่มีประสบการณ์สูงและต้องมีผสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการแสดงผล ้ ู้ งานและคอลเล็คชัน ่ สภาพการทางาน ผูประกอบนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer ในสถานที่ประกอบการ ้ ่ ผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปจะปฏิบติหน้าที่เหมือนในสานัก สร้างสรรค์ทวไปที่ค่อนข้างเป็ นสัดส่ วน มี ั ั่ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ในการออกแบบ เช่น โต๊ะเขียนแบบ หุ่นลองเสื้ อขนาดต่างๆ ตามที่ตดเย็บ ผ้า ั กระดาษสร้างแพทเทิร์น และสี สาหรับลงสี เพื่อให้ภาพออกแบบเหมือนจริ ง อาจมีเครื่ อง คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและให้สีได้เช่นกัน หรื อสแกนภาพที่วาดแล้วลงใน คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้การนาเสนอต่อลูกค้าสมบูรณ์ยงขึ้น ในกรณี ผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปอาจมี ิ่ ผูช่วยทางานในการสร้างแบบ (Pattern) ้ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ ผูสนใจในนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designer ควรมีคุณสมบัติทวๆ ไป ้ ่ ั่ ดังนี้ 1. มีความคิดสร้างสรรค์มีความชอบและรักงานด้านออกแบบ มีมุมมองเรื่ องของศิลป์ ความรัก สวยงามอาจมีพ้ืนฐาน ทางด้านศิลป์ บ้าง 2. มีความกระตือรื อร้น ช่างสังเกตว่ามีความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง กล้าคิดกล้าทา กล้าที่จะ ถ่ายทอด 3. มีความสามารถในการถ่ายทอด ความคิด หรื อแนวคิดให้ผอ่ืนฟังได้ ู้ ผู้ทจะประกอบนักออกแบบแฟชั่น-นักออกแบบเสื้อผ้ า-Fashion-Designer ควรเตรียมความ ี่ พร้ อมดังต่ อไปนีคอ : ผูที่มีคุณสมบัติข้ นต้น ดังกล่าว สามารถเข้ารับการอบรมหลักสู ตรระยะสั้น ้ ื ้ ั ในการออกแบบตัดเย็บเสื้ อผ้าได้ที่โรงเรี ยนหรื อสถาบันการออกแบบตัดเย็บเสื้ อผ้าที่มีชื่อเสี ยง
  • 4. ้ ่ ั ทัวไป ซึ่งเปิ ดรับผูสนใจเข้าเรี ยนโดยไม่จากัดวุฒิการศึกษาเพราะการออกแบบเสื้ อผ้าขึ้นอยูกบ ความริ เริ่ มสร้างสรรค์ประสบการณ์ และการฝึ กหัด สาหรับผูสาเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ตองการศึกษาต่อในหลักสู ตรปริ ญญาตรี นอกจาก ้ ้ โรงเรี ยนหรื อวิทยาลัยสายวิชาชีพแล้ว ยังสามารถสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาโดย มี คณะศิลปกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เปิ ดสาขาวิชาการ ออกแบบพัสตราภรณ์ ผูที่เข้ารับการศึกษาในสาขาวิชาทางด้านนี้จะได้รับความรู ้ในเรื่ องของความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการ ้ พัฒนาสิ่ งทอ และเครื่ องแต่งกายของไทย ตะวันออก และตะวันตก เพื่อสื บทอดมรดกและศิลป สิ่ งทอของไทย ในท้องถิ่นต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเทคนิคกรุ งเทพฯ คณะคหกรรมศาสตร์ สาขาผ้า และเครื่ องแต่งกาย ธุรกิจเสื้ อผ้า ฯลฯ โอกาสในการมีงานทา ผูที่สาเร็จการศึกษาแล้วสามารถนาความรู ้ ซึ่งเป็ นที่ตองการของตลาดในยุคปัจจุบน คือสามารถ ้ ้ ั ออกแบบสิ่ งทอสาหรับอุตสาหกรรมระดับต่างๆ ได้มีความรู ้ในเรื่ องการบริ หารการตลาด และ การใช้เทคโนโลยี ที่จาเป็ นต่ออุตสาหกรรมสิ่ งทอและเสื้ อผ้าสาเร็จรู ป ในวงการแฟชันในประเทศไทยยังไม่สามารถเป็ นศูนย์กลางของการออกแบบแฟชันได้แต่กลับ ่ ่ เป็ น ศูนย์กลางของวัตถุดิบอย่างเช่น ผ้าไหมและการผลิตเสื้ อผ้าเพื่อการส่ งออกภายใต้ยหอสิ นค้า ี่ ้ ต่างประเทศ และเสื้ อผ้าสาเร็จรู ป เพราะมีค่าแรงราคาถูก ่ อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ผานมา ในวงการออกแบบเสื้ อผ้าไทยถือว่ามีความสาเร็จใน ระดับหนึ่งที่การผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปภายใต้ยหอไทย ได้มีการส่ งออกไปขายในต่างประเทศบ้าง ี่ ้ แล้ว เช่น Fly Now หรื อในเรื่ องของการสนับสนุนการออกแบบลายผ้าไหมที่มีลายเป็ น เอกลักษณ์ และการให้สีตามที่ลูกค้า ในต่างประเทศต้องการ และสามารถส่ งออกได้ นักออกแบบแฟชันในต่างประเทศหลายสถาบันต่างก็ให้ความสนใจแนวการแต่งกาย วัฒนธรรม ่ และการใช้ชีวตอันเป็ นเอกลักษณ์ของชาวเอเชียมากขึ้น ดังนั้น นักออกแบบแฟชันไทยควรหัน ิ ่ มาสนใจ วัตถุดิบในประเทศ และคิดสร้างสรรค์งานที่เป็ นเอกลักษณ์และโดดเด่น เพราะแรงงาน
  • 5. และวัตถุดิบในประเทศ ยังมีราคาถูก ตลาดสิ่ งทอไทยในต่างประเทศ เช่น เสื้ อผ้าถักสาเร็จรู ป เสื้ อผ้าทอสาเร็จรู ปยังมีศกยภาพในการส่ งออกสู ง ั ่ นอกจากนี้ รัฐบาลและแนวโน้มของคนไทยกาลังอยูในระหว่างนิยมเลือกใช้สินค้าไทย โดยเฉพาะเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปและผลิตภัณฑ์เครื่ องนุ่งห่มที่ได้มาตรฐานการส่ งออก นับเป็ นโอกาส อันดีท่ีนกออกแบบแฟชันสามารถสร้างสรรค์งานได้เต็มที่ หรื อมีแนวคิดรู ปแบบการสร้างสรรค์ ั ่ งานใหม่ หรื อแนวโน้มใหม่ที่มีเอกลักษณ์ โดดเด่นในการใช้วสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ขยาย ั แหล่งวัตถุดิบ เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตพยายามให้ตนทุนการผลิตต่อหน่วย ต่ามากที่สุด เพื่อคง ้ ต้นทุนการผลิตเสื้ อผ้าสาเร็จรู ปของไทยไว้เผชิญกับการเปิ ดเสรี สิ่งทอในปี 2548เพราะเวลานั้ น ผูนาด้านการตลาด แฟชัน และเทคโนโลยีการผลิตเท่านั้นที่สามารถจะครองตลาดสิ่ งทอได้ใน ้ ่ ต่างประเทศ หรื อแม้แต่ตลาดเสื้ อผ้าบริ เวณชายแดนไทยที่คู่แข่งขันสามารถนาเสื้ อผ้าเข้ามาตี ตลาดไทยได้ นักออกแบบแฟชันจึงเป็ นส่ วนสาคัญที่จะต้องรักษาฐานตลาดของไทยไว้ท้ งในเชิง ่ ั รุ ก ในการผลิต สร้างเครื อข่ายทั้งระบบข้อมูลข่าวสาร และเครื อข่ายจาหน่ายสิ นค้า โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพ ปัจจัยที่ทาให้ผที่ประกอบนักออกแบบแฟชัน-นักออกแบบเสื้ อผ้า-Fashion-Designerประสบ ู้ ่ ความสาเร็จและก้าวหน้าในอาชีพ ก็คือการคงไว้ซ่ ึงการเป็ นนักออกแบบเสื้ อผ้าหรื อแฟชันดีไซ ่ เนอร์ไว้ ซึ่งต้องใช้โอกาส เวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิต และการแสดงผลงานที่มีตนทุนต่าให้ ้ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและเต็มศักยภาพ ่ ่ ั นักออกแบบแฟชันไม่ควรยาอยูกบที่ ควรมีความคิดเชิงรุ กมากกว่ารับเพียงคาสั่งจากลูกค้าควร ่ ศึกษาหาความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพและควรสร้างโอกาสให้ตนเอง เช่น การศึกษา ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม ศึกษาด้านการตลาด ความต้องการของลูกค้า กลุ่มเป้ าหมายลูกค้าใหม่ เสาะหาแหล่งตลาดวัตถุดิบ เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตที่ครบวงจร สร้างแนวโน้มแฟชัน ศึกษา ่ รู ปแบบของสิ นค้าจากต่างประเทศ และข้อกีดกันทางการค้า ซึ่งเป็ นปัจจัยในความก้าวหน้าทัน ่ โลก และยืนอยูในอาชีพได้นาน และอาจสร้างผลงานที่คนไทยภูมิใจ หันมาใส่ เสื้ อผ้าที่ผลิตโดย นักออกแบบเสื้ อผ้าไทยกันทัวประเทศ ่