SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
สงครามไม่ ใช่ คาตอบสุดท้ าย
ของการแก้ ไขปั ญหาเขตแดน
 ไทยกับประเทศเพื่อนบ้ าน


                       พลเอกเอกชัย ศรี วิลาศ
              ผู้อานวยการสานักสันติวธีและธรรมาภิบาล
                                    ิ
                        สถาบันพระปกเกล้ า
                             ekkachais@hotmail.com
             www.kpi.ac.th                       1
1
3
4
5
6
แนวทางการบรรยาย
 เสนอข้ อมูลและข้ อเท็จจริงจากการศึกษาค้ นคว้ าใน
แนวทางเชิงสันติ สอดแทรกด้ วยแนวคิดทฤษฎี
 เสนอวีซีดี แนวทางการจัดการปัญหาเขตแดนของเพื่อน
บ้ าน
 แนวคิดการจัดการเขตแดนแนวสันติของประเทศต่างๆ
 กรณีศึกษาวิเทโศบายของพระพุทธเจ้ าหลวงในการเลี่ยง
สงครามสู่สนติสขของชาติไทย
            ั ุ
                                                    1
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นใน ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖)
ทาให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงเสียพระราชหฤทัย
มาก จนถึงกับทรงพระประชวร โดยพระองค์ได้ ทรงพระราชนิพนธ์
ระบายความโศกเศร้ าไว้ ว่า
    เจ็บนานหนักอกผู ้              บริรักษ์ ปวงเอย
    คิดใคร่ลา ลาญหัก               ปลดเปลื้ อง
               ่
    ความเหนือยแห่งสูจัก            พลันสร่าง
    ตูจักสู่ภพเบื้อง               หน้านัน พลันเขษม
                                          ้
             www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org          1
การป้ องกันมิให้ ประเทศไทยต้ องสูญเสียเอกราช
การดาเนินวิเทโศบายผูกมิตรกับมหาอานาจรัสเซีย เริ่มต้ นขึ้นอย่าง
ค่อยเป็ นค่อยไป โดยระหว่างที่มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย เสด็จฯจาก
อินเดียมาแวะเมืองไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
ทรงต้ อนรับอย่างยิ่งใหญ่ และเต็มที่ ทาให้ ท้งสองพระองค์กลายเป็ น
                                            ั
พระสหายสนิทข้ ามทวีป ทั้งๆที่ทรงมีพระบุคลิกภาพแตกต่างกันอย่าง
สิ้นเชิง โดยองค์ประมุขแห่งรัสเซียทรงประหม่าขี้อาย ขณะที่
พระพุทธเจ้ าหลวงของไทยทรงร่าเริงอบอุ่น
ซึ่งต่อมามกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ได้ รับการสถาปนาเป็ นพระเจ้ าซาร์นิ
โคลัสที่สอง( จักรพรรดิองค์สดท้ายของจักรวรรดิรัสเซีย ก่อน
                            ุ
เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นระบอบสังคมนิยม)
             www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org              1
วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖ กรมหลวงเทวะวงศวโรปการทรง
  ได้ รับหนังสือกราบทูลฉบับหนึ่งจาก Frederick Verney ที่ปรึกษา
  ประจาสถานทูตไทยที่ลอนดอนแจ้ งว่า แม้ ว่าลอร์ดโรสเบอรีจะไม่คัดค้ าน
  แผนการเสด็จประพาสโดยทางหลักการ แต่กกล่าวอย่างเสียไม่ได้ ว่า ร.๕
                                              ็
  จะได้ รับการถวายการต้ อนรับอย่างดี ซึ่งดูจะเป็ นการตอบรับอย่างไม่มี
  หนทางเลี่ยงเป็ นอย่างอื่น (17)
  ด้ วยเหตุดังนั้น Verney จึงเห็นด้ วยว่า ควรจะต้องเสด็จประเทศ
  รัสเซียเป็ นประเทศแรกสุดในหมายกาหนดการเสด็จประพาส
                       ี่
  เพราะความสัมพันธ์ทสนิทสนมกับมกุฎราชกุมารรัสเซีย จะทา
  ให้ราชสานักรัสเซียจัดถวายการต้อนรับอย่างสมพระเกียรติ
    ่
  ซึงจะมีผลต่อการถวายการรับเสด็จในทีอื่นๆ (18)
                                     ่
(http://www.torakom.com/article_print.php?artID=155)
การปองกันมิให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช
    ้
 ซึ่งต่อมามกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ได้ รับการ
 สถาปนาเป็ นพระเจ้ าซาร์นิโคลัสที่สอง
 พระเจ้ าซาร์นิโคลัสที่สองได้ ทรงส่งนักการทูต
 ระดับสูง เข้ ามาเป็ นเอกอัครราชทูตประจา
 ประเทศไทย เพื่อช่วยไทยแก้ ไขปัญหาข้ อพิพาท
 ชายแดนกับฝรังเศสด้ วย

                                                1
“ อารมณ์ ของฝรั่ งเศสปรากฏว่ าชอบใช้ กาลัง
  มากกว่ าการเจรจา” (จอร์ จ นาตาแนล เคอร์ ซอน
    จากหนังสือ ปั ญหาชายแดนประเทศสยาม)

“   การดาเนินทางการทูตแบบนุ่มนวลไม่ เหมาะ
    สาหรั บประเทศสยาม กับชาวเอเชีย ต้ องแสดง
    พลังเมื่อคุณแข็งแรงกว่ า หรื อหากคุณตกเป็ นเบียล่ าง
                                                  ้
    คุณต้ องยืนหยัด การเจรจาตกลงเป็ นเรื่ อง
    เล็กน้ อย เสียเวลา
    (ชาร์ ล เลอ มีร์ เดอ วิเลร์
                              เอกอัครราชทูตประจากรุ งสยามกล่ าวต่ อ จูลส์ เดอแวล
                          รมต.ต่ างประเทศ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๓๖)
การศึกษาเรื่ องความขัดแย้ งทัง ๓ มิติ
                             ้
     มิตเชิงปองกัน
          ิ ้
     มิตเชิงแก้ ไข
        ิ
     มิตเชิงปรองดอง
           ิ


                                        13
พระราชดารัสที่บ่งบอก ถึงพระราชปณิธานอันแน่วแน่

“เราตั้งใจอธิษฐานว่ า เราจะกระทาการจนเต็มกาลัง

อย่ างทีสุด ทีจะให้ กรุ งสยามเป็ นประเทศอันหนึ่ง ซึงมี
        ่      ่
อิสรภาพและความเจริญ ”
   สะท้ อนให้ เห็นถึงความรักชาติบ้านเมือง และความหวง
   แหนในเอกราชของแผ่นดินสยาม


            www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org   1
การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
   พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวได้ เสด็จประพาสยุโรป ๒
   ครั้ง ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ และ พ.ศ. ๒๔๕๐
      ่
   เพือเจรจาทางการเมืองกับมหาอานาจตะวันตก ในการ
   แก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน มุ่งหวังว่าการเสด็จเยือน
   ฝรั่งเศสจะทาให้ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองดีข้ น จนนาไปสู่
                                                        ึ
   ข้ อตกลงที่เป็ นการ
   เพื่อยุติปัญหาข้ อขัดแย้ งทางการเมืองที่ยังคงมีอยู่ สนธิสัญญาและ
                      ่
   อนุสัญญาไทย-ฝรังเศส เดือนตุลาคม พ.ศ.
                           ่       ่
   ๒๔๓๖ เป็ นเพียงข้อตกลงชัวคราวทีช่วยยุติ
   สถานการณ์ฉุกเฉินไม่ให้ขยายตัวลุกลามขึ้ น
   เป็ นสงครามเท่านัน
                    ้                                                 1
ช่วงวิกฤตของประเทศสยาม
พ.ศ. ๒๔๓๖ ทาสนธิสญญาและอนุสญญาไทย-ฝรั่งเศส
                    ั            ั
พ.ศ. ๒๔๓๗ ทั้งในปารีสและในอาณานิคมอินโดจี นฝรังเศส มีความ
                                                    ่
ก้าวร้าวรุนแรงต่อสยามมากขึ้ น
พ.ศ. ๒๔๓๙ มีแรงบีบคั้นเพือให้รฐบาลฝรังเศสตัดสินใจใช้กาลัง
                           ่   ั       ่
อาวุธเข้ายึดครองบริเวณฝั่งขวาแม่นาโขงอย่างเปิ ดเผย โดยเฉพาะหลัง
                                   ้
การประกาศ "คาแถลงการณ์ร่วมอังกฤษ-ฝรั่งเศส”
พ.ศ. ๒๔๔๐ เสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ ๑
พ.ศ. ๒๔๕๐ เสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ ๒

                                                              1
1
สนธิสญญาและอนุสญญาเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖
         ั         ั
    แทนที่จะแก้ ไขปั ญหากลับสร้ างปั ญหาใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายปัญหา ล้ วนเป็ นปัญหาที่
    คุกคามหรือท้ าทายอธิปไตยของไทยในเวลาต่อมาโดยตรง
    ปัญหาความขัดแย้งมาจากผลในการตี ความ
ข้ อความในสนธิสญญาและอนุสญญาประเด็นสาคัญคือ
               ั         ั
– การจดทะเบียนคนในบังคับฝรั่งเศส
– อานาจการปกครองในเขตแดนเมืองหลวงพระบาง
   บนฝั่งขวาแม่นาโขง
                 ้
– เขตปลอดทหาร (ไทย) ระยะ ๒๕ กม.บนฝั่งขวาแม่นาโขง      ้
   ตลอดแนวชายแดนระหว่างไทยกับอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส
– ปัญหาการคืนเมืองจันทบุรีให้ แก่ฝ่ายไทย ที่ฝรั่งเศสปฏิเสธที่จะปฏิบัติตาม ด้ วยข้ ออ้ างที่ว่าฝ่ ายไทยยัง
  ไม่ได้ ดาเนินการตามเงื่อนไขในสนธิสญญาและอนุสญญา พ.ศ. ๒๔๓๖ อย่างครบถ้ วน
                                     ั              ั
                                                                                                      1
ท่ าทีของกลุ่มผลประโยชน์ อาณานิคมของฝรั่ งเศส( Parti colonial )
   ตังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๓๗ เป็ นต้ นมา ทังในปารีสและใน
      ้                              ้
   อาณานิคมอินโดจีนฝรั่ งเศส ที่มีตอไทยเริ่มมีความ
                                       ่
   ก้ าวร้ าวรุ นแรงมากขึ ้นตามลาดับ
   แรงบีบคันเพื่อให้ รัฐบาลฝรั่ งเศสตัดสินใจใช้ กาลัง
              ้
   อาวุธเข้ ายึดครองบริ เวณฝั่ งขวาแม่น ้าโขงเริ่มมีอย่าง
   เปิ ดเผยมากขึ ้น
   โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการประกาศ "คาแถลงการณ์
   ร่วมอังกฤษ-ฝรั่งเศส" ในตอนต้ นของปี พ.ศ. ๒๔๓๙
                                                              1
บันทึกของเจ้ าพระยาอภัยราชา (Gustave Rolin-Jaequemyns)
                                         ่
ที่ปรึกษาราชการ แผ่นดินชาวเบลเยียมระบุไว้ ว่า ก่อนหน้ าวิกฤตการณ์
ปากนา ร.ศ. ๑๑๒ ได้ เคยกราบทูลเสนอแนะผ่าน เสนาบดีกระทรวงการต่างของ
       ้
ไทย ให้ ร.๕ เสด็จประพาสยุโรป (๑๑) แต่ข้อเสนอแนะไม่ได้ มีการพิจารณา
อย่างจริงจัง จนกระทั่งเกิดความขัดแย้ งกับฝรั่งเศส ใน ก.ค. พ.ศ. ๒๔๓๖
ภายใต้ แรงบีบคั้น ข้ อเรียกร้ องนานาประการที่เป็ นเงื่อนไขเพื่อยุติข้อขัดแย้ งของ
รัฐบาลฝรั่งเศส และท่าทีอนเฉยเมยและคุกคามความมั่นของอังกฤษ กับฝรั่งเศส
                          ั
กระทาต่อไทย ร. ๕ จึงทรงหยิบยกเรื่องการเสด็ จประพาสยุโรป เพือ                   ่
                                                    ่
สานสัมพันธไมตรีกับมหาอานาจต่างๆ อันเป็ นหนทางหนึงในการ
                              ่
ประกันการดารงอยูและความมันคงของไทย ขึ้นมาปรึกษากับเจ้ าพระยา
                  ่
อภัยราชา โดยทรงกาหนดการเสด็จประพาสไว้ ใน พ.ศ. ๒๔๓๗ หรือ พ.ศ.
๒๔๓๘ รวมระยะเวลาการเสด็จประมาณ ๙ เดือน (๑๒)
แผนการเสด็จประพาสถูกทาขึ้นตอนต้ นปี พ.ศ. ๒๔๔๐ โดย
พระเจ้ าน้ องยาเธอพระองค์เจ้ าสวัสดิโสภณ อรรคราชทูตไทยที่
ลอนดอนเป็ นผู้รับผิดชอบ
                  ่
การเสด็จเยือนฝรังเศส จึงถูกกาหนดให้มความสาคัญเป็ น
                                          ี
ลาดับต้น
หมายกาหนดการเสด็จประพาสที่จัดทาขึ้น กาหนดเส้ นทาง
เสด็จพระราชดาเนินทางบกจากเมืองเวนิสในอิตาลี เป็ นเมือง
แรกในยุโรปที่เรือมหาจักรีเทียบท่ามายังฝรั่งเศส เสด็จถึงปารีส
และเสด็จต่อไปยังกรุงเวียนนา จากนั้นจะเสด็จต่อไปยัง
บูดาเปสต์และมอสโคว์ ตามลาดับ
                                                               1
แผนการเสด็จประพาสฯที่เตรียมไว้ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๗
หรือ พ.ศ. ๒๔๓๘ ต้ องถูกยกเลิกไปโดยปริยาย เพราะ
ตั้งแต่ปลาย ปี ๒๔๓๖ จนถึงปลายปี ต่อมา ความกดดัน
จากวิกฤตการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองกับ
    ่
ฝรังเศส และการสูญเสียในพระราชวงศ์หลายครั้ง
ติดต่อกันได้ ทาให้พระพลานามัยทังร่างกายและ
                                   ้
                ่
จิตใจของ ร.๕ เสือมทรุดลงอย่างรวดเร็ ว จน
               ่ ่
หลายครังเป็ นทีหวันเกรงกันในหมู่เจ้านายและ
       ้
เสนาบดีว่าอาจจะถึงแก่สวรรคต (๒๒)
พระเจ้ าลูกยาเธอ พระองค์ เจ้ าอาภากรเกียรติวงศ์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้ าฯให้ รับราชการตามตาแหน่งนายเรือในเรือพระทีนังมหา  ่ ่
จักรี ภายใต้ การบังคับบัญชาของกัปตันเรือพระที่น่ัง และได้ ทรง
ถือท้ ายเรือพระที่น่ังมหาจักรีด้วยพระองค์เอง ซึ่งเท่ากับว่าทรง
แต่งตั้งให้ เป็ นนักเรียนนายเรือของสยาม
โดยทรงฝึ กงานภายใต้ การดูแลควบคุมของ กัปตัน คัมมิง
(Capt. R. S.D. Cumming R.N.) นายทหารเรือ
อังกฤษ ทีรัฐบาลสยามขอยืมตัวมาเป็ นผูบังคับการเรือพระที่
             ่                            ้
  ่
นัง
                                                             1
ทรงมีพระราชปรารภกับพระองค์ เจ้ าอาภากรเกียรติวงศ์
    เมื่อพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ เข้ าเฝ้ า
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวในเรือพระที่น่ังมหาจักรีแล้ ว
    สมเด็จพระบรมชนกนาถ มีพระราชปรารภว่า
“ ชายอาภากรนั้นอัธยาศัยนั้นเป็ นคนซื่อมาแต่เดิม เป็ นผู้ท่สมควรแก่
                                                          ี
วิชาที่เรียนอยู่แล้ ว ไม่เป็ นคนทีมอัธยาศัยทีจะใช้ฝีปากได้ในการพล
                                  ่ ี        ่
                                         ่              ่
เรือน แต่ถ้าเป็ นการในหน้าทีอันเดียวซึงชานาญคงจะมันคงในทางนั้น
                                ่
และตรงไปตรงมา การที่ได้ ไปพบคราวนี้ เห็นว่าอัธยาศัยดีข้ นกว่าแต่ก่อน
                                                            ึ
มาก"

                                                                           1
การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองของรัชกาลที่ ๕
 เพื่อศึกษาความเจริญก้ าวหน้ าด้ านต่าง ๆ ของ
ตะวันตก
 เพื่อการสร้ างภาพลักษณ์ของไทยในยุโรปในเชิง
บวก เป็ นการเกื้อหนุนสถานะของไทยในทาง
การเมืองระหว่างประเทศ ตลอดจนถึงอธิปไตยของ
ไทย ให้ ชาวต่างชาติได้ ร้ จักไทยดีข้ น
                          ู          ึ
 เพื่อแสวงหามิตรประเทศ
                                                1
พระพุทธเจ้ าหลวงทรงดาเนินวิเทโศบาย
  ในการเสด็จประพาสยุโรปครังแรก พ.ศ. ๒๔๔๐
                          ้
ทาความเข้ าใจกับชาติท่คุกคามไทย ในการเจรจาโดยตรงกับผู้นาของฝรั่งเศส
                      ี
แก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งในกรณีท่สบเนื่องจากวิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.
                                ีื
๒๔๓๖)
แสวงหาชาติพันธมิตรมาช่วยเสริมสร้ างความมั่นคงของชาติ โดยเฉพาะประสบ
ความสาเร็จในการสร้ างสัมพันธไมตรีกบกษัตริย์รัสเซียซาร์นิโคลัสที่ ๒แห่ง
                                      ั
ราชวงศ์โรมานอฟ และได้ ส่ง เจ้ าฟ้ าจักรพงษ์ภวนาถไปศึกษาที่ประเทศรัสเซีย
                                            ู
ด้ วย
ได้ ทรงเจรจาและปรับความเข้ าใจกับฝรั่งเศส ที่กาลังคุกคามไทยอย่างมาก
ทอดพระเนตรความเจริญของยุโรป จะได้ นามาเป็ นแบบอย่างในการปรับปรุง
บ้ านเมือง
                                                                          1
รัฐบาลอังกฤษทาบทามรัฐบาลไทยเจรจาเป็ นการลับ ในการประกันสิทธิ
และผลประโยชน์ร่วมกันของแต่ละฝ่ ายพร้ อมเสนอร่างอนุสัญญาลับให้
เสนาบดีว่าการต่างประเทศของไทยพิจารณา ท่าทีรัฐบาลไทยเป็ นไป
ในเชิงบวก....
ท่าทีคุกคามที่รนแรงมากขึ้นของอังกฤษในสิงคโปร์ ทาให้ ไทยต้ องคา
                 ุ                                             ้
ประกันสิทธิของตนจากรัฐบาลอังกฤษด้ วยเช่นกัน.....การเจรจาล่าช้ า เพราะ
โต้ แย้ งข้ อความในร่างอนุสญญาตอบไปมา เป็ นช่วงเจรจาเกี่ยวกับแผนการ
                           ั
เสด็จ เป็ นสาเหตุท่าที "เฉยเมย" ที่องกฤษมีต่อแผนการเสด็จ ทาให้
                                    ั
                                ์ ่
ทรงเห็นด้ วยกับแผนการนายเวอร์นียทีเสนอไว้ให้เสด็จประพาสรัสเซีย
ก่อนอังกฤษ (38)
ร.๕ ทรงเสด็จประพาสอินเดีย ๓ เดือน
 ดูวิธการจัดระเบียบบ้ านเมืองของอังกฤษกับเมืองขึ้น
      ี
อินเดียและสิงคโปร์
 ดูการพัฒนาเครื่องแต่งการชุดราชปะแตน
 เลิกทาสเพื่อให้ มหาอานาจเคารพเรา
 ตัดคูคลองสร้ างเศรษฐกิจสังคมเกษตร
 กฎหมายให้ ทุกคนมีความเสมอภาค

                                                     1
วิสยทัศน์ในการจัดการแนวทางสันติ
     ั
การวางแผนเสด็จประพาสยุโรป สองครั้ง
กาหนดเส้ นทางและจุดพักแต่ละประเทศ
กาหนดประเทศก่อนหลังโดยเอางานการเมืองเป็ นที่ต้ัง
การพบปะกับบุคคลสาคัญระหว่างเดินทาง
เดินทางไปดูการปกครองที่อนเดีย
                        ิ


                                                   1
แนวทางสร้ างความสันติสข
                               ุ
Relationship :     มาจากการเยี่ยมเยียนสร้ างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน
Peace Talk : มากจากการพบปะพูดคุยสู่ความตกลง
Peace Net : การสร้ างเครือข่ายเพื่อสร้ างสังคมสู่สนติสข
                                                    ั ุ
Peace Communication : การสื่อสารเพื่อสันติท่ให้ เห็นภาพลักษณ์ท่ดี
                                                     ี                ี
Trust : สร้ างให้ เกิดความไว้ วางใจและมีความเชื่อมั่น
Fear : ความหวาดกลัว เรามักกลัวสิ่งที่เราไม่ร้ ู คาดเดาไม่ได้ ยังไม่เคย
เห็น และยังไม่เคยเป็ น
Expectation : ความคาดหวัง


                                                                     1
บทบาทของพระมหากษัตริยกรุงสยาม
                      ์
พระมหากษัตริย์ผ้ ูปกครองประเทศ
กิจการต่างประเทศ
– กรมสนธิสญญา
          ั
– กรมวิเทศน์สมพันธ์
             ั
– กรมยุโรป และกรมเอเชีย
– ฯลฯ
กิจการมหาดไทย                    1
การเสด็จประพาสยุโรปครังที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๕๐
                      ้
เพื่อรักษาพระอาการประชวรเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและพระวักกะ (ไต)
เพื่อเจรจาราชการบ้ านเมืองกับชาติตะวันตกต่าง ๆ
 –   เรื่ องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต เรื่ องคนในบังคับฝรั่งเศส อานาจการปกครองเหนือดินแดน
     เมืองหลวงพระบางบนฝั่ งขวาแม่น ้าโขงและเขตปลอดทหาร (ไทย) ระยะ ๒๕ กม.บนฝั่ ง
     ขวาของแม่น ้าโขงตลอดแนวชายแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับอาณานิคมอินโดจีน
     ของฝรั่งเศส
 –   ปั ญหาภาษี ร้อยชัก ๓ เป็ นร้ อยชัก ๑๐ และโครงการสร้ างทางรถไฟสายใต้
ทรงให้ สตยาบันในสนธิสญญาสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. ๒๔๔๙ เจรจากับ
        ั            ั
ปลัดกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษส่งผลให้ เกิดสนธิสญญาแลกเปลี่ยน ๔ รัฐมลายู
                                                ั
ในเวลาต่อมา
การเสด็จพระราชดาเนินทรงรับปริญญาด็อกเตอร์ ออฟลอว์(Doctor of Law) ณ บ้ าน
ของอธิการบดีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
                                                                               32
ลายพระราชหัตถเลขาที่ต่อมาพิมพ์ เป็ นหนังสือ "ไกลบ้ าน"
ทรงมีลายพระราชหัตถเลขาพระราชทานแก่เจ้ าฟ้ านิภานภดล
วิมลประภาวดีเล่าเรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่สภาพดินฟ้ า
อากาศ สภาพบ้ านเมือง การรักษาพระองค์
สังคมและวัฒนธรรมที่มความหลากหลายของคน
                        ี
ในประเทศที่เสด็จพระราชดาเนิน

 พระราชดาริ และพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ท่ทรงมีต่อเหตุการณ์
                                          ี
 ต่าง ๆ ลายพระราชหัตถเลขาต่อมาพิมพ์เป็ นหนังสือ "ไกลบ้ าน"
                                                             1
เส้ นทางการเดินทางเสด็จประพาสยุโรปโดยเรือพระที่นงมหาจักรี (ลาที่ ๑) เสด็จจาก
                                                   ั่
ท่าราชวรดิษฐ์ ในวันพุธ ที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๐ เพื่อทรงเยือนประเทศ
อิตาลี สวิสเซอร์ แลนด์ ออสเตรี ย ฮังการี โปแลนด์ รัสเซีย สวีเดน เดนมาร์ ก
อังกฤษ เยอรมนี ฮอลแลนด์ เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส เป็ นต้ น ซึงแต่ละประเทศ ได้ จดการ
                                                         ่                ั
รับเสด็จอย่างยิ่งใหญ่ หนังสือพิมพ์ชนนาในแต่ละประเทศต่างเสนอข่าว และพระบรม
                                    ั้
สาทิสลักษณ์อย่างกว้ างขวาง และ แพร่หลาย




                                                                            1
การใช้ กปตันและลูกเรื อจากอังกฤษ
                             ั
* Captain R.S.D. Cumming R.N.   นายทหารเรื ออังกฤษที่รัฐบาลสยามขอยืมตัวมาเป็ นผู้
                บังคับการเรื อพระที่น่ ัง มหาจักรี ในการเสด็จครั งนี ้
                                                                 ้
                                                                             1
วันนี้ไม่ใคร่สบาย ตื่นขึ้นทาโคลงให้ สวัสดิ์สองบท
   สาหรับเขียนในสมุดวันเกิด ของลูกโตตามที่เขาขอให้ ฉันเขียน
สงคราม บ ใช่ส้ น สัจธรรม์ เทียวเฮย
                   ิ
                                                    ฉบับที่ ๑๗ เจนีวา
ผูเ้ พือชาติภมิกน ชอบป้ อง
       ่     ู ั                              วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๔๔๐
อนึงผูดจกรกัน เป็ นขวาก รัวแฮ
     ่ ุ้                     ้
ชนกาจกวนอ่อนข้อง ขัดกังควรการ
                            ้
รอญราญโดยเหตุเกื้อ แก่ตน
มุ่งประโยชน์เพือผล ต่าซา
                 ่        ้
สงครามทีเ่ กิดกล คากล่าว นี้นา
ควรติวารบร้า ชัวร้ายอาธรรม์
         ่           ่                                           1
Peace Talk




        www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org   1
Peace Communication

       การเดินทางครังนี ้ได้ ถกตีพิมพ์ใน
                      ้       ู
       หนังสือพิมพ์ข่าวสารของประเทศ
       ต่างๆทาให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ที่
      พระมหากษัตริ ย์ไทยทรงมีตอกษัตริ ย์
                                  ่
                แต่ละประเทศ
พระบรมฉายาลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า
เจ้ าอยู่หว ขณะทรงฉายคู่กบพระเจ้ าซาร์ นิโคลัสที่ ๒ เป็ นหนึ่งใน
          ั               ั
 ภาพข่ าวที่ฮือฮาและมีนัยยะสาคัญทางการทูตเป็ นอย่ างยิ่ง ......




                                                                   1
Peace Net




            1
ความหวังของไทยที่หวังว่าจะช่วย
ยับยังฝรั่งเศสในการรุกรานไทย
          ้
แต่องกฤษสงวนท่าที และ ปกปอง
      ั                       ้
ผลประโยชน์ของตน พ.ศ.๒๔๓๙
มีการลงนามสนธิสญญาระหว่าง
                    ั
อังกฤษและฝรั่งเศส ประกันความ
เป็ นกลางของดินแดนตอนกลางคือ
ลุมแม่น ้าเจ้ าพระยาของสยาม(1896 Anglo - French Agreement)
  ่
ที่มีสวนช่วยให้ ดินแดนของสยามมีอธิปไตยอยูได้ เป็ นรูปขวานทอง
        ่                                    ่
หรื อ "สุวรรณภูมิ" อย่างที่เราเห็นในปั จจุบน
                                           ั                   41
สถานการณ์ทีรายแรงทีสุดในยุครัตนโกสินทร์ ถึงขั้น "เสียบ้าน เสียเมือง
             ่้        ่
“ ด้วยพระราชดาริพระองค์ มองว่าเป็ นโอกาสดีแก่บ้านเมืองที่จะออกไป
ประเทศยุโรปเอง และผลจากการเสด็จประพาสยุโรปในครั้งนี้เป็ นผลดีแก่พระ
ราชอาณาจักรสยามเป็ นอย่างยิ่ง ที่ทรงสามารถนาสยามนาวาผ่านพ้ น
สถานการณ์ท่นับว่าร้ ายแรงที่สดได้
           ี                 ุ
ที่ ๕๖ เมืองปารี ส
๑๑ กันยายน ร.ศ.๑๑๖

“ ถึงแม่เล็ก ด้ วยตั้งแต่ฉันออกมาครั้งนี้ยงไม่ได้รับความคับแค้นเดือดร้อน
                                             ั
เหมือนอย่างครังนี้ เลย การที่แม่เล็กรู้สกหนักในเรื่องที่ฉันจะมาเมือง
                 ้                         ึ
ฝรั่งเศสประการใด ขอให้เข้าใจว่าฉันหนักกว่าสิบเท่าอยู่แล้ วเพราะเป็ นผู้
ที่มาเองแต่ครั้นเมื่อมาถึงปารีสเข้ าเขาก็รับรองอย่างแข็งแรง เปรสิเดนต์กข้ น็ึ
รถมาส่งถึงที่อยู่ ซึงเป็ นการทีเขาไม่ได้ทาให้แก่ผใด นอกจากเอมเปอเรอ
                     ่             ่                ู้
รัสเซีย การที่เขาทาเช่นนี้ผ้ ูซ่ึงมีสญญาไม่วิปลาสคงจะเข้ าใจได้ ว่า เขาไม่ได้
                                     ั
ทาด้ วยเกรงกลัวอานาจเราอย่างใด ทาด้ วยเห็นแก่พระบารมีเอมเปอเรอ แล
ด้ วยกาลังตื่นรู้ขนบธรรมเนียมเจ้ านาย เพราะได้เคยไปเห็นการรับรอง
  ่              ่                ่ ้
ทีรัสเซียมา การทีทาอะไรก็ถ่ายแบบทีนันมาทังสิ้ น
                                         ้
บทสนทนา Peace Talk
. . การสนทนาทั้งมาตามทาง แลที่เข้ าไปนั่งปิ ดประตูอยู่ด้วยกัน
สองคน ก็เป็ นสุนทรกถาแลเรื่องไปรัสเซีย ข้ อที่พูดราชการนั้น
แสดงความยินดีท่ฉันมาจะได้ มีช่องปรึกษาหารือกันระงับการซึ่ง
                    ี
พวกฝรั่งเศสซึ่งอยู่ฝ่ายตะวันออก แกล้ งกล่าวว่าเราไม่อยากเป็ น
ไมตรีกบฝรั่งเศส จะขอให้ มีเวลาปรึกษาหารือกัน ฉันก็รับเขา
       ั
ว่าขอให้ เข้ าใจว่าเมืองฝรั่งเศสไม่เหมือนเมืองอื่น ต้ องปกครอง
ตามใจคน จึงเป็ นการยาก แต่รอดตัวที่เขาเป็ นคนดีมีคนชอบ
มาก                                                              44
บทสนทนา Peace Talk
ฉันก็ว่าฉันดีใจที่ได้ มาเปิ ดความจริงซึ่งมีอยู่ในอกให้ เห็นว่าเรา
อยาก เป็ นไมตรีกบฝรั่งเศสเพียงใด ข้ อความอันนี้ฉันก็ได้ เปิ ดไว้
                   ั
กับเอมเปอเรอรัสเซียเสร็จแล้ ว เขาก็รับว่าเอมเปอเรอได้ รับสั่งกับ
เขา ฉันว่าฝรั่งเศสมีใจรักแลเชื่อถือเอมเปอเรอๆ เป็ นพยานฉันใน
ข้ อนี้ . . . การที่แล้ วไปนี้เป็ นแต่เริ่มต้ น ยังมีเรื่องที่จะได้
ปรึกษากันมีอกต่อไป
               ี

                                                                 45
ข้ อตกลง The Entente - cordiale 1904 (Anglo-French Entente
1904) วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๗ อังกฤษ และฝรั่ งเศสได้ ลงนาม
ใน ได้ ตกลงจัดการขยายอาณานิคมอย่างสันติแทนการแย่งชิงและขัดแย้ งกัน
ใน ๓ พื ้นที่ คืออียิปต์ และมอรอคโค นิวฟาวนด์แลนด์ และบางส่วนของอาฟ
ริกากลาง และอาฟริกาตะวันตก และพืนที่ประเทศไทย มาดากาสการ์ และ
                                       ้
หมู่เกาะวานนูอาตู



สาหรั บประเทศไทย ฝรั่ งเศสจะมีอทธิพลในพื้นทีด้านตะวันออกของแม่ น้า
                                  ิ                ่
เจ้ าพระยา อังกฤษจะมีอทธิพลในพื้นทีด้านตะวันตกของแม่ น้าเจ้ าพระยา
                        ิ               ่
 ฝรั่ งเศสและอังกฤษตกลงร่ วมกันว่ าจะไม่ ผนวกสยามเป็ นเมืองขึนแต่ จะ
                                                                 ้
เพียงแค่ มีอทธิพลในดินแดนนีเ้ ท่ านัน นับว่ าเป็ นความร่ วมมือกัน
            ิ                       ้
ครอบครองดินแดนสยามดังเป็ นอาณานิคม และแบ่ งสรรประโยชน์ กัน
                                                                   46
ความสัมพันธ์กบประเทศเพื่อนบ้ านที่อยู่ใกล้ เคียง
             ั
       ในสมัยกรุงศรี อยุธยา กับขอม
มีความสัมพันธ์มาเป็ นเวลานาน ซึงมีทงทาสงครามและเป็ นมิตรไมตรี
                                ่ ั้
ต่อกัน
สมัยเจ้ าสามพระยาทางกรุงศรี อยุธยา
ทาสงครามชนะเหนือเขมรอย่างเด็ดขาด
ก่อนหน้ านี ้เคยขยายอานาจไปยังเขมร
หลายครังแต่ไม่สามารถยึดเขมรได้
          ้
กรุงศรี อยุธยามีชยชนะเหนือเขมรได้ กวาดต้ อนคนและทรัพย์สินจาก
                  ั
นครธรมเมืองหลวงของเขมรเป็ นจานวนมาก
                                                           1
การช่วยเหลือเขมร
เขมรมีปัญหาภายในเมื่อใดผู้นาจะเข้ ามาพึงพระบรมโพธิสมภารจะ
                                          ่
ได้ รับการช่วยเหลืออย่างดี แต่เมื่อไทยเกิดศึกสงครามเขมรจะยกทัพ
มาตีเมืองชายแดนที่ติดกับเขมรและเมืองใกล้ เคียงบ่อยครัง(เช่นครัง
                                                      ้       ้
อยุธยาเสียกรุงแก่พม่าในพ.ศ.๒๑๑๒ เขมรก็เข้ ามาสร้ างความไม่
พอใจให้ กบอยุธยามาก เมื่อเสร็จศึกกับพม่าจึงยกทัพไปตีเขมรใน
          ั
พ.ศ.๒๑๓๖ และสามารถยึดเมืองละแวกได้
เมื่อสมเด็จพระนเรศวรสวรรคตเขมรแข็งเมืองอีกและขอความ
ช่วยเหลือจากญวนเพื่อคานอานาจจากอยุธยา
สรุปเมื อใดไทยอ่อนแอมี ความขัดแย้งกันภายใน เขมรจะแข็งกร้าว
        ่
และขอความช่วยเหลือจากนานาประเทศ                               1
ศ.ดร.เบเนดิกต์ โอกอร์ แมน
    แอนเดอร์ สัน
    พูดถึงประเทศอาเซียน

    "ชะตากรรม "อาเซียน" จากอคติที่แอบแฝงสูความขัดแย้ งที่ไม่ร้ ูจบอาเซียนน่าจะหัน
                                         ่
    มามองความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบมนุษย์ สิ่งนี ้คือ "สุคติ" ของอาเซียน ต้ องใช้ คา
                                            ั
    ว่า "เปลี่ยน" เหมือนโอบามา เพราะถ้ าไม่เปลี่ยนอาเซียนก็เหมือนลูกโป่ งสวรรค์ที่ลอย
    อยู่สวยงามแต่ทาอะไรไม่ได้ “
        อาเซียนมีอยูเ่ พื่อให้ เราอุนใจ แต่ผลความสาเร็จอย่างจริงจังยังไม่เกิดขึ ้นเพราะเน้ น
                                   ่
        การร่วมมือกันพัฒนาทางวัตถุมากกว่าการเน้ นความร่วมมือทางการพัฒนา
        ส่งเสริมเรื่ องของมนุษย์กบมนุษย์ จะต้ องเปลี่ยนวิธีคิด ถ้ าคนยังไม่เข้ าใจซึงกันและ
                                     ั                                              ่
        กัน ไม่เห็นใจกัน เศรษฐกิจจะดีได้ อย่างไร มนุษย์คือทุนที่สาคัญที่สดในการพัฒนา
                                                                            ุ
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดสัมมนาเชิงวิชาการอุษาคเนย์ครังที่ 6
                               ึ                                                                              ้
หัวข้ อ "อคติทแอบแฝง สูความขัดแย้ งทีไม่ร้ ูจบ" ที่หอประชุมใหญ่ มธ. ท่าพระจันทร์
              ี่      ่              ่                                                                      1
ร.๕ ทรงเสด็จประพาสอินเดีย ๓ เดือน
 ดูวิธการจัดระเบียบบ้ านเมืองของอังกฤษกับเมืองขึ้น
      ี
อินเดียและสิงคโปร์
 ดูการพัฒนาเครื่องแต่งการชุดราชปะแตน
 เลิกทาสเพื่อให้ มหาอานาจเคารพเรา
 ตัดคูคลองสร้ างเศรษฐกิจสังคมเกษตร
 กฎหมายให้ ทุกคนมีความเสมอภาค
          www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org   1
ต้าลี่
                                                                    คุนหมิง                              ปั ญหาเส้ นเขตแดน
                         มูเซ
                    ลาเซียว         เชียงรุง
                                           ่
                                ต้าลัต้่วาลัว่      โมฮัน
                                                                 เหอโข่ว ลาวไค                            ปั ญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
มัณฑะเลย์                                                                           ฮานอย
                    เชียงตุง
                        ท่าขี้เหล็ก
                                                   บ่อเต็น
                                            หลวงน้ าทา
                         แม่สาย ห้วยทราย ง หลวงพระบาง                                       ไฮฟอง               สร้ างเส้ นเขตแดนสายสัมพันธ์
                                     ปากแบ่
                    เชียงราย เชียห้วยโก๋น
                                     งของ

                   เชียงใหม่                          เวียงจันทน์
                                                                    นครพนม
                                                                                    วินห์         ทะเลจีนใต้         สร้ างแม่น ้าสายสัมพันธ์
  ย่างกุง
        ้         แม่สอด                                        มุกดาหาร สะหวันนะเขต ดองฮา
      เมาะละแหม่ง                                                                       ดานัง
                                                                อุบลราชธานี          ปากเซ
                                                                                      อัตตะปื อ
                           กรุงเทพฯ                           อรัญประเทศ
                                                             Poipet    เสียมเรียบ
                                                                                      สตึงเตร็ง

                                                                                                               สร้ างความสัมพันธ์ทางศาสนา
                                                          ตราด           พนมเปญ
 ทะเลอันดามัน                                              เกาะกง                     โฮจิมินห์

                                                   อ่าวไทย
                                                                สีหนุ วลล์
                                                                       ิ                      วังเตา       สร้ างความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
                ภูเก็ต                                                                               สร้ างความสัมพันธ์ทางเชื ้อชาติเผ่าพันธ์
                                                  สงขลา
                                     มาเลเซีย
สะพานมิตรภาพไทย-พม่า




 www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org   1

More Related Content

Similar to Crma present1

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887CUPress
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSomO777
 
Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2kokoyadi
 
Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3kokoyadi
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง gain_ant
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยmnfaim aaaa
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อguidekik
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to Crma present1 (20)

Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2Thai Social and Cultural 2
Thai Social and Cultural 2
 
Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3Thai Social and Cultural History3
Thai Social and Cultural History3
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

Crma present1

  • 1. สงครามไม่ ใช่ คาตอบสุดท้ าย ของการแก้ ไขปั ญหาเขตแดน ไทยกับประเทศเพื่อนบ้ าน พลเอกเอกชัย ศรี วิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวธีและธรรมาภิบาล ิ สถาบันพระปกเกล้ า ekkachais@hotmail.com www.kpi.ac.th 1
  • 2. 1
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 6. 6
  • 7. แนวทางการบรรยาย เสนอข้ อมูลและข้ อเท็จจริงจากการศึกษาค้ นคว้ าใน แนวทางเชิงสันติ สอดแทรกด้ วยแนวคิดทฤษฎี เสนอวีซีดี แนวทางการจัดการปัญหาเขตแดนของเพื่อน บ้ าน แนวคิดการจัดการเขตแดนแนวสันติของประเทศต่างๆ กรณีศึกษาวิเทโศบายของพระพุทธเจ้ าหลวงในการเลี่ยง สงครามสู่สนติสขของชาติไทย ั ุ 1
  • 8. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นใน ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖) ทาให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงเสียพระราชหฤทัย มาก จนถึงกับทรงพระประชวร โดยพระองค์ได้ ทรงพระราชนิพนธ์ ระบายความโศกเศร้ าไว้ ว่า เจ็บนานหนักอกผู ้ บริรักษ์ ปวงเอย คิดใคร่ลา ลาญหัก ปลดเปลื้ อง ่ ความเหนือยแห่งสูจัก พลันสร่าง ตูจักสู่ภพเบื้อง หน้านัน พลันเขษม ้ www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
  • 9. การป้ องกันมิให้ ประเทศไทยต้ องสูญเสียเอกราช การดาเนินวิเทโศบายผูกมิตรกับมหาอานาจรัสเซีย เริ่มต้ นขึ้นอย่าง ค่อยเป็ นค่อยไป โดยระหว่างที่มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย เสด็จฯจาก อินเดียมาแวะเมืองไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงต้ อนรับอย่างยิ่งใหญ่ และเต็มที่ ทาให้ ท้งสองพระองค์กลายเป็ น ั พระสหายสนิทข้ ามทวีป ทั้งๆที่ทรงมีพระบุคลิกภาพแตกต่างกันอย่าง สิ้นเชิง โดยองค์ประมุขแห่งรัสเซียทรงประหม่าขี้อาย ขณะที่ พระพุทธเจ้ าหลวงของไทยทรงร่าเริงอบอุ่น ซึ่งต่อมามกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ได้ รับการสถาปนาเป็ นพระเจ้ าซาร์นิ โคลัสที่สอง( จักรพรรดิองค์สดท้ายของจักรวรรดิรัสเซีย ก่อน ุ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นระบอบสังคมนิยม) www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
  • 10. วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖ กรมหลวงเทวะวงศวโรปการทรง ได้ รับหนังสือกราบทูลฉบับหนึ่งจาก Frederick Verney ที่ปรึกษา ประจาสถานทูตไทยที่ลอนดอนแจ้ งว่า แม้ ว่าลอร์ดโรสเบอรีจะไม่คัดค้ าน แผนการเสด็จประพาสโดยทางหลักการ แต่กกล่าวอย่างเสียไม่ได้ ว่า ร.๕ ็ จะได้ รับการถวายการต้ อนรับอย่างดี ซึ่งดูจะเป็ นการตอบรับอย่างไม่มี หนทางเลี่ยงเป็ นอย่างอื่น (17) ด้ วยเหตุดังนั้น Verney จึงเห็นด้ วยว่า ควรจะต้องเสด็จประเทศ รัสเซียเป็ นประเทศแรกสุดในหมายกาหนดการเสด็จประพาส ี่ เพราะความสัมพันธ์ทสนิทสนมกับมกุฎราชกุมารรัสเซีย จะทา ให้ราชสานักรัสเซียจัดถวายการต้อนรับอย่างสมพระเกียรติ ่ ซึงจะมีผลต่อการถวายการรับเสด็จในทีอื่นๆ (18) ่ (http://www.torakom.com/article_print.php?artID=155)
  • 11. การปองกันมิให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช ้ ซึ่งต่อมามกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ได้ รับการ สถาปนาเป็ นพระเจ้ าซาร์นิโคลัสที่สอง พระเจ้ าซาร์นิโคลัสที่สองได้ ทรงส่งนักการทูต ระดับสูง เข้ ามาเป็ นเอกอัครราชทูตประจา ประเทศไทย เพื่อช่วยไทยแก้ ไขปัญหาข้ อพิพาท ชายแดนกับฝรังเศสด้ วย 1
  • 12. “ อารมณ์ ของฝรั่ งเศสปรากฏว่ าชอบใช้ กาลัง มากกว่ าการเจรจา” (จอร์ จ นาตาแนล เคอร์ ซอน จากหนังสือ ปั ญหาชายแดนประเทศสยาม) “ การดาเนินทางการทูตแบบนุ่มนวลไม่ เหมาะ สาหรั บประเทศสยาม กับชาวเอเชีย ต้ องแสดง พลังเมื่อคุณแข็งแรงกว่ า หรื อหากคุณตกเป็ นเบียล่ าง ้ คุณต้ องยืนหยัด การเจรจาตกลงเป็ นเรื่ อง เล็กน้ อย เสียเวลา (ชาร์ ล เลอ มีร์ เดอ วิเลร์ เอกอัครราชทูตประจากรุ งสยามกล่ าวต่ อ จูลส์ เดอแวล รมต.ต่ างประเทศ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๓๖)
  • 13. การศึกษาเรื่ องความขัดแย้ งทัง ๓ มิติ ้ มิตเชิงปองกัน ิ ้ มิตเชิงแก้ ไข ิ มิตเชิงปรองดอง ิ 13
  • 14. พระราชดารัสที่บ่งบอก ถึงพระราชปณิธานอันแน่วแน่ “เราตั้งใจอธิษฐานว่ า เราจะกระทาการจนเต็มกาลัง อย่ างทีสุด ทีจะให้ กรุ งสยามเป็ นประเทศอันหนึ่ง ซึงมี ่ ่ อิสรภาพและความเจริญ ” สะท้ อนให้ เห็นถึงความรักชาติบ้านเมือง และความหวง แหนในเอกราชของแผ่นดินสยาม www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
  • 15. การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวได้ เสด็จประพาสยุโรป ๒ ครั้ง ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ และ พ.ศ. ๒๔๕๐ ่ เพือเจรจาทางการเมืองกับมหาอานาจตะวันตก ในการ แก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน มุ่งหวังว่าการเสด็จเยือน ฝรั่งเศสจะทาให้ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองดีข้ น จนนาไปสู่ ึ ข้ อตกลงที่เป็ นการ เพื่อยุติปัญหาข้ อขัดแย้ งทางการเมืองที่ยังคงมีอยู่ สนธิสัญญาและ ่ อนุสัญญาไทย-ฝรังเศส เดือนตุลาคม พ.ศ. ่ ่ ๒๔๓๖ เป็ นเพียงข้อตกลงชัวคราวทีช่วยยุติ สถานการณ์ฉุกเฉินไม่ให้ขยายตัวลุกลามขึ้ น เป็ นสงครามเท่านัน ้ 1
  • 16. ช่วงวิกฤตของประเทศสยาม พ.ศ. ๒๔๓๖ ทาสนธิสญญาและอนุสญญาไทย-ฝรั่งเศส ั ั พ.ศ. ๒๔๓๗ ทั้งในปารีสและในอาณานิคมอินโดจี นฝรังเศส มีความ ่ ก้าวร้าวรุนแรงต่อสยามมากขึ้ น พ.ศ. ๒๔๓๙ มีแรงบีบคั้นเพือให้รฐบาลฝรังเศสตัดสินใจใช้กาลัง ่ ั ่ อาวุธเข้ายึดครองบริเวณฝั่งขวาแม่นาโขงอย่างเปิ ดเผย โดยเฉพาะหลัง ้ การประกาศ "คาแถลงการณ์ร่วมอังกฤษ-ฝรั่งเศส” พ.ศ. ๒๔๔๐ เสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๕๐ เสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ ๒ 1
  • 17. 1
  • 18. สนธิสญญาและอนุสญญาเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ ั ั แทนที่จะแก้ ไขปั ญหากลับสร้ างปั ญหาใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลายปัญหา ล้ วนเป็ นปัญหาที่ คุกคามหรือท้ าทายอธิปไตยของไทยในเวลาต่อมาโดยตรง ปัญหาความขัดแย้งมาจากผลในการตี ความ ข้ อความในสนธิสญญาและอนุสญญาประเด็นสาคัญคือ ั ั – การจดทะเบียนคนในบังคับฝรั่งเศส – อานาจการปกครองในเขตแดนเมืองหลวงพระบาง บนฝั่งขวาแม่นาโขง ้ – เขตปลอดทหาร (ไทย) ระยะ ๒๕ กม.บนฝั่งขวาแม่นาโขง ้ ตลอดแนวชายแดนระหว่างไทยกับอาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศส – ปัญหาการคืนเมืองจันทบุรีให้ แก่ฝ่ายไทย ที่ฝรั่งเศสปฏิเสธที่จะปฏิบัติตาม ด้ วยข้ ออ้ างที่ว่าฝ่ ายไทยยัง ไม่ได้ ดาเนินการตามเงื่อนไขในสนธิสญญาและอนุสญญา พ.ศ. ๒๔๓๖ อย่างครบถ้ วน ั ั 1
  • 19. ท่ าทีของกลุ่มผลประโยชน์ อาณานิคมของฝรั่ งเศส( Parti colonial ) ตังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๓๗ เป็ นต้ นมา ทังในปารีสและใน ้ ้ อาณานิคมอินโดจีนฝรั่ งเศส ที่มีตอไทยเริ่มมีความ ่ ก้ าวร้ าวรุ นแรงมากขึ ้นตามลาดับ แรงบีบคันเพื่อให้ รัฐบาลฝรั่ งเศสตัดสินใจใช้ กาลัง ้ อาวุธเข้ ายึดครองบริ เวณฝั่ งขวาแม่น ้าโขงเริ่มมีอย่าง เปิ ดเผยมากขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการประกาศ "คาแถลงการณ์ ร่วมอังกฤษ-ฝรั่งเศส" ในตอนต้ นของปี พ.ศ. ๒๔๓๙ 1
  • 20. บันทึกของเจ้ าพระยาอภัยราชา (Gustave Rolin-Jaequemyns) ่ ที่ปรึกษาราชการ แผ่นดินชาวเบลเยียมระบุไว้ ว่า ก่อนหน้ าวิกฤตการณ์ ปากนา ร.ศ. ๑๑๒ ได้ เคยกราบทูลเสนอแนะผ่าน เสนาบดีกระทรวงการต่างของ ้ ไทย ให้ ร.๕ เสด็จประพาสยุโรป (๑๑) แต่ข้อเสนอแนะไม่ได้ มีการพิจารณา อย่างจริงจัง จนกระทั่งเกิดความขัดแย้ งกับฝรั่งเศส ใน ก.ค. พ.ศ. ๒๔๓๖ ภายใต้ แรงบีบคั้น ข้ อเรียกร้ องนานาประการที่เป็ นเงื่อนไขเพื่อยุติข้อขัดแย้ งของ รัฐบาลฝรั่งเศส และท่าทีอนเฉยเมยและคุกคามความมั่นของอังกฤษ กับฝรั่งเศส ั กระทาต่อไทย ร. ๕ จึงทรงหยิบยกเรื่องการเสด็ จประพาสยุโรป เพือ ่ ่ สานสัมพันธไมตรีกับมหาอานาจต่างๆ อันเป็ นหนทางหนึงในการ ่ ประกันการดารงอยูและความมันคงของไทย ขึ้นมาปรึกษากับเจ้ าพระยา ่ อภัยราชา โดยทรงกาหนดการเสด็จประพาสไว้ ใน พ.ศ. ๒๔๓๗ หรือ พ.ศ. ๒๔๓๘ รวมระยะเวลาการเสด็จประมาณ ๙ เดือน (๑๒)
  • 21. แผนการเสด็จประพาสถูกทาขึ้นตอนต้ นปี พ.ศ. ๒๔๔๐ โดย พระเจ้ าน้ องยาเธอพระองค์เจ้ าสวัสดิโสภณ อรรคราชทูตไทยที่ ลอนดอนเป็ นผู้รับผิดชอบ ่ การเสด็จเยือนฝรังเศส จึงถูกกาหนดให้มความสาคัญเป็ น ี ลาดับต้น หมายกาหนดการเสด็จประพาสที่จัดทาขึ้น กาหนดเส้ นทาง เสด็จพระราชดาเนินทางบกจากเมืองเวนิสในอิตาลี เป็ นเมือง แรกในยุโรปที่เรือมหาจักรีเทียบท่ามายังฝรั่งเศส เสด็จถึงปารีส และเสด็จต่อไปยังกรุงเวียนนา จากนั้นจะเสด็จต่อไปยัง บูดาเปสต์และมอสโคว์ ตามลาดับ 1
  • 22. แผนการเสด็จประพาสฯที่เตรียมไว้ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ หรือ พ.ศ. ๒๔๓๘ ต้ องถูกยกเลิกไปโดยปริยาย เพราะ ตั้งแต่ปลาย ปี ๒๔๓๖ จนถึงปลายปี ต่อมา ความกดดัน จากวิกฤตการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองกับ ่ ฝรังเศส และการสูญเสียในพระราชวงศ์หลายครั้ง ติดต่อกันได้ ทาให้พระพลานามัยทังร่างกายและ ้ ่ จิตใจของ ร.๕ เสือมทรุดลงอย่างรวดเร็ ว จน ่ ่ หลายครังเป็ นทีหวันเกรงกันในหมู่เจ้านายและ ้ เสนาบดีว่าอาจจะถึงแก่สวรรคต (๒๒)
  • 23. พระเจ้ าลูกยาเธอ พระองค์ เจ้ าอาภากรเกียรติวงศ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรด เกล้ าฯให้ รับราชการตามตาแหน่งนายเรือในเรือพระทีนังมหา ่ ่ จักรี ภายใต้ การบังคับบัญชาของกัปตันเรือพระที่น่ัง และได้ ทรง ถือท้ ายเรือพระที่น่ังมหาจักรีด้วยพระองค์เอง ซึ่งเท่ากับว่าทรง แต่งตั้งให้ เป็ นนักเรียนนายเรือของสยาม โดยทรงฝึ กงานภายใต้ การดูแลควบคุมของ กัปตัน คัมมิง (Capt. R. S.D. Cumming R.N.) นายทหารเรือ อังกฤษ ทีรัฐบาลสยามขอยืมตัวมาเป็ นผูบังคับการเรือพระที่ ่ ้ ่ นัง 1
  • 24. ทรงมีพระราชปรารภกับพระองค์ เจ้ าอาภากรเกียรติวงศ์ เมื่อพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ เข้ าเฝ้ า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวในเรือพระที่น่ังมหาจักรีแล้ ว สมเด็จพระบรมชนกนาถ มีพระราชปรารภว่า “ ชายอาภากรนั้นอัธยาศัยนั้นเป็ นคนซื่อมาแต่เดิม เป็ นผู้ท่สมควรแก่ ี วิชาที่เรียนอยู่แล้ ว ไม่เป็ นคนทีมอัธยาศัยทีจะใช้ฝีปากได้ในการพล ่ ี ่ ่ ่ เรือน แต่ถ้าเป็ นการในหน้าทีอันเดียวซึงชานาญคงจะมันคงในทางนั้น ่ และตรงไปตรงมา การที่ได้ ไปพบคราวนี้ เห็นว่าอัธยาศัยดีข้ นกว่าแต่ก่อน ึ มาก" 1
  • 25. การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองของรัชกาลที่ ๕ เพื่อศึกษาความเจริญก้ าวหน้ าด้ านต่าง ๆ ของ ตะวันตก เพื่อการสร้ างภาพลักษณ์ของไทยในยุโรปในเชิง บวก เป็ นการเกื้อหนุนสถานะของไทยในทาง การเมืองระหว่างประเทศ ตลอดจนถึงอธิปไตยของ ไทย ให้ ชาวต่างชาติได้ ร้ จักไทยดีข้ น ู ึ เพื่อแสวงหามิตรประเทศ 1
  • 26. พระพุทธเจ้ าหลวงทรงดาเนินวิเทโศบาย ในการเสด็จประพาสยุโรปครังแรก พ.ศ. ๒๔๔๐ ้ ทาความเข้ าใจกับชาติท่คุกคามไทย ในการเจรจาโดยตรงกับผู้นาของฝรั่งเศส ี แก้ ไขปัญหาความขัดแย้ งในกรณีท่สบเนื่องจากวิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ. ีื ๒๔๓๖) แสวงหาชาติพันธมิตรมาช่วยเสริมสร้ างความมั่นคงของชาติ โดยเฉพาะประสบ ความสาเร็จในการสร้ างสัมพันธไมตรีกบกษัตริย์รัสเซียซาร์นิโคลัสที่ ๒แห่ง ั ราชวงศ์โรมานอฟ และได้ ส่ง เจ้ าฟ้ าจักรพงษ์ภวนาถไปศึกษาที่ประเทศรัสเซีย ู ด้ วย ได้ ทรงเจรจาและปรับความเข้ าใจกับฝรั่งเศส ที่กาลังคุกคามไทยอย่างมาก ทอดพระเนตรความเจริญของยุโรป จะได้ นามาเป็ นแบบอย่างในการปรับปรุง บ้ านเมือง 1
  • 27. รัฐบาลอังกฤษทาบทามรัฐบาลไทยเจรจาเป็ นการลับ ในการประกันสิทธิ และผลประโยชน์ร่วมกันของแต่ละฝ่ ายพร้ อมเสนอร่างอนุสัญญาลับให้ เสนาบดีว่าการต่างประเทศของไทยพิจารณา ท่าทีรัฐบาลไทยเป็ นไป ในเชิงบวก.... ท่าทีคุกคามที่รนแรงมากขึ้นของอังกฤษในสิงคโปร์ ทาให้ ไทยต้ องคา ุ ้ ประกันสิทธิของตนจากรัฐบาลอังกฤษด้ วยเช่นกัน.....การเจรจาล่าช้ า เพราะ โต้ แย้ งข้ อความในร่างอนุสญญาตอบไปมา เป็ นช่วงเจรจาเกี่ยวกับแผนการ ั เสด็จ เป็ นสาเหตุท่าที "เฉยเมย" ที่องกฤษมีต่อแผนการเสด็จ ทาให้ ั ์ ่ ทรงเห็นด้ วยกับแผนการนายเวอร์นียทีเสนอไว้ให้เสด็จประพาสรัสเซีย ก่อนอังกฤษ (38)
  • 28. ร.๕ ทรงเสด็จประพาสอินเดีย ๓ เดือน ดูวิธการจัดระเบียบบ้ านเมืองของอังกฤษกับเมืองขึ้น ี อินเดียและสิงคโปร์ ดูการพัฒนาเครื่องแต่งการชุดราชปะแตน เลิกทาสเพื่อให้ มหาอานาจเคารพเรา ตัดคูคลองสร้ างเศรษฐกิจสังคมเกษตร กฎหมายให้ ทุกคนมีความเสมอภาค 1
  • 29. วิสยทัศน์ในการจัดการแนวทางสันติ ั การวางแผนเสด็จประพาสยุโรป สองครั้ง กาหนดเส้ นทางและจุดพักแต่ละประเทศ กาหนดประเทศก่อนหลังโดยเอางานการเมืองเป็ นที่ต้ัง การพบปะกับบุคคลสาคัญระหว่างเดินทาง เดินทางไปดูการปกครองที่อนเดีย ิ 1
  • 30. แนวทางสร้ างความสันติสข ุ Relationship : มาจากการเยี่ยมเยียนสร้ างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน Peace Talk : มากจากการพบปะพูดคุยสู่ความตกลง Peace Net : การสร้ างเครือข่ายเพื่อสร้ างสังคมสู่สนติสข ั ุ Peace Communication : การสื่อสารเพื่อสันติท่ให้ เห็นภาพลักษณ์ท่ดี ี ี Trust : สร้ างให้ เกิดความไว้ วางใจและมีความเชื่อมั่น Fear : ความหวาดกลัว เรามักกลัวสิ่งที่เราไม่ร้ ู คาดเดาไม่ได้ ยังไม่เคย เห็น และยังไม่เคยเป็ น Expectation : ความคาดหวัง 1
  • 31. บทบาทของพระมหากษัตริยกรุงสยาม ์ พระมหากษัตริย์ผ้ ูปกครองประเทศ กิจการต่างประเทศ – กรมสนธิสญญา ั – กรมวิเทศน์สมพันธ์ ั – กรมยุโรป และกรมเอเชีย – ฯลฯ กิจการมหาดไทย 1
  • 32. การเสด็จประพาสยุโรปครังที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๕๐ ้ เพื่อรักษาพระอาการประชวรเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและพระวักกะ (ไต) เพื่อเจรจาราชการบ้ านเมืองกับชาติตะวันตกต่าง ๆ – เรื่ องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต เรื่ องคนในบังคับฝรั่งเศส อานาจการปกครองเหนือดินแดน เมืองหลวงพระบางบนฝั่ งขวาแม่น ้าโขงและเขตปลอดทหาร (ไทย) ระยะ ๒๕ กม.บนฝั่ ง ขวาของแม่น ้าโขงตลอดแนวชายแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับอาณานิคมอินโดจีน ของฝรั่งเศส – ปั ญหาภาษี ร้อยชัก ๓ เป็ นร้ อยชัก ๑๐ และโครงการสร้ างทางรถไฟสายใต้ ทรงให้ สตยาบันในสนธิสญญาสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. ๒๔๔๙ เจรจากับ ั ั ปลัดกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษส่งผลให้ เกิดสนธิสญญาแลกเปลี่ยน ๔ รัฐมลายู ั ในเวลาต่อมา การเสด็จพระราชดาเนินทรงรับปริญญาด็อกเตอร์ ออฟลอว์(Doctor of Law) ณ บ้ าน ของอธิการบดีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ 32
  • 33. ลายพระราชหัตถเลขาที่ต่อมาพิมพ์ เป็ นหนังสือ "ไกลบ้ าน" ทรงมีลายพระราชหัตถเลขาพระราชทานแก่เจ้ าฟ้ านิภานภดล วิมลประภาวดีเล่าเรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่สภาพดินฟ้ า อากาศ สภาพบ้ านเมือง การรักษาพระองค์ สังคมและวัฒนธรรมที่มความหลากหลายของคน ี ในประเทศที่เสด็จพระราชดาเนิน พระราชดาริ และพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ท่ทรงมีต่อเหตุการณ์ ี ต่าง ๆ ลายพระราชหัตถเลขาต่อมาพิมพ์เป็ นหนังสือ "ไกลบ้ าน" 1
  • 34. เส้ นทางการเดินทางเสด็จประพาสยุโรปโดยเรือพระที่นงมหาจักรี (ลาที่ ๑) เสด็จจาก ั่ ท่าราชวรดิษฐ์ ในวันพุธ ที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๐ เพื่อทรงเยือนประเทศ อิตาลี สวิสเซอร์ แลนด์ ออสเตรี ย ฮังการี โปแลนด์ รัสเซีย สวีเดน เดนมาร์ ก อังกฤษ เยอรมนี ฮอลแลนด์ เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส เป็ นต้ น ซึงแต่ละประเทศ ได้ จดการ ่ ั รับเสด็จอย่างยิ่งใหญ่ หนังสือพิมพ์ชนนาในแต่ละประเทศต่างเสนอข่าว และพระบรม ั้ สาทิสลักษณ์อย่างกว้ างขวาง และ แพร่หลาย 1
  • 35. การใช้ กปตันและลูกเรื อจากอังกฤษ ั * Captain R.S.D. Cumming R.N. นายทหารเรื ออังกฤษที่รัฐบาลสยามขอยืมตัวมาเป็ นผู้ บังคับการเรื อพระที่น่ ัง มหาจักรี ในการเสด็จครั งนี ้ ้ 1
  • 36. วันนี้ไม่ใคร่สบาย ตื่นขึ้นทาโคลงให้ สวัสดิ์สองบท สาหรับเขียนในสมุดวันเกิด ของลูกโตตามที่เขาขอให้ ฉันเขียน สงคราม บ ใช่ส้ น สัจธรรม์ เทียวเฮย ิ ฉบับที่ ๑๗ เจนีวา ผูเ้ พือชาติภมิกน ชอบป้ อง ่ ู ั วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๔๔๐ อนึงผูดจกรกัน เป็ นขวาก รัวแฮ ่ ุ้ ้ ชนกาจกวนอ่อนข้อง ขัดกังควรการ ้ รอญราญโดยเหตุเกื้อ แก่ตน มุ่งประโยชน์เพือผล ต่าซา ่ ้ สงครามทีเ่ กิดกล คากล่าว นี้นา ควรติวารบร้า ชัวร้ายอาธรรม์ ่ ่ 1
  • 37. Peace Talk www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
  • 38. Peace Communication การเดินทางครังนี ้ได้ ถกตีพิมพ์ใน ้ ู หนังสือพิมพ์ข่าวสารของประเทศ ต่างๆทาให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ พระมหากษัตริ ย์ไทยทรงมีตอกษัตริ ย์ ่ แต่ละประเทศ
  • 39. พระบรมฉายาลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า เจ้ าอยู่หว ขณะทรงฉายคู่กบพระเจ้ าซาร์ นิโคลัสที่ ๒ เป็ นหนึ่งใน ั ั ภาพข่ าวที่ฮือฮาและมีนัยยะสาคัญทางการทูตเป็ นอย่ างยิ่ง ...... 1
  • 41. ความหวังของไทยที่หวังว่าจะช่วย ยับยังฝรั่งเศสในการรุกรานไทย ้ แต่องกฤษสงวนท่าที และ ปกปอง ั ้ ผลประโยชน์ของตน พ.ศ.๒๔๓๙ มีการลงนามสนธิสญญาระหว่าง ั อังกฤษและฝรั่งเศส ประกันความ เป็ นกลางของดินแดนตอนกลางคือ ลุมแม่น ้าเจ้ าพระยาของสยาม(1896 Anglo - French Agreement) ่ ที่มีสวนช่วยให้ ดินแดนของสยามมีอธิปไตยอยูได้ เป็ นรูปขวานทอง ่ ่ หรื อ "สุวรรณภูมิ" อย่างที่เราเห็นในปั จจุบน ั 41
  • 42. สถานการณ์ทีรายแรงทีสุดในยุครัตนโกสินทร์ ถึงขั้น "เสียบ้าน เสียเมือง ่้ ่ “ ด้วยพระราชดาริพระองค์ มองว่าเป็ นโอกาสดีแก่บ้านเมืองที่จะออกไป ประเทศยุโรปเอง และผลจากการเสด็จประพาสยุโรปในครั้งนี้เป็ นผลดีแก่พระ ราชอาณาจักรสยามเป็ นอย่างยิ่ง ที่ทรงสามารถนาสยามนาวาผ่านพ้ น สถานการณ์ท่นับว่าร้ ายแรงที่สดได้ ี ุ
  • 43. ที่ ๕๖ เมืองปารี ส ๑๑ กันยายน ร.ศ.๑๑๖ “ ถึงแม่เล็ก ด้ วยตั้งแต่ฉันออกมาครั้งนี้ยงไม่ได้รับความคับแค้นเดือดร้อน ั เหมือนอย่างครังนี้ เลย การที่แม่เล็กรู้สกหนักในเรื่องที่ฉันจะมาเมือง ้ ึ ฝรั่งเศสประการใด ขอให้เข้าใจว่าฉันหนักกว่าสิบเท่าอยู่แล้ วเพราะเป็ นผู้ ที่มาเองแต่ครั้นเมื่อมาถึงปารีสเข้ าเขาก็รับรองอย่างแข็งแรง เปรสิเดนต์กข้ น็ึ รถมาส่งถึงที่อยู่ ซึงเป็ นการทีเขาไม่ได้ทาให้แก่ผใด นอกจากเอมเปอเรอ ่ ่ ู้ รัสเซีย การที่เขาทาเช่นนี้ผ้ ูซ่ึงมีสญญาไม่วิปลาสคงจะเข้ าใจได้ ว่า เขาไม่ได้ ั ทาด้ วยเกรงกลัวอานาจเราอย่างใด ทาด้ วยเห็นแก่พระบารมีเอมเปอเรอ แล ด้ วยกาลังตื่นรู้ขนบธรรมเนียมเจ้ านาย เพราะได้เคยไปเห็นการรับรอง ่ ่ ่ ้ ทีรัสเซียมา การทีทาอะไรก็ถ่ายแบบทีนันมาทังสิ้ น ้
  • 44. บทสนทนา Peace Talk . . การสนทนาทั้งมาตามทาง แลที่เข้ าไปนั่งปิ ดประตูอยู่ด้วยกัน สองคน ก็เป็ นสุนทรกถาแลเรื่องไปรัสเซีย ข้ อที่พูดราชการนั้น แสดงความยินดีท่ฉันมาจะได้ มีช่องปรึกษาหารือกันระงับการซึ่ง ี พวกฝรั่งเศสซึ่งอยู่ฝ่ายตะวันออก แกล้ งกล่าวว่าเราไม่อยากเป็ น ไมตรีกบฝรั่งเศส จะขอให้ มีเวลาปรึกษาหารือกัน ฉันก็รับเขา ั ว่าขอให้ เข้ าใจว่าเมืองฝรั่งเศสไม่เหมือนเมืองอื่น ต้ องปกครอง ตามใจคน จึงเป็ นการยาก แต่รอดตัวที่เขาเป็ นคนดีมีคนชอบ มาก 44
  • 45. บทสนทนา Peace Talk ฉันก็ว่าฉันดีใจที่ได้ มาเปิ ดความจริงซึ่งมีอยู่ในอกให้ เห็นว่าเรา อยาก เป็ นไมตรีกบฝรั่งเศสเพียงใด ข้ อความอันนี้ฉันก็ได้ เปิ ดไว้ ั กับเอมเปอเรอรัสเซียเสร็จแล้ ว เขาก็รับว่าเอมเปอเรอได้ รับสั่งกับ เขา ฉันว่าฝรั่งเศสมีใจรักแลเชื่อถือเอมเปอเรอๆ เป็ นพยานฉันใน ข้ อนี้ . . . การที่แล้ วไปนี้เป็ นแต่เริ่มต้ น ยังมีเรื่องที่จะได้ ปรึกษากันมีอกต่อไป ี 45
  • 46. ข้ อตกลง The Entente - cordiale 1904 (Anglo-French Entente 1904) วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๗ อังกฤษ และฝรั่ งเศสได้ ลงนาม ใน ได้ ตกลงจัดการขยายอาณานิคมอย่างสันติแทนการแย่งชิงและขัดแย้ งกัน ใน ๓ พื ้นที่ คืออียิปต์ และมอรอคโค นิวฟาวนด์แลนด์ และบางส่วนของอาฟ ริกากลาง และอาฟริกาตะวันตก และพืนที่ประเทศไทย มาดากาสการ์ และ ้ หมู่เกาะวานนูอาตู สาหรั บประเทศไทย ฝรั่ งเศสจะมีอทธิพลในพื้นทีด้านตะวันออกของแม่ น้า ิ ่ เจ้ าพระยา อังกฤษจะมีอทธิพลในพื้นทีด้านตะวันตกของแม่ น้าเจ้ าพระยา ิ ่ ฝรั่ งเศสและอังกฤษตกลงร่ วมกันว่ าจะไม่ ผนวกสยามเป็ นเมืองขึนแต่ จะ ้ เพียงแค่ มีอทธิพลในดินแดนนีเ้ ท่ านัน นับว่ าเป็ นความร่ วมมือกัน ิ ้ ครอบครองดินแดนสยามดังเป็ นอาณานิคม และแบ่ งสรรประโยชน์ กัน 46
  • 47. ความสัมพันธ์กบประเทศเพื่อนบ้ านที่อยู่ใกล้ เคียง ั ในสมัยกรุงศรี อยุธยา กับขอม มีความสัมพันธ์มาเป็ นเวลานาน ซึงมีทงทาสงครามและเป็ นมิตรไมตรี ่ ั้ ต่อกัน สมัยเจ้ าสามพระยาทางกรุงศรี อยุธยา ทาสงครามชนะเหนือเขมรอย่างเด็ดขาด ก่อนหน้ านี ้เคยขยายอานาจไปยังเขมร หลายครังแต่ไม่สามารถยึดเขมรได้ ้ กรุงศรี อยุธยามีชยชนะเหนือเขมรได้ กวาดต้ อนคนและทรัพย์สินจาก ั นครธรมเมืองหลวงของเขมรเป็ นจานวนมาก 1
  • 48. การช่วยเหลือเขมร เขมรมีปัญหาภายในเมื่อใดผู้นาจะเข้ ามาพึงพระบรมโพธิสมภารจะ ่ ได้ รับการช่วยเหลืออย่างดี แต่เมื่อไทยเกิดศึกสงครามเขมรจะยกทัพ มาตีเมืองชายแดนที่ติดกับเขมรและเมืองใกล้ เคียงบ่อยครัง(เช่นครัง ้ ้ อยุธยาเสียกรุงแก่พม่าในพ.ศ.๒๑๑๒ เขมรก็เข้ ามาสร้ างความไม่ พอใจให้ กบอยุธยามาก เมื่อเสร็จศึกกับพม่าจึงยกทัพไปตีเขมรใน ั พ.ศ.๒๑๓๖ และสามารถยึดเมืองละแวกได้ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรสวรรคตเขมรแข็งเมืองอีกและขอความ ช่วยเหลือจากญวนเพื่อคานอานาจจากอยุธยา สรุปเมื อใดไทยอ่อนแอมี ความขัดแย้งกันภายใน เขมรจะแข็งกร้าว ่ และขอความช่วยเหลือจากนานาประเทศ 1
  • 49. ศ.ดร.เบเนดิกต์ โอกอร์ แมน แอนเดอร์ สัน พูดถึงประเทศอาเซียน "ชะตากรรม "อาเซียน" จากอคติที่แอบแฝงสูความขัดแย้ งที่ไม่ร้ ูจบอาเซียนน่าจะหัน ่ มามองความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบมนุษย์ สิ่งนี ้คือ "สุคติ" ของอาเซียน ต้ องใช้ คา ั ว่า "เปลี่ยน" เหมือนโอบามา เพราะถ้ าไม่เปลี่ยนอาเซียนก็เหมือนลูกโป่ งสวรรค์ที่ลอย อยู่สวยงามแต่ทาอะไรไม่ได้ “ อาเซียนมีอยูเ่ พื่อให้ เราอุนใจ แต่ผลความสาเร็จอย่างจริงจังยังไม่เกิดขึ ้นเพราะเน้ น ่ การร่วมมือกันพัฒนาทางวัตถุมากกว่าการเน้ นความร่วมมือทางการพัฒนา ส่งเสริมเรื่ องของมนุษย์กบมนุษย์ จะต้ องเปลี่ยนวิธีคิด ถ้ าคนยังไม่เข้ าใจซึงกันและ ั ่ กัน ไม่เห็นใจกัน เศรษฐกิจจะดีได้ อย่างไร มนุษย์คือทุนที่สาคัญที่สดในการพัฒนา ุ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดสัมมนาเชิงวิชาการอุษาคเนย์ครังที่ 6 ึ ้ หัวข้ อ "อคติทแอบแฝง สูความขัดแย้ งทีไม่ร้ ูจบ" ที่หอประชุมใหญ่ มธ. ท่าพระจันทร์ ี่ ่ ่ 1
  • 50. ร.๕ ทรงเสด็จประพาสอินเดีย ๓ เดือน ดูวิธการจัดระเบียบบ้ านเมืองของอังกฤษกับเมืองขึ้น ี อินเดียและสิงคโปร์ ดูการพัฒนาเครื่องแต่งการชุดราชปะแตน เลิกทาสเพื่อให้ มหาอานาจเคารพเรา ตัดคูคลองสร้ างเศรษฐกิจสังคมเกษตร กฎหมายให้ ทุกคนมีความเสมอภาค www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgovernment.org 1
  • 51. ต้าลี่ คุนหมิง ปั ญหาเส้ นเขตแดน มูเซ ลาเซียว เชียงรุง ่ ต้าลัต้่วาลัว่ โมฮัน เหอโข่ว ลาวไค ปั ญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มัณฑะเลย์ ฮานอย เชียงตุง ท่าขี้เหล็ก บ่อเต็น หลวงน้ าทา แม่สาย ห้วยทราย ง หลวงพระบาง ไฮฟอง สร้ างเส้ นเขตแดนสายสัมพันธ์ ปากแบ่ เชียงราย เชียห้วยโก๋น งของ เชียงใหม่ เวียงจันทน์ นครพนม วินห์ ทะเลจีนใต้ สร้ างแม่น ้าสายสัมพันธ์ ย่างกุง ้ แม่สอด มุกดาหาร สะหวันนะเขต ดองฮา เมาะละแหม่ง ดานัง อุบลราชธานี ปากเซ อัตตะปื อ กรุงเทพฯ อรัญประเทศ Poipet เสียมเรียบ สตึงเตร็ง สร้ างความสัมพันธ์ทางศาสนา ตราด พนมเปญ ทะเลอันดามัน เกาะกง โฮจิมินห์ อ่าวไทย สีหนุ วลล์ ิ วังเตา สร้ างความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ภูเก็ต สร้ างความสัมพันธ์ทางเชื ้อชาติเผ่าพันธ์ สงขลา มาเลเซีย