SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ปัญหาการติดโทรศัพท์มือถือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวกมลภัทร คาปัญญา เลขที่ 45 ชั้น ม.6 ห้อง 4
นางสาวปฐพร ประทุมทา เลขที่ 46 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1. น.ส. กมลภัทร คาปัญญา เลขที่ 45
2. น.ส. ปฐพร ประทุมทา เลขที่ 46
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาการติดโทรศัพท์มือถือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
NOMOPHOBIA
ประเภทโครงงาน เชิงวิชาการ
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.กมลภัทร คาปัญญา, น.ส. ปฐพร ประทุมทา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เทอม
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในยุคปัจจุบันโทรศัพท์มือถือกลายเป็นสิ่งที่จาเป็นและถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย จากที่
สังเกตจากเพื่อนในห้องเรียนมีเพื่อนหลายคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือเกือบจะตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นเวลาเรียน ทาน
อาหาร อ่านหนังสือหรือเวลาทางาน จะมีการเล่นโทรศัพท์มือถืออยู่ตลอดจนแทบจะไม่สนทนากับคนรอบข้าง
และจดจ่อกับโทรศัพท์มือถือในบางครั้งไม่มีข้อความแจ้งเตือนอะไรก็จะเปิดใช้แอพพลิเคชั่นอื่นจนทาสิ่งที่กาลังทา
อยู่ไม่สาเร็จ และทาให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆเช่น นิ้วล็อค อ้วน ปวดตา ตาพร่ามัว ปวดหัว ปวดคอ ปวดบ่า
และปวดหลัง โดยส่วนตัวผู้จัดทามีความรู้สึกว่าตนเองมีอาการติดโทรศัพท์มือถือเช่นกัน ดังนั้นผู้จัดทาจึงอยาก
ศึกษาและแก้ไข้ปัญหาอาการติดโทรศัพท์มือถือเพื่อที่จะทาให้มีสมาธิในการทากิจกรรมต่างๆ ลดปัญหาสุขภาพ
และมีสมาธิในการอ่านหนังสือมากขึ้น เพื่อที่จะสอบเข้าในระดับอุดมศึกษา การแก้ไขปัญหาที่ผู้จัดทาคิดว่าจะ
นามาแก้ไขคือ การออกกาลังกาย เพื่อทาให้กล้ามเนื้อได้มีการขยับ ได้พบปะสังคมภายนอก
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
 วิธีแก้ปัญหาการติดโทรศัพท์
 แก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเล่นโทรศัพท์
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สธ.)และโฆษกสธ. กล่าวว่า ในยุคที่โทรศัพท์
สมาร์ทโฟน กลายเป็นสิ่งจาเป็นในการติดต่อสื่อสาร แต่บางกลุ่มมีพฤติกรรมติดอยู่กับการเล่นโทรศัพท์มือถือ
ตลอดเวลา เช่น พกติดตัว ต้องวางไว้ใกล้ตัวเสมอ รู้สึกกังวลเมื่อมือถือไม่ได้อยู่กับตัวหรือแบตเตอรี่หมด คอยเช็ก
ข้อความจากโซเชียลมีเดีย หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาดูบ่อยแม้ไม่มีเรื่องด่วน ตื่นนอนจะเช็กโทรศัพท์ก่อนและยังคงเล่น
โทรศัพท์ก่อนนอน ติดเกม หรือในแต่ละวันใช้เวลาพูดคุยกับผู้คนผ่านโทรศัพท์ในโลกออนไลน์มากกว่าพูดคุยกับ
คนรอบข้าง ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ จะถูกวินิจฉัยว่าเป็นอาการติดโทรศัพท์มือถือ (Nomophobia) และบางราย
อาจมีอาการเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้ หากไม่มีโทรศัพท์มือถืออยู่กับตัว โทรศัพท์เเบตหมด หรือว่าอยู่ในที่
ไร้สัญญาณ
อาการติดโทรศัพท์มือถือจะส่งผลต่อการปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างและสังคม โดยเฉพาะด้านสุขภาพร่างกาย เช่น
1.นิ้วล็อก เกิดจากการใช้นิ้วกด จิ้ม สไลด์ หน้าจอเป็นระยะเวลานาน
2.อาการทางสายตา เช่น ตาล้า ตาพร่า ตาแห้ง เกิดจากเพ่งสายตาจ้องหน้าจอเล็กๆ ที่มีแสงจ้านานเกินไป อาจ
ส่งผลให้วุ้นในตาเสื่อม จอประสาทตาเสื่อม
3.ปวดเมื่อยคอ บ่า ไหล่ จากการก้มหน้า ค้อมตัวลง ส่งผล เลือดไหลเวียนไม่สะดวก หากเล่นนานๆ อาจมีอาการ
ปวดศีรษะตามมา รวมไปถึงหมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพก่อนวัยอันควร
4.โรคอ้วน แม้พฤติกรรมจะไม่ส่งผลโดยตรง แต่การนั่งทั้งวันโดยไม่ลุกเดินไปไหน เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรค
อ้วนและโรคเรื่อรังอื่นๆได้
แนวทางการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนด้วยตนเอง มีหลายวิธี เช่น กาหนดช่วงเวลาในการใช้
โซเชียลมีเดียในแต่ละวัน,กาหนดสถานการณ์ที่จะไม่เล่นสมาร์ทโฟน เช่น ขณะเดิน กิน ก่อนนอน ตื่นนอนใหม่ๆ
ขับรถ อยู่บนรถโดยสาร เรียน ทางาน หรือแม้แต่อยู่ในห้องน้า ควรหากิจกรรม งานอดิเรก เล่นกีฬากิจกรรมผ่อน
คลายในครอบครัวทดแทนเวลาในการใช้อุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
 ปรึกษาเลือกหัวข้อ
 นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
 ศึกษารวบรวมข้อมูล
 จัดทารายงาน
 นาเสนอครู
 ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 อินเตอร์เน็ต
 คอมพิวเตอร์
 โทรศัพท์
งบประมาณ
 100
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
มีสมาธิในการเรียน การอ่านหนังสือ ใช้โทรศัพท์มือถือหน่อยลง มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
เทคโนโลยีสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article
 https://health.kapook.com/view87257.html
 http://www.bangkokhealth.com/health/article
 https://www.thaipost.net/main/detail/6216

More Related Content

What's hot

2558 project 2
2558 project 22558 project 2
2558 project 2
namfah02
 

What's hot (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Faicom
FaicomFaicom
Faicom
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
2558 project 2
2558 project 22558 project 2
2558 project 2
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
Com
ComCom
Com
 
Comm
CommComm
Comm
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ 604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ
 
Lin
LinLin
Lin
 
Chel
ChelChel
Chel
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
Work
WorkWork
Work
 
2562 final-project 45
2562 final-project 452562 final-project 45
2562 final-project 45
 
Jj
JjJj
Jj
 

Similar to 5

2558
25582558

Similar to 5 (20)

2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Project
ProjectProject
Project
 
Project
ProjectProject
Project
 
Work
WorkWork
Work
 
Hkhufvhfu
HkhufvhfuHkhufvhfu
Hkhufvhfu
 
88
8888
88
 
Hazepollution
HazepollutionHazepollution
Hazepollution
 
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทยมหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
 
2557 project
2557 project2557 project
2557 project
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Trans fatty acids
Trans fatty acidsTrans fatty acids
Trans fatty acids
 
เรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆเรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆ
 
Faiyer
FaiyerFaiyer
Faiyer
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
พระกีสาโคตมีเถรี
พระกีสาโคตมีเถรีพระกีสาโคตมีเถรี
พระกีสาโคตมีเถรี
 
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีโครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558
25582558
2558
 

More from ssusercdc402 (10)

Final project 2561
Final project 2561Final project 2561
Final project 2561
 
2561 project (2)
2561 project  (2)2561 project  (2)
2561 project (2)
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
4
44
4
 
2 3
2 32 3
2 3
 
2 3
2 32 3
2 3
 
2 3-4
2 3-42 3-4
2 3-4
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 

5

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ปัญหาการติดโทรศัพท์มือถือ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกมลภัทร คาปัญญา เลขที่ 45 ชั้น ม.6 ห้อง 4 นางสาวปฐพร ประทุมทา เลขที่ 46 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1. น.ส. กมลภัทร คาปัญญา เลขที่ 45 2. น.ส. ปฐพร ประทุมทา เลขที่ 46 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาการติดโทรศัพท์มือถือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) NOMOPHOBIA ประเภทโครงงาน เชิงวิชาการ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.กมลภัทร คาปัญญา, น.ส. ปฐพร ประทุมทา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เทอม ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในยุคปัจจุบันโทรศัพท์มือถือกลายเป็นสิ่งที่จาเป็นและถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย จากที่ สังเกตจากเพื่อนในห้องเรียนมีเพื่อนหลายคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือเกือบจะตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นเวลาเรียน ทาน อาหาร อ่านหนังสือหรือเวลาทางาน จะมีการเล่นโทรศัพท์มือถืออยู่ตลอดจนแทบจะไม่สนทนากับคนรอบข้าง และจดจ่อกับโทรศัพท์มือถือในบางครั้งไม่มีข้อความแจ้งเตือนอะไรก็จะเปิดใช้แอพพลิเคชั่นอื่นจนทาสิ่งที่กาลังทา อยู่ไม่สาเร็จ และทาให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆเช่น นิ้วล็อค อ้วน ปวดตา ตาพร่ามัว ปวดหัว ปวดคอ ปวดบ่า และปวดหลัง โดยส่วนตัวผู้จัดทามีความรู้สึกว่าตนเองมีอาการติดโทรศัพท์มือถือเช่นกัน ดังนั้นผู้จัดทาจึงอยาก ศึกษาและแก้ไข้ปัญหาอาการติดโทรศัพท์มือถือเพื่อที่จะทาให้มีสมาธิในการทากิจกรรมต่างๆ ลดปัญหาสุขภาพ และมีสมาธิในการอ่านหนังสือมากขึ้น เพื่อที่จะสอบเข้าในระดับอุดมศึกษา การแก้ไขปัญหาที่ผู้จัดทาคิดว่าจะ นามาแก้ไขคือ การออกกาลังกาย เพื่อทาให้กล้ามเนื้อได้มีการขยับ ได้พบปะสังคมภายนอก วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)  วิธีแก้ปัญหาการติดโทรศัพท์  แก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเล่นโทรศัพท์
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สธ.)และโฆษกสธ. กล่าวว่า ในยุคที่โทรศัพท์ สมาร์ทโฟน กลายเป็นสิ่งจาเป็นในการติดต่อสื่อสาร แต่บางกลุ่มมีพฤติกรรมติดอยู่กับการเล่นโทรศัพท์มือถือ ตลอดเวลา เช่น พกติดตัว ต้องวางไว้ใกล้ตัวเสมอ รู้สึกกังวลเมื่อมือถือไม่ได้อยู่กับตัวหรือแบตเตอรี่หมด คอยเช็ก ข้อความจากโซเชียลมีเดีย หยิบโทรศัพท์ขึ้นมาดูบ่อยแม้ไม่มีเรื่องด่วน ตื่นนอนจะเช็กโทรศัพท์ก่อนและยังคงเล่น โทรศัพท์ก่อนนอน ติดเกม หรือในแต่ละวันใช้เวลาพูดคุยกับผู้คนผ่านโทรศัพท์ในโลกออนไลน์มากกว่าพูดคุยกับ คนรอบข้าง ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ จะถูกวินิจฉัยว่าเป็นอาการติดโทรศัพท์มือถือ (Nomophobia) และบางราย อาจมีอาการเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้ หากไม่มีโทรศัพท์มือถืออยู่กับตัว โทรศัพท์เเบตหมด หรือว่าอยู่ในที่ ไร้สัญญาณ อาการติดโทรศัพท์มือถือจะส่งผลต่อการปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างและสังคม โดยเฉพาะด้านสุขภาพร่างกาย เช่น 1.นิ้วล็อก เกิดจากการใช้นิ้วกด จิ้ม สไลด์ หน้าจอเป็นระยะเวลานาน 2.อาการทางสายตา เช่น ตาล้า ตาพร่า ตาแห้ง เกิดจากเพ่งสายตาจ้องหน้าจอเล็กๆ ที่มีแสงจ้านานเกินไป อาจ ส่งผลให้วุ้นในตาเสื่อม จอประสาทตาเสื่อม 3.ปวดเมื่อยคอ บ่า ไหล่ จากการก้มหน้า ค้อมตัวลง ส่งผล เลือดไหลเวียนไม่สะดวก หากเล่นนานๆ อาจมีอาการ ปวดศีรษะตามมา รวมไปถึงหมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพก่อนวัยอันควร 4.โรคอ้วน แม้พฤติกรรมจะไม่ส่งผลโดยตรง แต่การนั่งทั้งวันโดยไม่ลุกเดินไปไหน เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรค อ้วนและโรคเรื่อรังอื่นๆได้ แนวทางการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนด้วยตนเอง มีหลายวิธี เช่น กาหนดช่วงเวลาในการใช้ โซเชียลมีเดียในแต่ละวัน,กาหนดสถานการณ์ที่จะไม่เล่นสมาร์ทโฟน เช่น ขณะเดิน กิน ก่อนนอน ตื่นนอนใหม่ๆ ขับรถ อยู่บนรถโดยสาร เรียน ทางาน หรือแม้แต่อยู่ในห้องน้า ควรหากิจกรรม งานอดิเรก เล่นกีฬากิจกรรมผ่อน คลายในครอบครัวทดแทนเวลาในการใช้อุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน  ปรึกษาเลือกหัวข้อ  นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน  ศึกษารวบรวมข้อมูล  จัดทารายงาน  นาเสนอครู  ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้  อินเตอร์เน็ต  คอมพิวเตอร์  โทรศัพท์ งบประมาณ  100
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) มีสมาธิในการเรียน การอ่านหนังสือ ใช้โทรศัพท์มือถือหน่อยลง มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article  https://health.kapook.com/view87257.html  http://www.bangkokhealth.com/health/article  https://www.thaipost.net/main/detail/6216