SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 
2 ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิต 
วิชาจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 
มหาวิทยาลยัราชภฏัอุดรธานี
ความหมายของชีวิต 
 ชีวิตคือการเดินทาง 
 ชีวิตคือการต่อสู้ 
 ชีวิตคือการงาน 
 ชีวิตคือการศึกษา
ชีวิตในทัศนะของศาสนา 
นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของคา ว่า 
“ชีวิต” ดังนี้ 
ชีวิต คือ ตัวตนหรือบุคคล 
ชีวิต คือความสดของโปรโตปลาสซึม 
ในเซลล์ 
ชีวิต คือ ตัวธรรมชาติและมีกฎ 
ธรรมชาติควบคุม จึงเป็นไปตามกฎ 
ธรรมชาติ
ความหมายของ “ชีวิต” 
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ฉบับที่ 269 ได้ให้ 
ความหมายของคา ว่า “ชีวิต” ไวว้่า ชีวิตคือความเป็นอยู่
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ 
สิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นด้วยเซลล์ 
สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยกลุ่มสารที่เรียกว่า โปรโตปลาสซึม 
สิ่งมีชีวิตต้องการหายใจ 
สิ่งมีชีวิตต้องการการเจริญเติบโต 
สิ่งมีชีวิตต้องการหน่วยชีวิตใหม่ด้วยการสืบพันธ์ 
สิ่งมีชีวิตมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในร่างกาย เพื่อสร้าง 
อาหารและทา ลายอาหาร เพื่อเอาพลังงานมาใชใ้นการเคลื่อนไหว 
สิ่งมีชีวิตต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
การกา เนิดของชีวิตตามทัศนะของวิทยาศาสตร์ 
วิทยาศาสตร์ได้กล่าวถึงการกา เนิดชีวิตใหม่เรียกว่า การสืบพันธุ์ ซึ่งมี 2 
แบบ คือ 
1. การสืบพันธุ์แบบไม่ใชเ้พศ เช่น การปักกิ่งชา ของต้นไม้ การแตกหน่อ 
ของกล้วย การแบ่งเซลล์สืบพันธ์ของแบคทีเรีย 
2. การสืบพันโดยการใชเ้พศ เช่น มนุษย์ซึ่งอาศัยพ่อแม่ให้กา เนิดชีวิต 
ชีวิต โดยฝ่ายพ่อจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เรียกว่า อสุจิหรือสเปอร์ม 
ฝ่ายแม่สร้างเซลล์สืบพันธ์เรียกว่า ไข่ ไข่ที่ถูกผสมโดยอสุจิ เรียกว่า 
ไซโกท โดยไซโกทจะฝังตัวไวกั้บเยื่อผนังมดลูกและเจริญเติบโตเป็น 
ตัวอ่อนตามลา ดับ เมื่อครบ 9 เดือน ก็จะคลอดออกมาเป็นทารก 
และเจริญเติบโต
ขันธ์ 5 หรือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ 
รูป (Corporeality) ส่วนที่เป็นรปูธรรมทงั้หมด 
เวทนา (Feeling) ความร้สูึกสุขทุกข์ หรือเฉย ๆ 
สญัญา (Perception) ความกา หนดไว้หรือหมายรู้ 
สงัขาร (Mental Formation) การปรงุแต่งจิต 
วิญญาณ (Consciousness) การรับร้ทูางประสาท 
สัมผัสทั้ง 5 และใจ 
โดยสรปุมี ๒ อย่าง คือ 
๑. รปูธรรม ได้แก่ รปู 
๒. นามธรรม ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
กาเนิด (โยนิ) 4 อย่าง 
1.ชลาพุชะ กาเนิดจากครรภ์ 
2.อัณฑชะ กา เนิดจากไข่ 
3.สังเสทชะ กา เนิดจากเชื้อ 
4.โอปปาติกะ กาเนิดจากการ 
ผุดข้นึ
กา เนิดของมนุษย์ในทัศนะพระพุทธศาสนา 
1.สตรอียู่ในวยัมีประจา เดือน (มาตา อุตุนี โหติ) 
2. มารดาบิดาร่วมกัน (มาตาปิตโร สนฺนิปติตา โหนฺติ) 
3. มีสัตว์มาเกิด (คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฺฐิโต โหติ)
วิวฒันาการของชีวิต 
1. กลละ หยดน้า ใส ๆ 
2. อัมพุทะ ฟองน้า ล้างเนื้อ 
3. เปสิ ก้อนเนื้ออ่อนสีแดง 
4. ฆนะ ก้อนเนื้อเท่าไข่ไก่ 
5.ปัญจสาขา ปุ่มทงั้ 5
การดา รงอย่ขูองชีวิต 
กวฬิงการาหาร อาหารคือคา ข้าว 
ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ 
มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือ 
มโนสัญเจตนา 
วิญญาณาหาร อาหารคือ 
วิญญาณ
โครงสร้างร่างกายของมนุษย์ 
 1.1โครงสร้างของร่างกาย 
 ร่างกายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากส่วนที่เล็กที่สุด คือ อะตอม ซึ่งยึดเข้ากันด้วยพันธะต่างๆเป็น 
โมเลกุล และโมเลกุลจะมีการจัดตัวรวมเป็นโครงสร้างของหน่วยย่อยที่สุดที่เป็นตัวกา หนดการ 
ดา รงชีวิตอยู่เราเรียกโครงสร้างนนั้ว่า เซลล์ 
 เซลล์เหล่านี้มีทั้งที่ทา หน้าที่เหมือนกันและแตกต่างกันออกไปแต่เซลล์ของร่างกายส่วนใหญ่ 
ไม่ได้อยู่อย่างอิสระโดยกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างหน้าที่และกา เนิดคล้ายกันจะยึดติดกันซึ่ง 
พบว่าถ้าเซลล์เหล่านั้นทา หน้าที่เหมือนกันหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกันจะรวมเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า 
เนื้อเยื่อ 
 เนื้อเยื่อมี 4 ชนิดดังนี้ 
 1. เนื้อเยื่อบุผิว 
 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 
 3. เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ 
 4. เนื้อเยื่อประสาท
ความสัมพันธ์ของร่างกาย 
หากเนื้อเยื่อหลายๆเนื้อเยื่อทา งานหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกัน จะเรียก 
กลุ่มของเนื้อเยื่อว่า อวยัวะ เช่น ปอด หัวใจ สมอง ตับ ม้าม เป็นต้น 
โดยจะมีหน้าที่ของตัวมันเอง และต้องทา งานประสานสัมพันธ์ซึ่งกันและ 
กันซึ่งจะรวมเรียกระบบอวยัวะต่างๆที่ทา หน้าที่ประสานสัมพันธ์กัน 
เหล่านี้ว่าเป็นร่างกาย 
การทา งานของระบบต่างๆภายในร่างกายของคนเรานนั้จะต้องมีการ 
ประสานสัมพันธ์กันอยู่เสมอ ถ้าหากไมท่า งานประสานสัมพันธ์กันแล้ว 
ย่อมเกิดปัญหาต่อการดา รงชีวิตอยู่อย่างแน่นอน
1.2 ระบบอวยัวะของร่างกาย 
 ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยโครงสรา้งที่สลับซับซอ้นหลายระดับ ดังที่ได้กล่าวแล้วใน 
เบื้องต้น โดยโครงสร้างต่างๆจะมีหน้าที่ของตนเองและในขณะเดียวกันก็มีความสัมพันธ์กับ 
โครงสร้างต่างๆภายในร่างกายออกเป็นระบบอวยัวะต่างๆได้ดังนี้ 
 1 ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย(integmentary system) 
 2 ระบบกระดูก (skeletal system) 
 3 ระบบกล้ามเนื้อ ( muscular system ) 
 4 ระบบย่อยอาหาร ( degestive system) 
 5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ( urinary system ) 
 6 ระบบหายใจ ( respiratory system) 
 7 ระบบไหลเวียนโลหิต ( vasculay system ) 
 8 ระบบประสาท (nervous system ) 
 9 ระบบสบืพันธุ์ (reproductive system) 
 10 ระบบต่อมไร้ท่อ ( endocrine system)
โครงสร้างร่างกายของมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์
ความต้องการของชีวิต 
 ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs) 
 ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) 
 ความต้องการทางด้านสังคม (The belongingness needs) 
 ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (The esteem needs) 
 ความต้องการความสา เร็จในชีวิต (Self actualization)
ภาคของจิต (REGIONS OF MIND) 
จิตรู้สา นึก (Conscious mind) 
จิตกึ่งรู้สา นึก (Preconscious mind) 
จิตไร้สา นึก (Unconscious mind)
โครงสร้างของจิต (STRUCTURE OF MIND) 
 Id สัญชาติญาณและแรงขับที่เกิดจากความต้องการทางชีววิทยา 
 Ego จิตใจที่ได้รับการฝึกฝนจากการเรียนรู้ทั่วไป 
 Super-Ego จิตใจที่ได้มาจากการเรียนรู้เกี่ยวกับวฒันธรรม ศีลธรรม และศาสนา
ลักษณะของกฎธรรมชาติ 
กฎธรรมชาติเป็นกฎที่มีอยู่ก่อนแล้วตามธรรมชาติ มีธรรมชาตมิี 
ลักษณะดังนี้คือ 
1.สิ่งนั้นตั้งอยู่แล้ว หมายถึงสิ่งที่มีอยู่ก่อนสิ่งทั้งปวง 
2.เป็นกฎควบคุมสังขารทั้งให้เปลี่ยนแปลง เป็นไป ดา รงอยู่และ 
สลายไปตามธรรมชาติ 
3. เป็นสิ่งที่หลีกไม่พ้น เช่นกฎแห่งกรรม 
4. รูปธรรม นามธรรม เกิดข้นึจากกฎธรรมชาติอันเดียวกัน เช่น 
ไตรลักษณ์เป็นต้น
ลักษณะสามัญของชีวิต (ไตรลักษณ์) 
อนิจจงัสังขารทงั้ปวง 
ไม่เที่ยง 
ทุกขงัสังขารทงั้ปวง 
เป็นทุกข์ 
อนตัตา ธรรมทงั้ปวง 
เป็นอนัตตา
ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจัง) 
มีการเกิดขึ้นแล้วดับไป 
มีการเปลี่ยนแปลง 
ตั้งอยู่ชั่วขณะ 
แย้งต่อความเที่ยง 
มีแล้วกลับไม่มี
ความเป็นทุกข์ (ทุกขัง) 
ความทุกข์ประจา ตัว 
 ทุกข์จร 
 ทุกข์เนืองนิตย์ 
 ทุกขเวทนา 
ทุกข์เพราะรุ่มรอ้น 
 ทุกข์เพราะผลกรรม 
ทุกข์กา กับกัน 
 ทุกข์จากปัญหาชีวิต 
ทุกข์เพราะอุปาทานขันธ์
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง (อนัตตา) 
เพราะไม่อย่ใูนอา นาจหรือความปรารถนา 
เพราะแย้งต่ออัตตา หรือขัดความรูสึ้ก 
ความเป็นที่ไม่มีเจา้ของ 
 ความเป็นสภาพสูญเปล่า 
 ความเป็นสภาวธรรมที่เป็นไป 
ตามเหตุปัจจัย
คุณค่าทางจริยธรรมของหลักไตรลักษณ์ 
สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง 
ไมก่ระทา อะไรตามอา นาจความอยาก 
ไม่ทา ให้ชีวิตหดหู่เหี่ยวแห้ง 
สามารถใชปั้ญญาและเหตุผลในการแก้ปัญหาชีวิต 
ชีวิตจะมีความก้าวหน้าไปในทางที่ดี 
ทา ให้ดา รงชีวิตอยู่ด้วยอิสระ 
เมื่อตนมีชีวิตที่ดีแล้วสามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ 
ชีวิตจะมีแต่ความร่มเย็นและสงบสุขอย่างแทจ้ริง
เป้าหมายสูงสุดของชีวิต คือ ความหลุดพ้น

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
สมใจ จันสุกสี
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
Kha Nan
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
Wichai Likitponrak
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)kookoon11
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
Wichai Likitponrak
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Y'tt Khnkt
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์
Y'tt Khnkt
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
Wichai Likitponrak
 

What's hot (19)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิตใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Energy box
Energy boxEnergy box
Energy box
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 

Similar to ชีวิตและกฏธรรมชาติของ

ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
่Jutharat
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
Nichakorn Sengsui
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
tawitch58
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
tawitch58
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
LomaPakuTaxila
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
พัน พัน
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
Bhu KS'peep
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
Microscope
MicroscopeMicroscope

Similar to ชีวิตและกฏธรรมชาติของ (20)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  กระเพาะอาหาร ลำไส้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ กระเพาะอาหาร ลำไส้
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 

ชีวิตและกฏธรรมชาติของ

  • 1. บทที่ 2 ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิต วิชาจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลยัราชภฏัอุดรธานี
  • 2. ความหมายของชีวิต  ชีวิตคือการเดินทาง  ชีวิตคือการต่อสู้  ชีวิตคือการงาน  ชีวิตคือการศึกษา
  • 3. ชีวิตในทัศนะของศาสนา นักปราชญ์ได้ให้ความหมายของคา ว่า “ชีวิต” ดังนี้ ชีวิต คือ ตัวตนหรือบุคคล ชีวิต คือความสดของโปรโตปลาสซึม ในเซลล์ ชีวิต คือ ตัวธรรมชาติและมีกฎ ธรรมชาติควบคุม จึงเป็นไปตามกฎ ธรรมชาติ
  • 4. ความหมายของ “ชีวิต” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ฉบับที่ 269 ได้ให้ ความหมายของคา ว่า “ชีวิต” ไวว้่า ชีวิตคือความเป็นอยู่
  • 5. คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ สิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นด้วยเซลล์ สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยกลุ่มสารที่เรียกว่า โปรโตปลาสซึม สิ่งมีชีวิตต้องการหายใจ สิ่งมีชีวิตต้องการการเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตต้องการหน่วยชีวิตใหม่ด้วยการสืบพันธ์ สิ่งมีชีวิตมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในร่างกาย เพื่อสร้าง อาหารและทา ลายอาหาร เพื่อเอาพลังงานมาใชใ้นการเคลื่อนไหว สิ่งมีชีวิตต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
  • 6. การกา เนิดของชีวิตตามทัศนะของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ได้กล่าวถึงการกา เนิดชีวิตใหม่เรียกว่า การสืบพันธุ์ ซึ่งมี 2 แบบ คือ 1. การสืบพันธุ์แบบไม่ใชเ้พศ เช่น การปักกิ่งชา ของต้นไม้ การแตกหน่อ ของกล้วย การแบ่งเซลล์สืบพันธ์ของแบคทีเรีย 2. การสืบพันโดยการใชเ้พศ เช่น มนุษย์ซึ่งอาศัยพ่อแม่ให้กา เนิดชีวิต ชีวิต โดยฝ่ายพ่อจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เรียกว่า อสุจิหรือสเปอร์ม ฝ่ายแม่สร้างเซลล์สืบพันธ์เรียกว่า ไข่ ไข่ที่ถูกผสมโดยอสุจิ เรียกว่า ไซโกท โดยไซโกทจะฝังตัวไวกั้บเยื่อผนังมดลูกและเจริญเติบโตเป็น ตัวอ่อนตามลา ดับ เมื่อครบ 9 เดือน ก็จะคลอดออกมาเป็นทารก และเจริญเติบโต
  • 7. ขันธ์ 5 หรือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ รูป (Corporeality) ส่วนที่เป็นรปูธรรมทงั้หมด เวทนา (Feeling) ความร้สูึกสุขทุกข์ หรือเฉย ๆ สญัญา (Perception) ความกา หนดไว้หรือหมายรู้ สงัขาร (Mental Formation) การปรงุแต่งจิต วิญญาณ (Consciousness) การรับร้ทูางประสาท สัมผัสทั้ง 5 และใจ โดยสรปุมี ๒ อย่าง คือ ๑. รปูธรรม ได้แก่ รปู ๒. นามธรรม ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
  • 8. กาเนิด (โยนิ) 4 อย่าง 1.ชลาพุชะ กาเนิดจากครรภ์ 2.อัณฑชะ กา เนิดจากไข่ 3.สังเสทชะ กา เนิดจากเชื้อ 4.โอปปาติกะ กาเนิดจากการ ผุดข้นึ
  • 9. กา เนิดของมนุษย์ในทัศนะพระพุทธศาสนา 1.สตรอียู่ในวยัมีประจา เดือน (มาตา อุตุนี โหติ) 2. มารดาบิดาร่วมกัน (มาตาปิตโร สนฺนิปติตา โหนฺติ) 3. มีสัตว์มาเกิด (คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฺฐิโต โหติ)
  • 10. วิวฒันาการของชีวิต 1. กลละ หยดน้า ใส ๆ 2. อัมพุทะ ฟองน้า ล้างเนื้อ 3. เปสิ ก้อนเนื้ออ่อนสีแดง 4. ฆนะ ก้อนเนื้อเท่าไข่ไก่ 5.ปัญจสาขา ปุ่มทงั้ 5
  • 11. การดา รงอย่ขูองชีวิต กวฬิงการาหาร อาหารคือคา ข้าว ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือ มโนสัญเจตนา วิญญาณาหาร อาหารคือ วิญญาณ
  • 12. โครงสร้างร่างกายของมนุษย์  1.1โครงสร้างของร่างกาย  ร่างกายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากส่วนที่เล็กที่สุด คือ อะตอม ซึ่งยึดเข้ากันด้วยพันธะต่างๆเป็น โมเลกุล และโมเลกุลจะมีการจัดตัวรวมเป็นโครงสร้างของหน่วยย่อยที่สุดที่เป็นตัวกา หนดการ ดา รงชีวิตอยู่เราเรียกโครงสร้างนนั้ว่า เซลล์  เซลล์เหล่านี้มีทั้งที่ทา หน้าที่เหมือนกันและแตกต่างกันออกไปแต่เซลล์ของร่างกายส่วนใหญ่ ไม่ได้อยู่อย่างอิสระโดยกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างหน้าที่และกา เนิดคล้ายกันจะยึดติดกันซึ่ง พบว่าถ้าเซลล์เหล่านั้นทา หน้าที่เหมือนกันหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกันจะรวมเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า เนื้อเยื่อ  เนื้อเยื่อมี 4 ชนิดดังนี้  1. เนื้อเยื่อบุผิว  2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน  3. เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ  4. เนื้อเยื่อประสาท
  • 13. ความสัมพันธ์ของร่างกาย หากเนื้อเยื่อหลายๆเนื้อเยื่อทา งานหรือทา หน้าที่อย่างเดียวกัน จะเรียก กลุ่มของเนื้อเยื่อว่า อวยัวะ เช่น ปอด หัวใจ สมอง ตับ ม้าม เป็นต้น โดยจะมีหน้าที่ของตัวมันเอง และต้องทา งานประสานสัมพันธ์ซึ่งกันและ กันซึ่งจะรวมเรียกระบบอวยัวะต่างๆที่ทา หน้าที่ประสานสัมพันธ์กัน เหล่านี้ว่าเป็นร่างกาย การทา งานของระบบต่างๆภายในร่างกายของคนเรานนั้จะต้องมีการ ประสานสัมพันธ์กันอยู่เสมอ ถ้าหากไมท่า งานประสานสัมพันธ์กันแล้ว ย่อมเกิดปัญหาต่อการดา รงชีวิตอยู่อย่างแน่นอน
  • 14. 1.2 ระบบอวยัวะของร่างกาย  ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยโครงสรา้งที่สลับซับซอ้นหลายระดับ ดังที่ได้กล่าวแล้วใน เบื้องต้น โดยโครงสร้างต่างๆจะมีหน้าที่ของตนเองและในขณะเดียวกันก็มีความสัมพันธ์กับ โครงสร้างต่างๆภายในร่างกายออกเป็นระบบอวยัวะต่างๆได้ดังนี้  1 ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย(integmentary system)  2 ระบบกระดูก (skeletal system)  3 ระบบกล้ามเนื้อ ( muscular system )  4 ระบบย่อยอาหาร ( degestive system)  5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ( urinary system )  6 ระบบหายใจ ( respiratory system)  7 ระบบไหลเวียนโลหิต ( vasculay system )  8 ระบบประสาท (nervous system )  9 ระบบสบืพันธุ์ (reproductive system)  10 ระบบต่อมไร้ท่อ ( endocrine system)
  • 16. ความต้องการของชีวิต  ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs)  ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs)  ความต้องการทางด้านสังคม (The belongingness needs)  ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (The esteem needs)  ความต้องการความสา เร็จในชีวิต (Self actualization)
  • 17.
  • 18. ภาคของจิต (REGIONS OF MIND) จิตรู้สา นึก (Conscious mind) จิตกึ่งรู้สา นึก (Preconscious mind) จิตไร้สา นึก (Unconscious mind)
  • 19. โครงสร้างของจิต (STRUCTURE OF MIND)  Id สัญชาติญาณและแรงขับที่เกิดจากความต้องการทางชีววิทยา  Ego จิตใจที่ได้รับการฝึกฝนจากการเรียนรู้ทั่วไป  Super-Ego จิตใจที่ได้มาจากการเรียนรู้เกี่ยวกับวฒันธรรม ศีลธรรม และศาสนา
  • 20. ลักษณะของกฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติเป็นกฎที่มีอยู่ก่อนแล้วตามธรรมชาติ มีธรรมชาตมิี ลักษณะดังนี้คือ 1.สิ่งนั้นตั้งอยู่แล้ว หมายถึงสิ่งที่มีอยู่ก่อนสิ่งทั้งปวง 2.เป็นกฎควบคุมสังขารทั้งให้เปลี่ยนแปลง เป็นไป ดา รงอยู่และ สลายไปตามธรรมชาติ 3. เป็นสิ่งที่หลีกไม่พ้น เช่นกฎแห่งกรรม 4. รูปธรรม นามธรรม เกิดข้นึจากกฎธรรมชาติอันเดียวกัน เช่น ไตรลักษณ์เป็นต้น
  • 21. ลักษณะสามัญของชีวิต (ไตรลักษณ์) อนิจจงัสังขารทงั้ปวง ไม่เที่ยง ทุกขงัสังขารทงั้ปวง เป็นทุกข์ อนตัตา ธรรมทงั้ปวง เป็นอนัตตา
  • 22. ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจัง) มีการเกิดขึ้นแล้วดับไป มีการเปลี่ยนแปลง ตั้งอยู่ชั่วขณะ แย้งต่อความเที่ยง มีแล้วกลับไม่มี
  • 23. ความเป็นทุกข์ (ทุกขัง) ความทุกข์ประจา ตัว  ทุกข์จร  ทุกข์เนืองนิตย์  ทุกขเวทนา ทุกข์เพราะรุ่มรอ้น  ทุกข์เพราะผลกรรม ทุกข์กา กับกัน  ทุกข์จากปัญหาชีวิต ทุกข์เพราะอุปาทานขันธ์
  • 24. ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง (อนัตตา) เพราะไม่อย่ใูนอา นาจหรือความปรารถนา เพราะแย้งต่ออัตตา หรือขัดความรูสึ้ก ความเป็นที่ไม่มีเจา้ของ  ความเป็นสภาพสูญเปล่า  ความเป็นสภาวธรรมที่เป็นไป ตามเหตุปัจจัย
  • 25. คุณค่าทางจริยธรรมของหลักไตรลักษณ์ สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไมก่ระทา อะไรตามอา นาจความอยาก ไม่ทา ให้ชีวิตหดหู่เหี่ยวแห้ง สามารถใชปั้ญญาและเหตุผลในการแก้ปัญหาชีวิต ชีวิตจะมีความก้าวหน้าไปในทางที่ดี ทา ให้ดา รงชีวิตอยู่ด้วยอิสระ เมื่อตนมีชีวิตที่ดีแล้วสามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ ชีวิตจะมีแต่ความร่มเย็นและสงบสุขอย่างแทจ้ริง