SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อาณาจักรสัตว์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวณัฐธิดา จันทอง เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง5
2.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1.นางสาวณัฐธิดา จันทอง เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง5
2.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง5
คาชี้ แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาณาจักรสัตว์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Kingdom Animalia
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวณัฐธิดา จันทอง เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง5
2.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง5
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เมื่อพูดถึงสัตว์หลายๆคนอาจจะนึกถึงสัตว์ต่างๆในสวนสัตว์ยกตัวอย่างเช่น เสือ สิงโต ไหยีน่า หมาจิ้งจอก ช้าง
ม้ า ก ระ ทิง งู ฯ ล ฯ ห รือ สัต ว์ เลี้ ย ง ใน บ้ าน ข อ ง ท่าน อ ย่าง เ จ้ าสุ นั ข แ ม ว ก ระต่ าย ฯ
แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่าจริงๆแล้วสัตว์นั้นมีอยู่มากมายหลายชนิดมากกว่าที่พวกท่านรู้กันท่านอาจจะนึกไม่ถึงเลยก็ไ
ด้ว่าฟองน้า ปะการังดอกไม้ทะเล กัลปังหา ไฮดรา หรือแม้แต่พยาธินั้นก็ถือว่าเป็นสัตว์
3
ท าง ผู้ จัด ท าจึ ง ได้ เลื อ ก ที่ จ ะน าค วาม รู้ เรื่ อ ง อ าณ าจั ก รสั ต ว์นี้ ม าศึ ก ษ าแ ละเ ผ ยแ พ ร่
โดยการนาเสนอผ่านโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ที่กาลังศึกษาหรือสนใจที่จะศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตใ
นอาณาจักรสัตว์ ไฟลัมของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์
ได้ ใ ช้ ป ร ะ โย ช น์ จ า ก โค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ฉ บั บ นี้ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด
และสามารถเผยแพร่องค์ความรู้นี้ให้แก่ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาอีกต่อไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
2. เพื่อใช้ในการเผยแพร่ความรู้
3. เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์
4. เพื่อเป็นแบบอย่างการร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ 9ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์อันได้แก่ ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum
Porifera),ไฟลัมซีเลนเทอราตา (Phylun Coelenterata),ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส (Phylum
Platyhelminthes),ไฟลัมเนมาโทดา (Nematoda),ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida),ไฟลัมมอลลัสกา
(Phylum Mollusca),ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda),ไฟลัมอีไคโนเดอร์มาตา (Phylum
Echinodermata),ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์
โดยมีข้อจากัดคือผู้จัดทาไม่สามารถทาการทดลองด้วยตนเองได้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์
ในจานวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค
ซึ่งเป็นผลทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆ
นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
และก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้
1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) สัตว์ที่ลาตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera
- เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง (Parazoa)
- ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ
- มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม
- มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว
- ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มีสมมาตร
- จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม
4
- มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใยโปรตีน)
2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา
และไฮดรา
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata
- ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis
- ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่
- ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity
ทาหน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน
- มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle )ใช้สาหรับจับเหยื่อ
- ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyte เเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า nematocyst
- มีวงจรชีพสลับ
- สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ
- มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes
- มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry)
- ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด
- ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ
สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่เซลล์โดยตรง
- มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก
และในพวกพยาธิตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร
- มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว
- มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว
(Cross fretilization)
4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย
และหนอนในน้าส้มสายชู
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda
- ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์
- มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม
- สมมาตรครึ่งซีก
- มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก
- ร่างกายมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
- มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุอยู่เต็ม
- ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว
- ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ
- การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเวดล้อมได้ดี
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้าจืด
5
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida
- มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้อเยื่อกั้นระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา (
septa )
- เเต่ละปล้องมีอวัยวะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่
ทางเดินอาหารเเละช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง
- ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ )
- ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก
- มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
- มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม
- ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง
6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม
แมงดาทะเล
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda
- มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของลาตัว
- มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ
- สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก
นับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตบนโลกเป็นอย่างมาก
เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็นจานวนมาก
- มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง
- มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด
- มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ
ท้อง(Abdomen)
- ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel)
7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) สัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca
- ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่
1. head and foot
2. visceral mass
3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือกภายใน
- สัตว์ในไฟลัมนี้มีลาตัวอ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO3
- แยกเพศผู้-เมีย
- ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง
- อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย
1. เหงือก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเติล พบในมอลลัสทั่วไป
2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า
เซอราตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill)
6
3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง
มีของเหลวหล่อเลี้ยงในช่องนี้ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้
8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล
เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm
- สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี
- ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง
- มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บางชนิด
- มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน
- การเคลื่อนไหวใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย
- การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางชนิด เช่น
การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA)
คุณสมบัติเฉพาะของ Phylum Chordata
- มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต
หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด
- มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube)
เหลือทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง(Ventral
nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน
- มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวหสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง
เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีช่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น
เมื่อโตขึ้นช่องเหงือกจะปิดส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต
- มีหางเป็นกล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail)
เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์
1.เซลล์แบบยูคาริโอต (Eukaryotic cell) คือ เซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ในไซโทพลาสซึมมี ออร์แกเนลล์ต่างๆ
กระจายอยู่
2.ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ชนิดที่ไม่มีผนังเซลล์ เรียกว่า เซลล์สัตว์
ทาให้เซลล์มีลักษณะอ่อนนุ่มและแตกต่างไปจากเซลล์พืช
เซลล์เหล่านี้จะมารวมกันเป็นเนื้อเยื่อเพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง
ซึ่งพบว่าเซลล์ในเนื้อเยื่อมักมีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน มีการประสานการทางานระหว่างกัน
สัตว์ชั้นสูงมีเนื้อเยื่อหลายชนิดสามารถจาแนกตามหน้าที่และตาแหน่งที่อยู่ของร่างกายเป็น 5 ประเภท คือ
เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissue) เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Muscular tissue)
เนื้อเยื่อลาเลียง (Vascular tissue) และเนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue)
3.สร้างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์
ดังนั้นการดารงชีวิตจึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหารซึ่งอาจเป็นพืชหรือสัตว์ด้วยกัน
การดารงชีวิตจึงมักเป็นแบบผู้ล่าเหยื่อหรือปรสิตเสมอ
โดยทั่วไปเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีบางชนิดพบว่าเมื่อเป็นตัวเต็มวัยแล้วเกาะอยู่กับที่
7
4.โดยส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีระบบประสาท มีอวัยวะรับความรู้สึก
และตอบสนอง เช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์ เป็นต้น
สัตว์มีลักษณะสาคัญ
1.ประกอบด้วยเซลล์ประเภทยูคารีโอตเซลล์ (Eucaryotic Cell) เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
มีองค์ประกอบต่างๆ ที่สาคัญภายในเซลล์
2.ประกอบด้วยเซลล์จานวนหลายเซลล์ รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ (Tissue) หรือเป็นอวัยวะ (Organ) ต่างๆ
ซึ่งสามารถทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งได้
3.ไม่มีผนังเซลล์ และไม่มีคลอโรพลาสต์
ดังนั้นจึงไม่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จึงเรียกว่า Heterotrophic organism
(Heterotroph)
4.ดารงชีพโดยการเป็นผู้บริโภค คือ ต้องอาศัยสารอินทรีย์จากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการกิน อาจจะกินพืช กินสัตว์
หรือกินทั้งพืชและสัตว์
5.สามารถเคลื่อนที่ได้รวดเร็ว หรือเคลื่อนที่ช้า หรือบางชนิดก็ไม่เคลื่อนที่เลย เช่น ปะการัง ฟองน้า
6.สัตว์ส่วนมากจะมีระบบประสาท ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ให้ทางานประสานกัน
หรือใช้รับความรู้สึก เมื่อมีสิ่งใดมาสัมผัส จึงสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้
7.สัตว์ส่วนมากจะมีโครงร่างแข็ง (Skeleton) เพื่อเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ
และทาหน้าที่ปกป้องอวัยวะภายในได้ด้วย เช่น ปู กุ้ง หอย เป็นต้น
เนื้อเยื่อ และระบบต่างๆ จะซับซ้อนกว่าพืชมาก และทาหน้าที่อย่างเฉพาะเจาะจง
หลังจากสืบพันธุ์ หรือมีการปฏิสนธิเกิดขึ้นจะมีระยะตัวอ่อน (Embryo) พักหนึ่ง
เกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์
ปัจจุบันสัตว์ในโลกที่มนุษย์รู้จักมีมากกว่า 1 ล้านสปีชีส์ พบทั้งในน้าจืด น้าเค็ม และบนบก
ซึ่งสามารถจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate)
และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) และสามารถจาแนกเป็นไฟลัมต่างๆ ได้ราว 35 ไฟลัม
แต่ส่วนใหญ่จะเรียนรู้กันเฉพาะไฟลัมใหญ่ๆ เท่านั้น ซึ่งในการจัดจาแนกจะใช้เกณฑ์ต่างๆ ดังนี้
1. ระดับการทางานร่วมกันของเซลล์ (Level of cell organization)
โดยดูการร่วมกันทางานของเซลล์และการจัดเป็นเนื้อเยื่อนั้น มีลักษณะเป็นอย่างไรมากหรือน้อยเพียงใด
ซึ่งทาให้แบ่งสัตว์ออกเป็นพวกใหญ่ๆ คือ 1.1 เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง (No true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า พาราซัว
(Parazoa) เนื่องจากเซลล์ในสัตว์กลุ่มนี้ไม่มีการประสานงานกันระหว่างเซลล์
โดยเซลล์ทุกเซลล์จะมีหน้าที่ในการดารงชีวิตของตนเอง หน้าที่ทั่วไป คือ ด้านโภชนาการ และสืบพันธุ์ ได้แก่
พวกฟองน้า
1.เนื้อเยื่อที่แท้จริง (True tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า ยูเมตาซัว (Eumetazoa) ซึ่งเนื้อเยื่อจะถูกสร้างขึ้นเป็นชั้น
หรือเรียกว่า ชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer) มี 2 ประเภท คือ
2.เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (Diploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm)
ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย
3.เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก ชั้นกลาง (Mesoderm) และชั้นใน ได้แก่
พวกหนอนตัวแบนขึ้นไป จนถึงสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
2. สมมาตร (Symmetry)
8
คือ ลักษณะการแบ่งร่างกายออกเป็นซีกๆ ตามความยาวของซีกเท่าๆ กัน มีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่
1.ไม่มีสมมาตร (Asymmetry) มีรูปร่างไม่แน่นอน ไม่สามารถแบ่งซีกซ้ายและซีกขวาได้เท่าๆ กัน ได้แก่
พวกฟองน้า
2.สมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) ร่างกายของสัตว์จะมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก หรือล้อรถ
ถ้าตัดผ่านจุดศูนย์กลางแล้วจะตัดอย่างไรก็ได้ 2 ส่วนที่เท่ากันเสมอ หรือเรียกว่า มีสมมาตรที่ผ่าซีกได้เท่าๆ
กันหลายๆ ครั้งในแนวรัศมี ได้แก่ สัตว์พวกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เม่นทะเล
3.สมมาตรแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) หรือมีสามาตรที่ผ่าซีกได้เท่าๆ กัน เพียง 1 ครั้ง
สมมาตรแบบนี้สามารถผ่า หรือตัดแบ่งครึ่งร่างกายตามความยาวของลาตัวแล้วทาให้ 2 ข้างเท่ากัน
ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง
3. ลักษณะช่องว่างในลาตัวหรือช่องตัว (Body cavity or coelom)
คือ ช่องว่างภายในลาตัวที่อยู่ระหว่างผนังลาตัวกับอวัยวะภายในตัว ภายใน coelom มักจะมีของเหลวอยู่เต็ม
ของเหลวเหล่านี้ทาหน้าที่เสมือนหนึ่งระบบไหลเวียนโลหิตง่ายๆ ในสัตว์บางพวกช่วยลาเลียงสารอาหาร
ออกซิเจน และของเสีย เป็นต้น อีกทั้งยังช่วยลดแรงกระแทกจากภายนอกที่อาจเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน
และยังเป็นบริเวณที่ทาให้อวัยวะภายในเคลื่อนที่ได้อิสระจากผนังลาตัว ยอมให้อวัยวะขยายใหญ่ได้
ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจาแนกสัตว์ได้ แบ่งเป็น 3 พวก คือ
1.ไม่มีช่องว่างในลาตัวหรือไม่มีช่องตัว (No body cavity or acoelom) เป็นพวกที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นอยู่ชิดกัน
โดยไม่มีช่องว่างในแต่ละชั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน
2.มีช่องตัวเทียม (Pseudocoelom) เป็นช่องตัวที่เจริญอยู่ระหว่าง mesoderm ของผนังลาตัว และ endoderm
ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ช่องตัวนี้ไม่มีเยื่อบุช่องท้องกั้นเป็นขอบเขต ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม โรติเฟอร์ (rotifer)
3.มีช่องตัวที่แท้จริง (Eucoelom or coelom) เป็นช่องตัวที่เจริญแทรกอยู่ระหว่าง mesoderm 2 ชั้น คือ
mesoderm ชั้นนอกเป็นส่วนหนึ่งของผนังลาตัว (Body wall) กับ mesoderm ชั้นในซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผนังลาไส้
(Intestinal wall) และ mesoderm ทั้งสองส่วนจะบุด้วยเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum) ได้แก่ ไส้เดือนดิน หอย
แมลง ปลา สัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นต้น
4. การเกิดช่องปาก ซึ่งสามารถแบ่งสัตว์ตามการเกิดช่องปากได้ 2 กลุ่ม คือ
1.โปรโตสโตเมีย (Protostomia) เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิดก่อนช่องทวารในขณะที่เป็นตัวอ่อน
ซึ่งช่องปากเกิดจากบลาสโตพอร์ หรือบริเวณใกล้ๆ บลาสโตพอร์ (Blastopore) ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน
หนอนตัวกลม หนอนมีปล้อง หอย สัตว์ขาปล้อง
2.ดิวเทอโรสโตเมีย (Deuterostomia) เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร
เกิดจากช่องใหม่ที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นทางเดินอาหารซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ บลาสโตพอร์ ได้แก่ พวกดาวทะเล
และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
5. ทางเดินอาหาร (Digestive tract) โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1.ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract)
เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก หรือมีช่องทางเดินอาหารเข้าออกทางเดียวกัน
หรือทางเดินอาหารแบบปากถุง (One-hole-sac) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน หนอนตัวแบน
2.ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีทั้งปากและทวารหนัก
หรือมีช่องทางเข้าออกของอาหารคนละทางกัน หรือทางเดินอาหารแบบท่อกลวง (Two-hole-tube) ได้แก่
พวกหนอนตัวกลม จนถึงสัตว์มีกระดูกสันหลัง
9
6. การแบ่งเป็นปล้อง (Segmentation)
การแบ่งเป็นปล้องเป็นการเกิดรอยคอดขึ้นกับลาตัวแบ่งออกเป็น
2.การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะภายนอก (Superficial segmentation)
เป็นการเกิดปล้องขึ้นเฉพาะที่ส่วนผิวลาตัวเท่านั้นไม่ได้เกิดตลอดตัว เช่น พยาธิตัวตืด
3.การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง (Metameric segmentation)
เป็นการเกิดปล้องขึ้นตลอดลาตัวทั้งภายนอกและภายใน โดยข้อปล้องเกิดขึ้นในเนื้อเยื่อชั้นกลาง
ทาให้เนื้อเยื่อชั้นอื่นๆ เกิดเป็นปล้องไปด้วย ได้แก่ ไส้เดือน กุ้ง ปู แมลง ตลอดไปจนสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา
2. แบ่งหน้าที่การทางาน
3. สืบค้นข้อมูลหัวข้อที่กาหนดไว้
4. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น
5. วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล
6. เผยแพร่ข้อมูลผ่านการนาเสนอแบบพาวเวอร์พอยท์
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. สัญญาณอินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่างงาน ผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ ผู้จัดทา
6 การทาเอกสารรายงาน ผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน ผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน ผู้จัดทา
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้เผยแพร่ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ (Kingdom
Animalia)เป็นสื่อการเรียนการสอนที่สามารถทาให้ผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษาได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอีก
ต่อไปในภายภาคหน้า
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
บ้านจอมยุทธ(2543).อาณาจักรสัตว์.สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2561 , จากเว็บไซต์:
https://www.baanjomyut.com/library_2/kingdom_of_animalia/
ขนิษฐา อุปพงษ์( 2536 ).อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia).สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2561
,จากเว็บไซต์https://sites.google.com/site/gfopjrtigdioitwoirnlkfgoi/xanacakr-sing-mi-chiwit/xanacakr-
satw
ไม่ปรากฏผู้แต่ง(ไม่ปรากฏ).อาณาจักรสัตว์(kingdom animalia).สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2561,จากเว็บไซต์
https://sites.google.com/site/khwamhlakhlaythangchiwphaph/home/5--kingdom-animalia

More Related Content

What's hot

บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
Wichai Likitponrak
 
2 plantstrruc 1
2 plantstrruc 12 plantstrruc 1
2 plantstrruc 1
Wichai Likitponrak
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
Wichai Likitponrak
 
ใบงานคอม 4
ใบงานคอม 4ใบงานคอม 4
ใบงานคอม 4bussayamas1618
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
riyanma
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
UNDP
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
Apichart Wattanasiri
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
tuiye
 
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทองบทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
กนกศักดิ์ บัวทอง
 
ตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครูตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครูtampreak
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
Singhanat Sangsehanat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
SAKANAN ANANTASOOK
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
wanpa krittiyawan
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
Chayaporn Jongjumnien
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
bensee
 
เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...
เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...
เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...
Fon Slowlife
 

What's hot (20)

บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
2 plantstrruc 1
2 plantstrruc 12 plantstrruc 1
2 plantstrruc 1
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
ใบงานคอม 4
ใบงานคอม 4ใบงานคอม 4
ใบงานคอม 4
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
 
แผ่นพับปริศนาคำทาย
แผ่นพับปริศนาคำทายแผ่นพับปริศนาคำทาย
แผ่นพับปริศนาคำทาย
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทองบทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
บทคัดย่อครูวรรณวิมล บัวทอง
 
ตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครูตัวอย่างข้อสอบครู
ตัวอย่างข้อสอบครู
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...
เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...
เรื่องการใช้ Google advanced search เพื่อสืบค้นตัวอย่างคำและสำนวนไทย กรณีศึกษ...
 

Similar to 2560 project438 (1)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
thitichaya24
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
thitichaya24
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
just2miwz
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไขการสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
Isaree Kowin
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน
Isaree Kowin
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)Milk MK
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)Milk MK
 

Similar to 2560 project438 (1) (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไขการสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 

More from saruta38605

เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
saruta38605
 
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 255802 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
saruta38605
 
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
saruta38605
 
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 255801 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
saruta38605
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
saruta38605
 
0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act
saruta38605
 
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
saruta38605
 

More from saruta38605 (7)

เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
เฉลย 02 สังคมศึกษา onet ม6 ปีการศึกษา2558 แก้ไข
 
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 255802 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
02 สังคมศึกษาฯ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
เฉลย 01 ภาษาไทย onet ม6 ปีการศึกษา2558
 
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 255801 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
01 ภาษาไทย ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act0 computer crime-no2-act
0 computer crime-no2-act
 
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
ใบงานสำรวจตนเองศรุตา M6 6
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

2560 project438 (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อาณาจักรสัตว์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวณัฐธิดา จันทอง เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง5 2.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1.นางสาวณัฐธิดา จันทอง เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง5 2.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง5 คาชี้ แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาณาจักรสัตว์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Kingdom Animalia ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวณัฐธิดา จันทอง เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง5 2.นางสาวศรุตา สัพโส เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง5 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เมื่อพูดถึงสัตว์หลายๆคนอาจจะนึกถึงสัตว์ต่างๆในสวนสัตว์ยกตัวอย่างเช่น เสือ สิงโต ไหยีน่า หมาจิ้งจอก ช้าง ม้ า ก ระ ทิง งู ฯ ล ฯ ห รือ สัต ว์ เลี้ ย ง ใน บ้ าน ข อ ง ท่าน อ ย่าง เ จ้ าสุ นั ข แ ม ว ก ระต่ าย ฯ แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่าจริงๆแล้วสัตว์นั้นมีอยู่มากมายหลายชนิดมากกว่าที่พวกท่านรู้กันท่านอาจจะนึกไม่ถึงเลยก็ไ ด้ว่าฟองน้า ปะการังดอกไม้ทะเล กัลปังหา ไฮดรา หรือแม้แต่พยาธินั้นก็ถือว่าเป็นสัตว์
  • 3. 3 ท าง ผู้ จัด ท าจึ ง ได้ เลื อ ก ที่ จ ะน าค วาม รู้ เรื่ อ ง อ าณ าจั ก รสั ต ว์นี้ ม าศึ ก ษ าแ ละเ ผ ยแ พ ร่ โดยการนาเสนอผ่านโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ที่กาลังศึกษาหรือสนใจที่จะศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตใ นอาณาจักรสัตว์ ไฟลัมของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์ ได้ ใ ช้ ป ร ะ โย ช น์ จ า ก โค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ฉ บั บ นี้ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด และสามารถเผยแพร่องค์ความรู้นี้ให้แก่ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาอีกต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน 2. เพื่อใช้ในการเผยแพร่ความรู้ 3. เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ 4. เพื่อเป็นแบบอย่างการร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ 9ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์อันได้แก่ ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera),ไฟลัมซีเลนเทอราตา (Phylun Coelenterata),ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส (Phylum Platyhelminthes),ไฟลัมเนมาโทดา (Nematoda),ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida),ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca),ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda),ไฟลัมอีไคโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata),ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata) เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์ โดยมีข้อจากัดคือผู้จัดทาไม่สามารถทาการทดลองด้วยตนเองได้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจานวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้ 1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) สัตว์ที่ลาตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera - เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง (Parazoa) - ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ - มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม - มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว - ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มีสมมาตร - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม
  • 4. 4 - มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใยโปรตีน) 2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA) ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata - ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis - ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่ - ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ทาหน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน - มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle )ใช้สาหรับจับเหยื่อ - ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyte เเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า nematocyst - มีวงจรชีพสลับ - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ - มี 2 เพศในตัวเดียวกัน 3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes - มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) - ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด - ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่เซลล์โดยตรง - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และในพวกพยาธิตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร - มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว - มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว (Cross fretilization) 4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในน้าส้มสายชู ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda - ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์ - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม - สมมาตรครึ่งซีก - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก - ร่างกายมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น - มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุอยู่เต็ม - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว - ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ - การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเวดล้อมได้ดี 5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้าจืด
  • 5. 5 ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida - มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้อเยื่อกั้นระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa ) - เเต่ละปล้องมีอวัยวะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง - ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ ) - ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก - มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น - มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม - ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง 6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม แมงดาทะเล ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda - มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของลาตัว - มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ - สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก นับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตบนโลกเป็นอย่างมาก เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็นจานวนมาก - มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง - มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด - มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ ท้อง(Abdomen) - ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel) 7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) สัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. head and foot 2. visceral mass 3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือกภายใน - สัตว์ในไฟลัมนี้มีลาตัวอ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO3 - แยกเพศผู้-เมีย - ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง - อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย 1. เหงือก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเติล พบในมอลลัสทั่วไป 2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า เซอราตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill)
  • 6. 6 3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลวหล่อเลี้ยงในช่องนี้ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้ 8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี - ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บางชนิด - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน - การเคลื่อนไหวใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางชนิด เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง 9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) คุณสมบัติเฉพาะของ Phylum Chordata - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด - มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง(Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวหสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีช่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อโตขึ้นช่องเหงือกจะปิดส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต - มีหางเป็นกล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail) เกณฑ์ในการพิจารณาและจัดสิ่งชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์ 1.เซลล์แบบยูคาริโอต (Eukaryotic cell) คือ เซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ในไซโทพลาสซึมมี ออร์แกเนลล์ต่างๆ กระจายอยู่ 2.ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ชนิดที่ไม่มีผนังเซลล์ เรียกว่า เซลล์สัตว์ ทาให้เซลล์มีลักษณะอ่อนนุ่มและแตกต่างไปจากเซลล์พืช เซลล์เหล่านี้จะมารวมกันเป็นเนื้อเยื่อเพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งพบว่าเซลล์ในเนื้อเยื่อมักมีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน มีการประสานการทางานระหว่างกัน สัตว์ชั้นสูงมีเนื้อเยื่อหลายชนิดสามารถจาแนกตามหน้าที่และตาแหน่งที่อยู่ของร่างกายเป็น 5 ประเภท คือ เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissue) เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Muscular tissue) เนื้อเยื่อลาเลียง (Vascular tissue) และเนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue) 3.สร้างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์ ดังนั้นการดารงชีวิตจึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหารซึ่งอาจเป็นพืชหรือสัตว์ด้วยกัน การดารงชีวิตจึงมักเป็นแบบผู้ล่าเหยื่อหรือปรสิตเสมอ โดยทั่วไปเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีบางชนิดพบว่าเมื่อเป็นตัวเต็มวัยแล้วเกาะอยู่กับที่
  • 7. 7 4.โดยส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีระบบประสาท มีอวัยวะรับความรู้สึก และตอบสนอง เช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์ เป็นต้น สัตว์มีลักษณะสาคัญ 1.ประกอบด้วยเซลล์ประเภทยูคารีโอตเซลล์ (Eucaryotic Cell) เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส มีองค์ประกอบต่างๆ ที่สาคัญภายในเซลล์ 2.ประกอบด้วยเซลล์จานวนหลายเซลล์ รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ (Tissue) หรือเป็นอวัยวะ (Organ) ต่างๆ ซึ่งสามารถทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งได้ 3.ไม่มีผนังเซลล์ และไม่มีคลอโรพลาสต์ ดังนั้นจึงไม่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง จึงเรียกว่า Heterotrophic organism (Heterotroph) 4.ดารงชีพโดยการเป็นผู้บริโภค คือ ต้องอาศัยสารอินทรีย์จากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการกิน อาจจะกินพืช กินสัตว์ หรือกินทั้งพืชและสัตว์ 5.สามารถเคลื่อนที่ได้รวดเร็ว หรือเคลื่อนที่ช้า หรือบางชนิดก็ไม่เคลื่อนที่เลย เช่น ปะการัง ฟองน้า 6.สัตว์ส่วนมากจะมีระบบประสาท ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ให้ทางานประสานกัน หรือใช้รับความรู้สึก เมื่อมีสิ่งใดมาสัมผัส จึงสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ 7.สัตว์ส่วนมากจะมีโครงร่างแข็ง (Skeleton) เพื่อเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ และทาหน้าที่ปกป้องอวัยวะภายในได้ด้วย เช่น ปู กุ้ง หอย เป็นต้น เนื้อเยื่อ และระบบต่างๆ จะซับซ้อนกว่าพืชมาก และทาหน้าที่อย่างเฉพาะเจาะจง หลังจากสืบพันธุ์ หรือมีการปฏิสนธิเกิดขึ้นจะมีระยะตัวอ่อน (Embryo) พักหนึ่ง เกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์ ปัจจุบันสัตว์ในโลกที่มนุษย์รู้จักมีมากกว่า 1 ล้านสปีชีส์ พบทั้งในน้าจืด น้าเค็ม และบนบก ซึ่งสามารถจาแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate) และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) และสามารถจาแนกเป็นไฟลัมต่างๆ ได้ราว 35 ไฟลัม แต่ส่วนใหญ่จะเรียนรู้กันเฉพาะไฟลัมใหญ่ๆ เท่านั้น ซึ่งในการจัดจาแนกจะใช้เกณฑ์ต่างๆ ดังนี้ 1. ระดับการทางานร่วมกันของเซลล์ (Level of cell organization) โดยดูการร่วมกันทางานของเซลล์และการจัดเป็นเนื้อเยื่อนั้น มีลักษณะเป็นอย่างไรมากหรือน้อยเพียงใด ซึ่งทาให้แบ่งสัตว์ออกเป็นพวกใหญ่ๆ คือ 1.1 เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง (No true tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า พาราซัว (Parazoa) เนื่องจากเซลล์ในสัตว์กลุ่มนี้ไม่มีการประสานงานกันระหว่างเซลล์ โดยเซลล์ทุกเซลล์จะมีหน้าที่ในการดารงชีวิตของตนเอง หน้าที่ทั่วไป คือ ด้านโภชนาการ และสืบพันธุ์ ได้แก่ พวกฟองน้า 1.เนื้อเยื่อที่แท้จริง (True tissue) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า ยูเมตาซัว (Eumetazoa) ซึ่งเนื้อเยื่อจะถูกสร้างขึ้นเป็นชั้น หรือเรียกว่า ชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer) มี 2 ประเภท คือ 2.เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (Diploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย 3.เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก ชั้นกลาง (Mesoderm) และชั้นใน ได้แก่ พวกหนอนตัวแบนขึ้นไป จนถึงสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง 2. สมมาตร (Symmetry)
  • 8. 8 คือ ลักษณะการแบ่งร่างกายออกเป็นซีกๆ ตามความยาวของซีกเท่าๆ กัน มีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ 1.ไม่มีสมมาตร (Asymmetry) มีรูปร่างไม่แน่นอน ไม่สามารถแบ่งซีกซ้ายและซีกขวาได้เท่าๆ กัน ได้แก่ พวกฟองน้า 2.สมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) ร่างกายของสัตว์จะมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก หรือล้อรถ ถ้าตัดผ่านจุดศูนย์กลางแล้วจะตัดอย่างไรก็ได้ 2 ส่วนที่เท่ากันเสมอ หรือเรียกว่า มีสมมาตรที่ผ่าซีกได้เท่าๆ กันหลายๆ ครั้งในแนวรัศมี ได้แก่ สัตว์พวกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เม่นทะเล 3.สมมาตรแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) หรือมีสามาตรที่ผ่าซีกได้เท่าๆ กัน เพียง 1 ครั้ง สมมาตรแบบนี้สามารถผ่า หรือตัดแบ่งครึ่งร่างกายตามความยาวของลาตัวแล้วทาให้ 2 ข้างเท่ากัน ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง 3. ลักษณะช่องว่างในลาตัวหรือช่องตัว (Body cavity or coelom) คือ ช่องว่างภายในลาตัวที่อยู่ระหว่างผนังลาตัวกับอวัยวะภายในตัว ภายใน coelom มักจะมีของเหลวอยู่เต็ม ของเหลวเหล่านี้ทาหน้าที่เสมือนหนึ่งระบบไหลเวียนโลหิตง่ายๆ ในสัตว์บางพวกช่วยลาเลียงสารอาหาร ออกซิเจน และของเสีย เป็นต้น อีกทั้งยังช่วยลดแรงกระแทกจากภายนอกที่อาจเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน และยังเป็นบริเวณที่ทาให้อวัยวะภายในเคลื่อนที่ได้อิสระจากผนังลาตัว ยอมให้อวัยวะขยายใหญ่ได้ ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจาแนกสัตว์ได้ แบ่งเป็น 3 พวก คือ 1.ไม่มีช่องว่างในลาตัวหรือไม่มีช่องตัว (No body cavity or acoelom) เป็นพวกที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นอยู่ชิดกัน โดยไม่มีช่องว่างในแต่ละชั้น ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน 2.มีช่องตัวเทียม (Pseudocoelom) เป็นช่องตัวที่เจริญอยู่ระหว่าง mesoderm ของผนังลาตัว และ endoderm ซึ่งเป็นทางเดินอาหาร ช่องตัวนี้ไม่มีเยื่อบุช่องท้องกั้นเป็นขอบเขต ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม โรติเฟอร์ (rotifer) 3.มีช่องตัวที่แท้จริง (Eucoelom or coelom) เป็นช่องตัวที่เจริญแทรกอยู่ระหว่าง mesoderm 2 ชั้น คือ mesoderm ชั้นนอกเป็นส่วนหนึ่งของผนังลาตัว (Body wall) กับ mesoderm ชั้นในซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผนังลาไส้ (Intestinal wall) และ mesoderm ทั้งสองส่วนจะบุด้วยเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum) ได้แก่ ไส้เดือนดิน หอย แมลง ปลา สัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นต้น 4. การเกิดช่องปาก ซึ่งสามารถแบ่งสัตว์ตามการเกิดช่องปากได้ 2 กลุ่ม คือ 1.โปรโตสโตเมีย (Protostomia) เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิดก่อนช่องทวารในขณะที่เป็นตัวอ่อน ซึ่งช่องปากเกิดจากบลาสโตพอร์ หรือบริเวณใกล้ๆ บลาสโตพอร์ (Blastopore) ได้แก่ พวกหนอนตัวแบน หนอนตัวกลม หนอนมีปล้อง หอย สัตว์ขาปล้อง 2.ดิวเทอโรสโตเมีย (Deuterostomia) เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร เกิดจากช่องใหม่ที่จะเจริญพัฒนาไปเป็นทางเดินอาหารซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ บลาสโตพอร์ ได้แก่ พวกดาวทะเล และสัตว์มีกระดูกสันหลัง 5. ทางเดินอาหาร (Digestive tract) โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก หรือมีช่องทางเดินอาหารเข้าออกทางเดียวกัน หรือทางเดินอาหารแบบปากถุง (One-hole-sac) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน หนอนตัวแบน 2.ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสัตว์ที่มีทั้งปากและทวารหนัก หรือมีช่องทางเข้าออกของอาหารคนละทางกัน หรือทางเดินอาหารแบบท่อกลวง (Two-hole-tube) ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม จนถึงสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 9. 9 6. การแบ่งเป็นปล้อง (Segmentation) การแบ่งเป็นปล้องเป็นการเกิดรอยคอดขึ้นกับลาตัวแบ่งออกเป็น 2.การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะภายนอก (Superficial segmentation) เป็นการเกิดปล้องขึ้นเฉพาะที่ส่วนผิวลาตัวเท่านั้นไม่ได้เกิดตลอดตัว เช่น พยาธิตัวตืด 3.การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง (Metameric segmentation) เป็นการเกิดปล้องขึ้นตลอดลาตัวทั้งภายนอกและภายใน โดยข้อปล้องเกิดขึ้นในเนื้อเยื่อชั้นกลาง ทาให้เนื้อเยื่อชั้นอื่นๆ เกิดเป็นปล้องไปด้วย ได้แก่ ไส้เดือน กุ้ง ปู แมลง ตลอดไปจนสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา 2. แบ่งหน้าที่การทางาน 3. สืบค้นข้อมูลหัวข้อที่กาหนดไว้ 4. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น 5. วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล 6. เผยแพร่ข้อมูลผ่านการนาเสนอแบบพาวเวอร์พอยท์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. สัญญาณอินเทอร์เน็ต ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่างงาน ผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ ผู้จัดทา 6 การทาเอกสารรายงาน ผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน ผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน ผู้จัดทา
  • 10. 10 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้เผยแพร่ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)เป็นสื่อการเรียนการสอนที่สามารถทาให้ผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจศึกษาได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอีก ต่อไปในภายภาคหน้า สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) บ้านจอมยุทธ(2543).อาณาจักรสัตว์.สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2561 , จากเว็บไซต์: https://www.baanjomyut.com/library_2/kingdom_of_animalia/ ขนิษฐา อุปพงษ์( 2536 ).อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia).สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2561 ,จากเว็บไซต์https://sites.google.com/site/gfopjrtigdioitwoirnlkfgoi/xanacakr-sing-mi-chiwit/xanacakr- satw ไม่ปรากฏผู้แต่ง(ไม่ปรากฏ).อาณาจักรสัตว์(kingdom animalia).สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2561,จากเว็บไซต์ https://sites.google.com/site/khwamhlakhlaythangchiwphaph/home/5--kingdom-animalia