SlideShare a Scribd company logo
1 of 205
การศึกษา Education   ,[object Object],[object Object]
องค์การสหประชาชาติ ( UN ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การศึกษา  ( Education) ,[object Object],[object Object],[object Object]
ปัจจัยที่กำหนด พฤติกรรมของมนุษย์ การรับรู้  (Perception) การเรียนรู้  (Learning) สติปัญญาและความคิด (Intelligence and Thought) ความเชื่อและค่านิยม  (Belief  and  Value) เจตคติ (Attitude) อารมณ์ (Emotion) แรงจูงใจ (Motivation)
การรับรู้  คือ  การสัมผัสที่มีความหมาย เริ่มจากการใช้ ประสาทสัมผัส   และเป็น การ แปลความหมาย การสัมผัสที่ได้รับ ให้เข้าใจทั้งตนเองและผู้อื่น  โดยต้อง อาศัย ประสบการณ์เดิม หรือความรู้เดิม 1.  การรับรู้  (Perception)
สิ่งเร้า การรับรู้ การตอบสนอง   การแปลความหมาย   จากประสบการณ์เดิม กระบวนการรับรู้
*  การตอบสนองสิ่งเร้าได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ  3  ปัจจัย 1.  ประสบการณ์ที่ผ่านมา 2.  ความต้องการและความสนใจ ในขณะนั้น 3.  สภาพแวดล้อมและลักษณะ ของสิ่งเร้าที่มาเร้า
การรับรู้จะเกิดขึ้นต้องประกอบด้วย กระบวนการที่สำคัญดังนี้ 1.  การสัมผัสหรืออาการสัมผัส 2.  ชนิดและธรรมชาติของสิ่งเร้า 2.1  สิ่งเร้าที่ทำให้ตามองเห็น 2.2  สิ่งเร้าที่ทำให้หูได้ยิน
2.3  สิ่งเร้าที่ทำให้จมูกได้กลิ่น 2.4  สิ่งเร้าที่ทำให้ลิ้นรับรส 2.5  สิ่งเร้าที่ทำให้เกิดการสัมผัส ทางผิวหนัง
3.  การแปลความหมายจากอาการสัมผัส 3.1  สติปัญญา 3.2  การสังเกตพิจารณา 3.3  ความสนใจและตั้งใจ 3.4  คุณภาพของจิตใจในขณะนั้น
4.  การใช้ความรู้เดิม 4.1  เป็นความรู้ถูกต้อง  แน่นอน และชัดเจน 4.2  ต้องมีปริมาณมากหรือสะสมไว้ มากๆหรือรู้หลายๆอย่าง  ช่วยให้แปล ความหมายได้ถูกต้อง
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ 1.  ความตั้งใจ  (Attention) 1.1  สิ่งเร้าภายนอก 1.1.1  ขนาดใหญ่ 1.1.2  ระดับความเข้ม 1.1.3  กระทำซ้ำๆ
1.1.4  การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยน ระดับ 1.1.5  การตัดกัน 1.1.6  สีเข้ม 1.2  สิ่งเร้าภายใน 1.2.1  ความสนใจชั่วขณะ 1.2.2  ความสนใจที่ติดเป็นนิสัย
2.  การเตรียมพร้อมที่จะรับรู้  สภาพ ของจิตใจที่สงบและแน่วแน่ 3.  ความต้องการ  สภาวะของจิตใจ ที่อยากได้สิ่งหนึ่งสิ่งใด
การสัมผัสกับการรับรู้ 1.  การมองเห็น   แสงจะกระตุ้นเซลล์ ประสาทรับความรู้สึกในจอตา เซลล์ประสาทตาจะนำเอากระแส ความรู้สึกที่ตาส่งไปยังสมอง
เซลล์ประสาทที่สมองจะส่งกระแส ความรู้สึกกลับมาที่ประสาทการมองเห็น
 
 
2.  การได้ยิน   เมื่อมีการสั่นสะเทือน หรือคลื่นเสียงจะเป็นตัวกระตุ้นที่ อวัยวะรับการรู้สึกทางเสียง  รับกัน เป็นทอดๆจาก หูส่วนนอก  หูส่วน กลาง  และหูส่วนใน
ซึ่งมีของเหลวอยู่ในโพรงรูปหอยทาก และที่นี่เป็นที่คลื่นเสียงมาถึงเซลล์ ประสาทรับความรู้สึกแล้วส่งต่อไปยัง กระแสประสาทนำความรู้สึกสู่สมอง  โดยผ่านประสาทการได้ยิน
 
3.  การได้กลิ่น   เกิดจากสิ่งเร้าจำพวก สารเคมีที่ลอยอยู่ในอากาศไปกระตุ้น ความรู้สึกในจมูกที่มีเซลล์ประสาท รับกลิ่น  และจะกระตุ้นให้เกิดกระแส ประสาทซึ่งจะถูกส่งไปยังอวัยวะ
ส่วนล่างอยู่ตอนหน้าของสมอง บริเวณเหนือเพดานจมูก  กระแส ประสาทจะส่งต่อไปยังสมองส่วนหน้า ซึ่งทำหน้าที่ตีความเกี่ยวกับกลิ่น
 
4.  การรู้รส   สารเคมีไปกระตุ้นปุ่มรับรู้ รสที่มีกระจายอยู่ทั่วบริเวณลิ้นด้านบน และข้างๆ
 
5.  การสัมผัสผิว   ผลกระทำของตัวรับ ความรู้สึก  3  ชนิดที่ทำงานผสมผสานกัน คือ  แรงกด  อุณหภูมิ  และความเจ็บปวด ยังมีความรู้สึกการเคลื่อนไหวและการ ทรงตัว
 
 
ทัศนมายา  (Illusion) หมายถึง การรับรู้สิ่งเร้าต่างๆ   ผิดพลาด อันเนื่องมาจากสิ่งเร้าเอง  หรือส่วน ประกอบอื่นๆ   มาตกแต่ง  หรือความเชื่อ ที่บุคคลมีอยู่ในการรับรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
การเกิดทัศนมายา 1.  การเติมสิ่งหนึ่งสิ่งใด 2.  ขนาดสัมพันธ์กัน
3.  การเกิดมุมหรือการตัดกันของเส้นตรง
4.  เกิดขึ้นเนื่องจากผู้รับรู้ตีความหมาย ลึกตามหลักสัดส่วนที่ปรากฎแก่สายตา เช่น  การรับรู้ภาพลวงตาพอนโซ (Ponzo  Illusion)
 
 
 
 
ความสำคัญของการรับรู้ 1.  การรับรู้กับการเกิดเจตคติ 2.  การรับรู้กับสุขภาพจิต 3.  การรับรู้กับการเรียนรู้การแก้ปัญหา
ความหมาย 2.  การเรียนรู้  (Learning) วุฒิภาวะ  (Maturity)  หมายถึง กระบวนการของความเจริญเติบโต หรือการเปลี่ยนแปลงในร่างกายมนุษย์
ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติอย่างมีระบบ ระเบียบ  โดย ไม่มีอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม ภายนอก   เช่น  ความพร้อมของกล้ามเนื้อ ต่อมต่างๆที่ช่วยให้เกิดพฤติกรรม
การเรียนรู้  (Learning)   หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมหรือ การแสดงออกที่มีผลจากประสบการณ์ หรือการฝึก  การเรียนรู้มี  3  ชนิดคือ
1.  การเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไข (Condition  Learning) 1.1  การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical  Condition  Learning) 1.2  การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant  Condition  Learning)
 
 
 
2.  การเรียนรู้แบบการหยั่งเห็น    (Insignt  Learning)   โคเลอร์ทดลองกับลิงซิมแปนซี
 
ความสำคัญของการเรียนรู้แบบหยั่งเห็น 1)  ผลลัพท์ของการแก้ปัญหาจะ เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดเสมอ 2)  ประสบการณ์ในอดีตมีส่วน ช่วยให้เกิดการหยั่งเห็น
3)  การหยั่งเห็นเกิดจากการที่ ร่างกายของผู้เรียนรับรู้ความสัมพันธ์ ของเหตุการณ์ที่ปรากฎอยู่
3.  การเรียนรู้แบบตอบสนองหลายๆอย่าง (Multiple  Response  Learning) 1)  การเรียนรู้ทักษะประเภทสัมผัส และกล้ามเนื้อ
2)  การเรียนแบบท่องจำขึ้นใจ 1. จำแบบลำดับ  2.  จำแบบคู่สัมพันธ์ 3)  การเรียนรู้แบบใช้เครื่องหมาย 4.  การปรับตัวของมนุษย์
ทฤษฎีการเรียนรู้ 1.  กลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 1.1  ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไข แบบคลาสสิก 1.2  ทฤษฎีการเรียนรู้เงื่อนไข การกระทำ
1.3  ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสัมพันธ์ เกี่ยวโยง  (Connection’s Theory) ธอร์นไดด์  เน้นเรื่องการลองผิดลองถูก ทดลองกับแมว
ธอร์นไดด์วางกฎแห่งการเรียนรู้  3  กฎ 1.  กฎแห่งความพร้อม  (Law  of  Readiness) 2.  กฎแห่งการฝึกหัด (Law  of  Exercise) 3.  กฎแห่งผลได้ (Law  of  Effect)
2.  กลุ่มทฤษฎีปัญญาสังคม   พัฒนา มาจากทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของ แบนดูร่า  อธิบายว่า  การเรียนรู้ของ มนุษย์ส่วนหนึ่งเกิดจาก การเลียนแบบ จากตัวแบบ  (Model)
มนุษย์เรียนรู้จากการสังเกตและ คิดเชิงเหตุผลจากตัวแบบ
3.  สติปัญญาและความคิด (Intelligence  and  Thought) ความหมาย สติปัญญา  (Intelligence)  หมายถึง สภาพของสมองที่แสดงความสามารถ ในด้าน การจำ  การคิด   ( คิดอย่างมีเหตุผล
คิดเป็นนามธรรม  คิดอย่างสร้างสรรค์ ) การตัดสินใจ  การแก้ปัญหา ( เฉพาะหน้า ) และ การปรับตัว ของบุคคลต่อสถานการณ์ หรือสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แหล่งของสติปัญญา 1.  อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส 2.  กล้ามเนื้อ 3.  สมองและระบบประสาทส่วนกลาง
ความสำคัญของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ที่มีต่อพัฒนาการทางสติปัญญา 1.  อิทธิพลของพันธุกรรมต่อความสามารถ ทางสติปัญญา *  การถ่ายทอดของยีน  (Gene) *  เพศ *  ขนาดของครอบครัว  และอัตราเกิด
ศักยภาพทางสติปัญญาได้รับถ่ายทอด จากพันธุกรรม   แต่ความสามารถใน การใช้ศักยภาพทางสติปัญญาได้รับ อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม
2.  อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อ ความสามารถทางสติปัญญา *  ฐานะทางสังคม *  เศรษฐกิจของครอบครัว *  โอกาสในการศึกษา *  ภาวะโภชนาการในระยะแรกๆ ของชีวิต
*  ปัจจัยสภาพแวดล้อมบางอย่าง ที่ส่งผลต่อบุคคลเป็นระยะเวลาสั้นๆ เช่น  การเจ็บป่วย  การได้รับรางวัล การถูกลงโทษ
การวัดเชาวน์ปัญญาและแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา *  นักจิตวิทยา  นักวัดผล  และนักวิทยา - ศาสตร์สร้างเครื่องมือวัดเชาวน์ปัญญา ที่เป็นวิทยาศาสตร์เป็นเวลาประมาณ 100  กว่าปีเริ่มจากยุโรปราวศตวรรษที่ 19  เป็นต้นมา
ฌอง  เอสกิโรล์  (Jean  Esquirol) *  แบ่งระดับความเสื่อมของสมอง ออกเป็น  2  ลักษณะใหญ่ๆ  โดยใช้ ความสามารถทางภาษาเป็นเกณฑ์
ลักษณะที่  1   ลักษณะโง่ 1)  โง่น้อย   ใช้ภาษาเข้าใจ ใกล้เคียงกับคนปกติ  แต่เรียนรู้ และรับรู้ช้ากว่า 2)  โง่มาก  เข้าใจคำพูดที่เป็น ประโยคได้  รู้คำศัพท์น้อยลง
ลักษณะที่  2   ลักษณะปัญญาอ่อน 1)  ปัญญาอ่อนน้อย  เข้าใจภาษา พูดเป็นคำๆ 2)  ปัญญาอ่อนปานกลาง   เข้าใจ การแสดงกิริยาท่าทางมากกว่า เข้าใจภาษาพูดและภาษาเขียน ชอบร้องไห้
3)  ปัญญาอ่อนมาก   ไม่เข้าใจ ภาษาและท่าทางเลย  พึ่งพาผู้อื่น เสมอ
เออดัวด์  เซอแกวง  (Edouard  Seguin)
[object Object],[object Object],[object Object]
*  เชื่อว่าบุคคลที่มีอาการเสื่อมทาง สมอง  ถ้าได้รับการช่วยเหลืออย่าง ถูกต้องสามารถปรับปรุงพฤติกรรม ให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและ สังคมของพวกเขาได้
*  ในปี ค . ศ  1848  เซอแกวงฝึกฝน บุคคลด้วยวิธีการต่างๆที่เรียกว่า “ การฝึกการสัมผัส  (Sense-training) และ “การฝึกกล้ามเนื้อ  (Muscle -training)”
*  สร้างแบบทดสอบเชาวน์ปัญญา ไม่ใช้ภาษา คือ  Sequin Form Board
เซอร์  ฟรานซิส  แกลตัน (Sir  Francis  Galton)
*  เป็นบุคคลแรกที่พยายามใช้วิธีการ ทดสอบในการวัดเชาวน์ปัญญา
*  สนใจเรื่องพันธุกรรม  ต้องการวัด คุณลักษณะของคนที่เกี่ยวข้องกัน ทางสายโลหิต  โดยสร้างเครื่องมือ ที่สามารถวัดลักษณะทางกายและ จิตใจ  เรียกว่า  “ Galton  Bar”
* Galton  Bar  สามารถวัดลักษณะ ใหญ่ๆได้  3  ประเภท 1)  ความเร็วในการมองเห็น (Keeness  of  Vision) 2)  ความเร็วในการได้ยิน (Keeness  of  Hearing)
3)  การประสานงานของอวัยวะ ต่างๆ   (Motor  Coordination) *  ผลการทดสอบพบว่าคนที่เกี่ยวข้อง ทางสายโลหิตมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
เจมส์  แมคคีน  แคทเทลล์ (James  Mckeen  Cattell)
*  เป็นบุคคลแรกที่ใช้  “การทดสอบ ทางสมอง  (Mental  test)”
วัดด้านต่างๆ  เช่น  ความแข็งแกร่งของ กล้ามเนื้อ  ความรวดเร็วในการเคลื่อนไหว ความไวต่อความรู้สึกเจ็บปวด  ความเฉียบคมในการมองเห็นและการได้ยิน การจำแนกน้ำหนัก  ความไวในการตอบ - สนอง  ความจำ  ความแม่นยำในการ เคลื่อนไหวด้วยมือ  ฯลฯ
อัลเฟรด  บิเนต์  (Alfred  Binet)
*  ได้รับการยกย่องว่าเป็น  “ บิดาแห่งเชาวน์ปัญญา”
*  ปี ค . ศ  1905  อัลเฟรด บิเนต์ และ ธีโอดอร์  ซีมอง  สร้างแบบทดสอบชื่อ “ บิเนต์ - ซีมอง  สเกล  (Binet-Simon Scale)”   โดยเน้นหนักด้านการตัดสินใจ ความเข้าใจในสิ่งต่างๆและความมีเหตุผล
*  ปี ค . ศ . 1908  แบบทดสอบชุด บิเนต์ - ซีมองปรับปรุงให้สามารถ วัดเชาวน์ปัญญาเด็กที่มีอายุระหว่าง 3-11  ปี
*  ปี ค . ศ . 1911  แบบทดสอบชุด บิเนต์ - ซีมองปรับปรุงให้สามารถ วัดเชาวน์ปัญญาเด็กที่มีอายุระหว่าง 3-18  ปี
*  ปี ค . ศ . 1916  เลวิส เอ็ม เทอร์แมน นำแบบทดสอบชุดบิเนต์ - ซีมอง  ของปี ค . ศ . 1905  ไปปรับปรุงใหม่  ใช้ชื่อว่า “ แบบทดสอบสแตนฟอร์ด - บิเนต์ วัดเชาวน์ปัญญาเด็กที่มีอายุระหว่าง 2-16  ปี”
*  แต่ละระดับอายุจะมี  6  ข้อทดสอบ ให้คะแนนเป็นอายุสมอง  (Mental age)  ข้อละ  2  เดือนของระดับอายุ นั้น  จะใช้อายุสมองเป็นเกณฑ์ใน การเปรียบเทียบ
วิลเลี่ยม  สเติร์น  (William  Stern)
*  มีความเห็นว่าการรู้อายุสมอง  (Mental age  หรือ  MA)  เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถ บอกได้ว่าฉลาดหรือโง่  จนกว่าจะได้เทียบ กับอายุจริง  (Chronological age  หรือ  CA)
*  สเติร์นเป็นบุคคลแรกที่บัญญัติคำว่า “ ระดับเชาวน์ปัญญาหรือเกณฑ์ภาคเชาวน์” (Intelligence  Quotient  หรือ  IQ)   อายุสมอง  (M.A) I.Q  =  X 100   อายุจริง  (C.A)
เดวิด  เวคสเลอร์  (David  Wechsler)
*  สร้างแบบทดสอบสำหรับผู้ใหญ่ขึ้น ในปี ค . ศ . 1939  ชื่อว่า  “เวคสเลอร์ เบลเลวู  สเกล”  (Wechsler  Bellevue Scale)
*  ค . ศ . 1949  เวคสเลอร์สร้างแบบทดสอบ เชาวน์ปัญญาเด็กอายุไม่เกิน  15  ปี  เรียกว่า Wechsler  Intelligence  Scale  for  Children  หรือ  WISC
*  ปี ค . ศ . 1955 The Wechsler  Bellevue Intelligence  Scale)  เปลี่ยนชื่อเป็น Wechsler  Adult  Intelligence  Scale หรือ  WAIS
*  ปี ค . ศ . 1960  เวคสเลอร์สร้างแบบ ทดสอบเชาวน์สำหรับเด็กอายุ  4-6  ปีครึ่ง ชื่อว่า  Wechsler  Preschool and  Primary  Scale  of  Intelligence  หรือ WPPSI
การวัดระดับสติปัญญาในประเทศไทย *  พ . ศ . 2470-2475  พระยาเมธาธิบดี *  ศาสตราจารย์ ดร .  มล . ตุ้ย ชุมสาย “ แบบทดสอบวิสัยสามารถ ในการเรียนรู้”
*  ศาสตราจารย์ ดร . ชัชวาล  แพรัตกุล เป็นบุคคลแรกที่สร้างแบบทดสอบ มาตรฐานวัดความถนัดทางการเรียน เมื่อปี พ . ศ . 2513
?
?
?
ความคิด  (Thought) 1.  การคิดที่ไม่มีจุดมุ่งหมายหรือ การคิดแบบเชื่อมโยง  (Associative Thinking)   คือการปล่อยจิตใจไป เรื่อยๆ  ไม่มีจุดหมายปลายทางที่แน่ชัด
1)  การเชื่อมโยงเสรี  (Free Association) 2)  การฝันกลางวัน  (Day Dreaming) หรือ เพ้อฝัน  (Fantasy) 3)  การฝันขณะหลับ  (Night Dreaming)
2.  การคิดที่มีจุดมุ่งหมาย  (Directed Thinking)   เป็นการคิดทบทวน เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุด 1)  การอุปนัย  (Induction)   หมายถึง การสรุปกฎเกณฑ์จากผลการสังเกต เป็นบางส่วน
2)  การนิรนัย  (Deduction)   หมายถึง การคิดจากข้อความหนึ่งไปยังอีก ข้อความหนึ่งตามหลักตรรกวิทยา 3)  การแก้ปัญหา  (Problem Solving)
ทฤษฎีพัฒนาการการคิดของฌอง  เพียเจท์ 1.  ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (Sensorimotor phase) อายุ  0-2  ปี  เด็กพัฒนาสติปัญญา โดยการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมด้วยการใช้ ประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว เพื่อรับรู้และกระทำต่างๆ
2.  ขั้นเริ่มคิดเริ่มเข้าใจ  (Preopera- tional thought period) 2.1  คิดเบื้องต้น  (Preopera- tional) 2-4  ปี 2.2  คิดออกเอง โดยไม่ต้อง ใช้เหตุผล  (Intuitive) 4-7  ปี
3.  ขั้นใช้ความคิดเชิงรูปธรรม (Concrete operation) 7-12  ปี  คิดอย่างมีเหตุผล  รู้จักแบ่งแยก จัดหมวดหมู่  ลำดับสิ่งของต่างๆ จากเล็ก ไปใหญ่
4.  ขั้นใช้ความคิดเชิงนามธรรม (Cognitive Thought  หรือ Formal operation)  12  ปีขึ้นไป คิดรวบยอด  คิดในเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์  ตีความหมาย  ตั้งข้อ สมมติฐานและทดสอบข้อสมมติฐานได้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคิดและ วิธีส่งเสริมการรู้คิด 1.  ครอบครัวกับการอบรมเลี้ยงดู 1)  พ่อแม่ควรระลึกว่าพัฒนาการ ทุกด้านเกี่ยวข้องกัน 2)  พ่อแม่จัดหาประสบการณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก
3)  ฝึกเด็กให้รู้จักพึ่งตนเองอย่างอิสระ 4)  พ่อแม่และสมาชิกทุกคนใน ครอบครัวรวมทั้งเด็กต้องช่วยกันสร้าง สัมพันธ์อันดีและสร้างสรรค์ต่อกัน
2.  โรงเรียน 1)  โรงเรียนสามารถตอบสนองความ ต้องการและความสนใจของเด็ก 2)  ครูต้องเรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติ ของเด็ก 3)  เนื้อหาในหลักสูตรและวิธีสอน ควรสอดคล้องกับธรรมชาติของเด็ก
4)  โรงเรียนต้องถือเป็นหน้าที่สำคัญ ในการจัดประสบการณ์ที่มีความหมาย แก่เด็ก
4.  ความเชื่อและค่านิยม (Belief  and  Value) ความเชื่อ หมายถึง  ความคิดและความเข้าใจของ บุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งอันเป็นเหตุ ให้บุคคลแสดงพฤติกรรม
ประเภทของความเชื่อ โรคีช  ประเภทของความเชื่อมี  4  ประเภท 1.  ความเชื่อตามที่เป็นอยู่  สิ่งใดจริง - เท็จ  ถูก - ผิด 2.  ความเชื่อเชิงประเมินค่า  แฝงความ รู้สึก
3.  ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทำ - ไม่ ควรทำ 4.  ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุ
การเกิดความเชื่อ 1.  การเกิดของความเชื่อที่เกิดจาก ประสบการณ์ตรง 2.  การเกิดของความเชื่อที่เกิดจากการ อนุมาน
*  การอนุมานลักษณะเดียวกันของ ที่หมายประเภทเดียวกัน *  การอนุมานจากความเชื่อหลายอย่าง ที่เกิดจากประสบการณ์ตรง *  การอนุมานจากความเชื่ออย่างเดียว ที่ได้รับข่าวสารมา
*  การอนุมานจากความเชื่อหลายอย่าง ที่ได้รับข่าวสารมา *  การอนุมานจากความเชื่อที่เกิดจาก ประสบการณ์ตรงผนวกกับความเชื่อ ที่เกิดจากการได้รับข่าวสาร
การเปลี่ยนความเชื่อ 1.  การเปลี่ยนความเชื่อที่เกิดจาก ประสบการณ์ตรง 2.  การเปลี่ยนความเชื่อที่เกิดจากการ ได้รับข่าวสาร
3.  การเปลี่ยนความเชื่อที่เกิดจากการ อนุมาน  ชักชวนตามประเพณี ชักชวนทางลบ  ชักชวนทางบวก
ค่านิยม หมายถึง  ความคิดของบุคคลที่มีต่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ว่าสิ่งนั้นมีคุณค่า
ลักษณะของค่านิยม 1.  ค่านิยมส่วนบุคคล 2.  ค่านิยมของสังคม
ความสำคัญของค่านิยม 1.  ค่านิยมเป็นตัวนำทางในการดำเนินชีวิต 2.  ค่านิยมเป็นมาตรฐานในการตัดสินใจ ตนเองและผู้อื่น 1)  ค่านิยมนำบุคคลให้มีจุดยืนในเรื่องที่ โต้แย้งกันทางสังคม
2)  ค่านิยมกำหนดล่วงหน้าให้บุคคลชอบ อุดมการณ์ทางการเมืองหรือศาสนา บางแนวมากกว่าบางแนว 3) ค่านิยมชี้แนะการแสดงตนต่อผู้อื่น 4)  ค่านิยมการแนะยกย่องและตำหนิ ตนเองและผู้อื่น
5)  ค่านิยมช่วยให้บุคคลเปรียบเทียบ ความสามารถและจริยธรรมของตนกับ ผู้อื่น 6)  ค่านิยมเป็นมาตรฐานให้บุคคลมี อิทธิพลต่อคนอื่น 7)  ค่านิยมช่วยให้บุคคลหาเหตุผล เข้าข้างตนเองได้
3.  ค่านิยมเป็นตัวก่อหรือขจัดความ ขัดแย้งในตนเองและผู้อื่น 1)  ค่านิยมเป็นตัวก่อหรือขจัด ความขัดแย้งในตนเอง *  ความขัดแย้งแบบรักพี่เสียดายน้อง  * *  ความขัดแย้งแบบหนีเสือปะจระเข้  *
*  ความขัดแย้งแบบเกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง  * 2)  ค่านิยมเป็นตัวก่อหรือขจัดความ ขัดแย้งกับผู้อื่น
5.  เจตคติ  (Attitude) หมายถึง  ความรู้สึก  ความคิดเห็น หรือท่าทีของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ความรู้สึก เป็นองค์ประกอบทางด้านอารมณ์ ความคิดเห็น เป็นองค์ประกอบด้านปัญญา ท่าที เป็นองค์ประกอบด้านพฤติกรรม
การเกิดเจตคติ เจตคติเกิดจากการเรียนรู้  5  วิธี 1.  จากการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก 2.  จากการแผ่ขยายสิ่งเร้า 3.  จากการวางเงื่อนไขการกระทำ 4.  จากการสังเกต 5.  จากความเชื่อ
แหล่งที่มีอิทธิพลต่อการเกิด และการเปลี่ยนเจตคติ 1.  ครอบครัว 2.  ผู้อื่นที่ได้พบปะ 3.  สื่อมวลชน 4.  ประสบการณ์ทางตรงกับ ที่หมายของเจตคติ
6.  อารมณ์  (Emotion) *  มาจากภาษาลาติน  “ Emovere” หมายถึง “ to  Stir”  หรือ “ up Set”  หมายถึง ความรีบด่วน  หรือ ความปั่นป่วน  อันเนื่องมาจากความ เร่าร้อนหรือความตื่นเต้น
 
อารมณ์  แบ่งเป็น  2  ประเภท 1.  อารมณ์ที่ให้ความสุข  ได้แก่ อารมณ์สนุก  อารมณ์รัก  เป็นต้น 2.  อารมณ์ที่ให้ความทุกข์  ได้แก่ อารมณ์โกรธ  อารมณ์เศร้า  อารมณ์ กลัว  อารมณ์กังวล  อารมณ์สงสาร
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับอารมณ์ 1.  ทฤษฎีของเจมส์ - เลงก์ (James-Lange Theory of Emotion) 2.  ทฤษฎีของแคนนอน - บาร์ด  (Cannon-Bard) 3.  ทฤษฎีอารมณ์ของแมคดูกัลล์  (McDougall  Theory)
ทฤษฎีของเจมส์ - เลงก์ (James-Lange Theory  of Emotion)
*  วิลเลี่ยม  เจมส์  เชื่อว่า  เมื่อร่างกาย ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า  จะแสดง ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งเร้านั้นทันที พฤติกรรมดังกล่าวจะบ่งบอกว่าบุคคล นั้นกำลังเผชิญกับสภาพอารมณ์ชนิดใด
เช่น  ทันทีที่เผชิญหน้ากับสัตว์ร้ายโดย ไม่คาดฝัน  บุคคลจะมีพฤติกรรมหรือ อาการตัวสั่น  และวิ่งหนี  หลังจาก พฤติกรรมเกิดขึ้นแล้วจึงจะรู้สึกกลัว
*  คาร์ล  เลงก์  นักสรีรวิทยาชาวเดนมาร์ก เชื่อว่าอารมณ์เป็นผลที่เกิดจากการมี ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งเร้าต่างๆ มากกว่า จะเป็นสาเหตุที่ทำให้ร่างกายแสดง พฤติกรรมต่างๆออกมา
  * สรุป * สิ่งเร้าต่างๆเป็นตัวการที่ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา หมายถึงการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมของ ระบบอวัยวะภายใน  และพฤติกรรม การแสดงออกที่สามารถสังเกตได้ อย่างชัดเจน
การเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นเป็นสิ่งกระตุ้น ให้ประสาทสัมผัสภายในได้รับข้อมูล เพื่อรู้สำนึกในการแปลความรู้สึกเป็น อารมณ์ต่างๆ  เช่น  เสียใจ  โกรธ  กลัว
ทฤษฎีของแคนนอน - บาร์ด (Cannon-Bard) *  วอลเตอร์  บี  แคนนอน  เสนอแนวคิด ทางประสาทสรีรวิทยา  เรียกว่า  ทฤษฎี ศูนย์ประสาท  (Central Neural Theory)
กล่าวว่า  สิ่งเร้าในสภาวะแวดล้อมต่างๆ จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมในศูนย์ ของสมองได้แก่  ทาลามัส   เป็นอันดับแรก กระแสประสาทจากทาลามัสจะถูกส่งไปยัง สมองส่วนผิวทำให้รับรู้สภาพอารมณ์ต่างๆ
ขณะเดียวกันกระแสประสาทจากทาลามัส อีกส่วนหนึ่งจะถูกส่งไปยัง ระบบประสาท อัตโนมัติและอวัยวะภายในร่างกาย  ทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาต่างๆ เช่น  การเปลี่ยนแปลงความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ
*  ฟิลิป  บาร์ด  นักสรีรวิทยาชาวอเมริกัน กล่าวว่า  สมองมีศูนย์กลางเฉพาะที่ทำ หน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการทางอารมณ์ ศูนย์กลางดังกล่าวอยู่ในบริเวณ ทาลามิค - ไฮโปทาลามิค   ซึ่งทำให้การตอบสนอง ทางกายและอารมณ์เกิดขึ้นเวลาเดียวกัน
กล่าวคือ  หลังจากการรับรู้สิ่งเร้าแล้ว กระแสประสาทจะผ่านไปยังทาลามัส แล้วส่วนหนึ่งจะแยกไปยัง สมองส่วนผิว ทำให้เกิดการรับรู้ภาวะอารมณ์  อีกส่วน หนึ่งแยกไป กล้ามเนื้อและระบบอวัยวะ ภายใน   ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการ ทำงานของระบบต่างๆไปพร้อมกัน
สรุป สมองส่วนที่เรียกว่า  ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus)  ควบคุมการเกิดอารมณ์ ของมนุษย์และสัตว์
 
ทฤษฎีอารมณ์ของแมคดูกัลล์ (McDougall  Theory) เชื่อว่า อารมณ์เป็นสภาพที่อยู่ในจิตสำนึก และสัญชาตญาณติดตัวมาแต่เกิด  เป็น ปฏิกิริยาที่ควบคู่กัน   เช่น  สัญชาตญาณหนีภัยคู่กับอารมณ์กลัว สัญชาตญาณต่อสู้คู่กับอารมณ์โกรธ
การควบคุมอารมณ์ 1.  ฝึกระงับอารมณ์ที่รุนแรง  อดทน 2.  พยายามหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่จะ ก่อให้เกิดความเครียด 3.  เมื่อมีเรื่องทำให้ไม่สบายใจ  ระบาย ให้ผู้ที่ไว้ใจฟัง
4.  สร้างอารมณ์ที่พึงปรารถนาให้เกิดขึ้น 5.  หากหลีกเลี่ยงเรื่องที่ก่อให้เกิดความ ไม่สบายใจไม่ได้  ให้ทำใจและมองโลก ในแง่ดี
7.  แรง จูงใจ  (motivation) หมายถึง  กระบวนการที่บุคคลถูก กระตุ้นจากปัจจัยต่างๆ ทำให้เกิด แรงผลักดันให้แสดงพฤติกรรม ออกมาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ตามที่ผู้ทำการชักจูงใจกำหนด
*  พฤติกรรมที่ถูกกระตุ้นหรือถูกเร้า ให้แสดงออกมาเรียกว่าพฤติกรรม ที่ถูกจูงใจ  ซึ่งจะแสดงออกมา 3  ลักษณะ 1.  มีพลัง  แสดงออกด้วยกิริยา อย่างใดอย่างหนึ่งในลักษณะที่เป็น การเพิ่มพลัง
2.  มีทิศทาง  ต้องมุ่งไปทางใด ทางหนึ่ง 3.  การดำรงไว้  เป็นการรักษา ระดับของพฤติกรรมให้ดำรงอยู่
*  สิ่งที่จะมาเร้าหรือผลักดันให้เกิด พฤติกรรมต่างๆขึ้นมาได้นั้น  ต้องเป็น สิ่งที่จะทำให้บุคคลเกิดความต้องการ และเกิดความสนใจ  อาจเป็น สิ่งเร้า ภายนอกที่มาล่อหรือสิ่งเร้าภายใน *  การจูงใจเป็นกระบวนการที่ ไม่อยู่นิ่ง  เกิดต่อเนื่องเป็นวัฏจักร
องค์ประกอบของการจูงใจ 1.  ภาวะที่กำลังถูกเร้า  ได้แก่ ความต้องการ  แรงขับหรือแรงจูงใจ 2.  พฤติกรรมที่ถูกจูงใจ  เกิดขึ้น เพราะถูกเร้า
3.  ภาวะที่อินทรีย์ไปสู่เป้าหมาย ทำให้เกิดความพึงพอใจและ สภาพการเร้าลดลง
ความต้องการ  แรงขับ หรือแรงจูงใจ เกิดความพึงพอใจ เป้าหมาย  รางวัล หรือสิ่งล่อใจ พฤติกรรมที่ถูก จูงใจหรือถูกเร้า
ลักษณะของการจูงใจ 1.  การจูงใจภายใน  (intrinsic motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลต้องการที่จะกระทำหรือ เรียนรู้บางสิ่งบางอย่างด้วยตนเอง  โดย ไม่ต้องอาศัยการชักจูงจากสิ่งเร้าภายนอก ได้แก่  ความต้องการ  ความรู้สึกนึกคิด ความสนใจ  หรือเจตคติ ของแต่ละบุคคล
2.  การจูงใจภายนอก (extrinsic motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลรับการกระตุ้นจาก สิ่งเร้าภายนอก  เร้าให้เกิดความต้องการ และแสดงพฤติกรรมไปสู่เป้าหมายนั้น ได้แก่  การเสริมแรงด้วยสิ่งล่อใจ  รางวัล
ความต้องการ *  กระบวนการจูงใจจะเกิดขึ้นตลอดเวลา เนื่องจากร่างกายมีความต้องการและ แรงขับ *  ความต้องการเกิดจากความขาดแคลน ภายในร่างกาย  ทำให้ร่างกายขาดความ สมดุลย์
ความต้องการแบ่งเป็น  2  ประเภท 1.  ความต้องการทางด้านร่างกาย เป็นความต้องการที่มีพลังผลักดัน ทางร่างกาย  ได้แก่  ความต้องการ เพื่อให้อวัยวะภายในร่างกายทำงาน ตามปกติ หรืออยู่ในภาวะสมดุลย์
เช่น  ความต้องการอาหาร  น้ำ อากาศ  การพักผ่อนนอนหลับ การขับถ่าย  การออกกำลังกาย  ความต้องการทางเพศ  ความ ต้องการการเคลื่อนไหว
2.  ความต้องการทางด้านจิตใจและสังคม เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ และอารมณ์  ได้แก่  ความต้องการความ ปลอดภัย  ความรักความอบอุ่น  การ ยอมรับนับถือ  ความสำเร็จ  ความต้องการ ให้สังคมยอมรับ  ความต้องการเกียรติยศ ชื่อเสียง
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs  Theory) การเข้าใจตนเอง (Self Actualization) ได้รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs) ความปลอดภัย  (Safety needs) ทางด้านร่างกาย  (Physiological needs) ความรักและความเป็นเจ้าของ (Belongingness and love needs)
สาระสำคัญของทฤษฎีลำดับขั้น ความต้องการของมาสโลว์ 1.  ความต้องการของบุคคลจัดลำดับ ความสำคัญจากต่ำสุดไปสู่ระดับสูงสุด
2.  เมื่อความต้องการอย่างหนึ่งได้รับ การตอบสนอง  ความต้องการนั้นจะลด ความสำคัญลง  แต่จะเกิดความต้องการ อย่างอื่นเข้ามาแทนที่
3.  เมื่อความต้องการระดับต่ำได้รับ การตอบสนองแล้ว  จะเกิดความ ต้องการในระดับที่สูงขึ้น
4.  ความต้องการยิ่งอยู่ในระดับสูง ความรีบด่วนที่จะตอบสนองเพื่อ คงชีวิตอยู่จะยิ่งน้อยลง  เลื่อนระยะ เวลาออกไปได้มาก  และมีโอกาส หายไปได้ง่าย 5.  ความต้องการต่างๆในแต่ละระดับ จะเกี่ยวเนื่อง  และเหลื่อมล้ำกัน
แรงขับ หมายถึง  สภาพเร้าอันเกิดจากความ ต้องการภายในตัวอินทรีย์  ทำให้เกิด กิจกรรมต่างๆ  เช่น  ความหิว
*  ความต้องการและแรงขับเกิดควบคู่ กันเสมอ   ถ้าความต้องการมีมาก  แต่ แรงขับไม่ได้สูงตามไปด้วย  พฤติกรรม จะไม่เกิด
ประเภทของแรงขับ 1.  แรงขับปฐมภูมิ  (Primary  Drive) 2.  แรงขับทุติยภูมิ (Secondary  Drive)
1.1  แรงขับทางด้านสรีระ (Physiological  Drive) 1.  แรงขับปฐมภูมิ  (Primary  Drive) 1.2  แรงขับทั่วไป  (General  Drive)
1.1  แรงขับทางด้านสรีระ (Physiological  Drive) *  เกิดจากความต้องการของร่างกาย หรือสภาวะภายในร่างกาย  ถ้าร่างกาย ขาดแคลน  เสียสมดุลย์
จะเกิดความต้องการและแรงขับขึ้น เพื่อกระตุ้นให้แสดงพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อทำให้ร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลย์ เรียกว่า  “โฮมิโอสแตซิส” (Homiostasis)
แรงขับทางด้านสรีระ  ได้แก่ ( ก )  ความอุ่น  ความเย็นและความเจ็บปวด อวัยวะรับสัมผัสจะรับความอุ่น ความเย็น และความเจ็บปวด  ส่งไปยังสมองส่วน ไฮโปทาลามัส
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ ร่างกายทั้งหมด  และมีปฏิกิริยาโดยตรง กับอุณหภูมิของเลือดที่ไหลผ่านไป  ดังนั้นอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง สมองจะสั่งให้ร่างกายแสดงพฤติกรรม
( ข )  ความหิว   เกิดจากการขาดสารเคมี บางอย่างในเลือด  ทำให้กระเพาะอาหาร หดตัว  รู้สึกเจ็บแสบในกระเพาะอาหาร
( ค )  ความกระหาย   เกิดจากปริมาณน้ำ ของเซลล์ในร่างกายลดลง  โดยเฉพาะ ที่ไฮโปทาลามัสมีนิวโรนกลุ่มหนึ่ง มี่เร็วต่อการสูญเสียน้ำของร่างกาย ส่งกระแสความรู้สึกไปยังสมอง ทำให้รู้สึกกระหายน้ำ
( ง )  การนอนหลับ   เป็นแรงขับที่ต้องการ ให้อยู่เฉยๆ  ให้ร่างกายซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอ  และขจัดความเมื่อยล้า
( จ )  แรงขับทางเพศ  มีองค์ประกอบ 2  ประการคือ 1)  ฮอร์โมนเพศ  ต่อมเพศ (Gonad  gland)  ในเพศชายอัณฑะ จะสร้างฮอร์โมนเพศเรียกว่าแอนโดรเจน และรังไข่ ในเพศหญิงจะสร้างเอสโตรเจน ทำหน้าที่พัฒนาลักษณะทุติยภูมิทางเพศ 2)  การเรียนรู้
( ฉ )  แรงขับในการเป็นแม่   ได้รับอิทธิพล จากฮอร์โมนโปรแลคตินที่ต่อมพิทูอิทารี หลั่งออกมาขณะตั้งครรภ์  และหลังจาก คลอดแล้วทำให้แม่มีความต้องการปกปัก รักษาลูก  หรือเตรียมตัวเพื่อที่จะเลี้ยงลูก
1.2  แรงขับทั่วไป   เป็น แรงจูงใจ ทางจิตวิทยา   หรือแรงจูงใจที่ เกิดจากความต้องการพื้นฐาน ทางจิตใจ  ได้แก่
( ก )  การประกอบกิจกรรม ธรรมชาติของสัตว์มีการเคลื่อนไหว และโต้ตอบต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอด เวลา ( ข )  ความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจในสิ่งแปลกๆใหม่ๆ  ซึ่ง ความสนใจนั้นจะเร้าให้เกิดพฤติกรรม
( ค )  การจับต้อง   เป็นแรงขับที่จะ หยิบฉวย  จับต้อง  ทำโน่นทำนี่ กับวัตถุหรือสิ่งของ ( ง )  ความกลัว   จะเร้าให้คนหรือ สัตว์พยายามหลีกหนีจากสภาพการณ์ หรือวัตถุที่ทำให้เกิดความกลัว ความกลัวส่วนใหญ่เกิดจากการเรียนรู้
( จ )  ความรัก   เป็นแรงขับที่มีพลังมาก ต่อพฤติกรรมของมนุษย์  เกิดขึ้นได้เอง ตามวุฒิภาวะหรือเกิดจากการเรียนรู้
2.  แรงขับทุติยภูมิ  (Secondary  Drive) *  เป็นแรงขับที่เกิดจากการเรียนรู้ เรียกว่าแรงจูงใจทางสังคม  ได้แก่ ( ก )  ความผูกพันกับบุคคลอื่น ( ข )  การเป็นที่ยอมรับของสังคม
( ค )  ฐานะตำแหน่ง ( ง )  ความรู้สึกมั่นคง ( จ )  ความสำเร็จ ( ฉ )  ความเป็นอิสระ
การจูงใจในมนุษย์ *  แรงจูงใจที่สามารถเร้าให้แสดง พฤติกรรมออกมา  เรียกว่า ตัวเร้า แรงจูงใจ  (motivational  arousal)
*  แรงจูงใจที่ไม่ทำให้อินทรีย์ แสดงพฤติกรรมออกมา เรียกว่า แรงจูงใจแฝง  (motivational disposition)
ข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องแรงจูงใจ จากพฤติกรรมที่แสดงออกมา 1.  การแสดงออกของแรงจูงใจแต่ละคน จะแตกต่างกันไปตามการเรียนรู้  ประสบการณ์  2.  แรงจูงใจอย่างเดียวกัน  อาจทำให้ แสดงพฤติกรรมต่างกัน
3.  แรงจูงใจต่างกัน  อาจทำให้บุคคล แสดงออกมาเหมือนกัน 4.  แรงจูงใจหลายอย่างแสดงออกมา ในรูปปลอมแปลงได้  ได้แก่  การ แสดงออกมาในรูปความฝัน  อาการ ทางประสาท
5.  พฤติกรรมที่แสดงออกมาในขณะหนึ่ง อาจเกิดจากแรงจูงใจหลายๆ   อย่าง

More Related Content

What's hot

วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นapiromrut
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์suraidabungasayu
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 

What's hot (10)

วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NETข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NET
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 

Similar to การศึกษา

ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.PdfAwantee
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 

Similar to การศึกษา (20)

ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 

การศึกษา