SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141             ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส




                   ศูนย์ การเรียนที่ 3
              หน่ วยรับสั มผัสของผิวหนัง

                    ไปศึกษาต่ อกันเลยนะว่ าหน่ วยรับสั มผัส คืออะไร
                                     พบได้ ทไหนบ้ าง
                                            ี่




                                                ไปซิจ๊ะ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141               ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส   19




                                    บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3
                      หน่ วยรับสัมผัส (receptor) ของผิวหนัง

        โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
        1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
        2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง
        3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                  ้
        4.   สมาชิกปฏิบัติกจกรรมตามบัตรกิจกรรม
                              ิ
        5.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม      ิ
        6.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
        7.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                               ิ
             ขอให้ ทกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
                     ุ
             ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรมิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141             ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส   20




                                     บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3
                                            ้
                      หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง


                            บริเวณใดของผิวหนังสามารถรับสั มผัสได้ ดีทสุด
                                                                     ี่




                       รับรูเกี่ยวกับ วามเ บปวด


                            หนังกา รา
                                                                 รับรูเกี่ยวกับการสัมผัส

                                  หนัง

                                                                 รับรูเกี่ยวกับ วามดัน

                       รับรูเกี่ยวกับ วามเยน
                                                              รับรูเกี่ยวกับ วามรอน
                                    รับรูการสัมผัส


                                    หน่วยรับสัมผัสของผิวหนัง
        ทีมา: http://www.chiangyuen.ac.th/chiang/cai/nervous/nervous/skim.htm
          ่
              386 x 316 - 14k ( 29 เมษายน 2550 )

จุดประสงค์ การเรียนรู้
        1. นักเรียนสามารถบอกบริเวณรับสั มผัสความรู้ สึกต่ าง ๆ ของผิวหนังได้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141              ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส     21




                        หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง

         ผิวหนังเป็ นโครงสร้ างรับสิ่ งเร้ าภายนอก มีหน่ วยรับสั มผัส ( receptor ) ชนิดต่ าง ๆ
กระจายอยู่ในชั้ นและบริเวณต่ าง ๆ ของผิวหนังหนาแน่ นไม่ เท่ากัน ดังนี้
         1. รีเซบเตอร์ รับการสั มผัส มีอยู่มากตามปลายนิว ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้า มากกว่าบริเวณแขน
                                                               ้
ขา บริเวณทีมีขนจะมีรีเซบเตอร์ รับสั มผัสน้ อยกว่าบริเวณทีไม่ มีขน ปลายนิวมือ มีรีเซบเตอร์
              ่                                                  ่            ้
รับสั มผัสมากกว่าตอนกลาง และโคนนิวมือ     ้
         2. รีเซบเตอร์ รับร้ อน-หนาว ไม่ พบในอวัยวะภายใน จะพบหนาแน่ นบริ เวณหลังมือ
         3. รีเซบเตอร์ รับความรู้ สึกเจ็บปวด มีอยู่ทวไปบนผิวหนัง และตามอวัยวะบางอย่ าง
                                                        ั่
ทีอยู่ลกเข้ าไปข้ างในด้ วย บริ เวณทีมีอยู่น้อย เช่ น บริเวณต้ นแขน สะโพก ปลายประสาทรับรู้
  ่ ึ                                ่
เกียวกับความเจ็บปวดจะอยู่ช้ ั นบนสุ ดของผิวหนัง ( ชั้ นหนังกาพร้ า ) ปลายประสาทรั บรู้
   ่
เกียวกับแรงกดดัน จะอยู่ในระดับล่ างสุ ด ( ในชั้ นหนังแท้ )
     ่


            รับรูเกี่ยวกับ วามเ บปวด



                    หนังกา รา
                                                                    รับรูเกี่ยวกับการสัมผัส


                          หนัง


                                                                  รับรูเกี่ยวกับ วามดัน

           รับรูเกี่ยวกับ วามเยน

                         รับรูการรับสัมผัส                  รับรูเกี่ยวกับ วามรอน




                         ภาพแสดงหน่ วยรับสั มผัสความรู้ สึกของผิวหนัง
          ทีมา: http://www.chiangyuen.ac.th/chiang/cai/nervous/nervous/skim.htm
            ่
                386 x 316 - 14k ( 29 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141        ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส   22




                                     บัตรกิจกรรม
             การศึกษาความไวต่ อการสัมผัสแต่ ละบริเวณผิวหนัง

               1. ศึกษาบัตรงานที่ 1 แล้วร่ วมกันอภิปราย
                        - วางแผนการปฏิบัติงาน
                        - ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
               2. ให้ แต่ ละกลุ่มศึกษาความไวต่ อการสั มผัสแต่ ละบริเวณผิวหนัง
                  ใช้ เวลา 20 นาที
               3. สถานทีฝึกปฏิบัติโดยใช้ ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ห้ อง 331 อาคาร 3
                           ่
               4. ร่ วมกันอภิปรายผลการศึกษาความไวต่ อการสั มผัสแต่ ละบริเวณผิวหนัง
                  ลงในแบบบันทึกผลการปฏิบัติงาน
               5. รายงานผลการปฏิบัติงานหน้ าชั้นเรียน
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                                      ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส                23


                                                         บัตรงาน
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา ว42141
                        ิ                                       การรับรู้ และการตอบสนอง
 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5                         เรื่อง ศึกษาความไวแต่ ละบริเวณของผิวหนัง
 ...........................................................................................................................................
    จุดประสงค์ เ ื่อใหนักเรี ยนสามารถ อธิบายและบอกตาแหน่งที่ผวหนังสมารถรับสัมผัสได
                                                                    ิ
    วัสดุอุปกรณ์ 1. ลวดหนีบกระดาษ                   2. ไมบรรทัด
    วิธีทดลอง
    1. ใหผูถูกทดลองหลับตา แลวผูทดลองใชปลายลวดหนีบกระดาษ ซึ่งกางห่างกัน อสม วร
         แตะลง บริ เวณผิวหนังของผูถูกทดลอง โดยแตะดวยปลายขางเดียวบาง และแตะทั้งสองปลาย
         ใหผูถูกทดลองบอกว่าถูกแตะดวยปลายลวดกี่ขาง
    2. ปรับปลายลวดทั้ง 2 ขาง ใหชิดเขามาเปนระยะ ๆ แลวทดลองซ้ าตามขอ 1 เรื่ อย ๆ นกระทัง
                                                                                     ่
        ผูถูกทดลองไม่สามารถบอก วามแตกต่างระหว่างแตะดวยปลายลวด 1 ปลาย และ 2 ปลายได
        วัด วามห่างของปลายลวดในขณะนั้น แลวบันทึกไวในตาราง
    3. ลองทาเช่นเดียวกันตามบริ เวณต่าง ๆ ของร่ างกาย เช่น บริ เวณตน อ ปลายนิ้ว แขน
    ตารางบันทึกผลการทดลอง
บริ เวณของ ทดลอง             ระยะห่างของปลายลวด            านวนปลายลวดที่ถูกแตะ
ร่ างกาย          รั้งที่    หนีบกระดาษ ( cm )            1 ปลาย 2 ปลาย บอกไม่ได
     ตน อ              1                0.5
                       2                1.0
                       3                1.5
    ปลายนิ้ว           1                0.5
                       2                1.0
                       3                1.5
      แขน              1                0.5
                       2                1.0
                       3                1.5

 สรุ ปผลการทดลอง
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141          ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส   24


                                        เฉลยบัตรงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ วิชาชี ววิทยา ว42141
                       ิ                                           การรับรู้ และการตอบสนอง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5                             เรื่อง ศึกษาความไวแต่ ละบริเวณของผิวหนัง

ตารางบันทึกผลการทดลอง

  บริ เวณของ ทดลอง            ระยะห่างของปลายลวด           านวนปลายลวดที่ถูกแตะ
  ร่ างกาย    รั้งที่         หนีบกระดาษ ( cm )           1 ปลาย 2 ปลาย บอกไม่ได
       ตน อ        1                    0.5                         
                   2                    1.0                 
                   3                    1.5                 
  ปลายนิ้ว         1                    0.5                         
                   2                    1.0                         
                   3                    1.5                         
  แขน              1                    0.5                         
                   2                    1.0                 
                   3                    1.5                 

สรุ ปผลการทดลอง
         จากการทดลองจะเห็นได้ ว่าบริเวณปลายนิวสามารถบอกได้ ว่ามีจุดสั มผัสสองจุดแม้ ว่าจุด
                                                    ้
สั มผัสจะห่ างกันเพียงเล็กน้ อย ทั้งนี้ เพราะ บริเวณปลายนิ้วมีจานวนปลายประสาทรับสั มผัสมาก
ส่ วนบริเวณต้ นคอ และแขน บางจุดไม่ สามารถบอกได้ ว่ามีจุดรับสั มผัส สองจุด เพราะทีบริเวณ
                                                                                   ่
ต้ นคอ และ แขน มีปลายประสาทรับสั มผัสน้ อยกว่าบริเวณปลายนิว       ้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141            ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส   25




                                 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3
                    หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง

คาชี้แจง ให้ นักเรียนจับคู่ข้อความทีมความสั มพันธ์ กนมากทีสุดให้ ถูกต้ อง
                                    ่ ี             ั     ่



       1.   หน่ วยรับสั มผัส                             ก. ชั้นหนังแท้
       2.   รีเซบเตอร์ รับร้ อน-หนาว                     ข. ปลายนิวมือ
                                                                    ้
       3.   รีเซบเตอร์ รับการสั มผัส                     ค. ผิวหนัง
       4.   รีเซบเตอร์ รับความรู้ สึกเจ็บปวด             ง. หลังมือ
       5.   ปลายประสาทรับรู้ เกียวกับแรงกดดัน
                                  ่                      จ. ชั้นหนังกาพร้ า
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141             ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส   26




                                    บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3
                    หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง


                                         1.     ค
                                         2.     ง
                                         3.     ข
                                         4.     จ
                                         5.     ก



                  เก่ งมากเลย ไปศึกษาศู นย์ การเรี ยนต่ อไปเลยนะจ๊ ะ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
มม
มมมม
มมMM AK
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพFone Rati
 
ส ขศ กษาศ_ลปะการงาน
ส ขศ กษาศ_ลปะการงานส ขศ กษาศ_ลปะการงาน
ส ขศ กษาศ_ลปะการงานAoy Amm Mee
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันkrupornpana55
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นParishat Tanteng
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นfon_parichat
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18kkkkon
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10 (20)

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
มม
มมมม
มม
 
Skilllab2
Skilllab2Skilllab2
Skilllab2
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
 
ส ขศ กษาศ_ลปะการงาน
ส ขศ กษาศ_ลปะการงานส ขศ กษาศ_ลปะการงาน
ส ขศ กษาศ_ลปะการงาน
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 

More from Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบChok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9Chok Ke
 

More from Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
 

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส ศูนย์ การเรียนที่ 3 หน่ วยรับสั มผัสของผิวหนัง ไปศึกษาต่ อกันเลยนะว่ าหน่ วยรับสั มผัส คืออะไร พบได้ ทไหนบ้ าง ี่ ไปซิจ๊ะ
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 19 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3 หน่ วยรับสัมผัส (receptor) ของผิวหนัง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกปฏิบัติกจกรรมตามบัตรกิจกรรม ิ 5. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 6. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 7. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ุ ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรมิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 20 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3 ้ หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง บริเวณใดของผิวหนังสามารถรับสั มผัสได้ ดีทสุด ี่ รับรูเกี่ยวกับ วามเ บปวด หนังกา รา รับรูเกี่ยวกับการสัมผัส หนัง รับรูเกี่ยวกับ วามดัน รับรูเกี่ยวกับ วามเยน รับรูเกี่ยวกับ วามรอน รับรูการสัมผัส หน่วยรับสัมผัสของผิวหนัง ทีมา: http://www.chiangyuen.ac.th/chiang/cai/nervous/nervous/skim.htm ่ 386 x 316 - 14k ( 29 เมษายน 2550 ) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกบริเวณรับสั มผัสความรู้ สึกต่ าง ๆ ของผิวหนังได้
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 21 หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง ผิวหนังเป็ นโครงสร้ างรับสิ่ งเร้ าภายนอก มีหน่ วยรับสั มผัส ( receptor ) ชนิดต่ าง ๆ กระจายอยู่ในชั้ นและบริเวณต่ าง ๆ ของผิวหนังหนาแน่ นไม่ เท่ากัน ดังนี้ 1. รีเซบเตอร์ รับการสั มผัส มีอยู่มากตามปลายนิว ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้า มากกว่าบริเวณแขน ้ ขา บริเวณทีมีขนจะมีรีเซบเตอร์ รับสั มผัสน้ อยกว่าบริเวณทีไม่ มีขน ปลายนิวมือ มีรีเซบเตอร์ ่ ่ ้ รับสั มผัสมากกว่าตอนกลาง และโคนนิวมือ ้ 2. รีเซบเตอร์ รับร้ อน-หนาว ไม่ พบในอวัยวะภายใน จะพบหนาแน่ นบริ เวณหลังมือ 3. รีเซบเตอร์ รับความรู้ สึกเจ็บปวด มีอยู่ทวไปบนผิวหนัง และตามอวัยวะบางอย่ าง ั่ ทีอยู่ลกเข้ าไปข้ างในด้ วย บริ เวณทีมีอยู่น้อย เช่ น บริเวณต้ นแขน สะโพก ปลายประสาทรับรู้ ่ ึ ่ เกียวกับความเจ็บปวดจะอยู่ช้ ั นบนสุ ดของผิวหนัง ( ชั้ นหนังกาพร้ า ) ปลายประสาทรั บรู้ ่ เกียวกับแรงกดดัน จะอยู่ในระดับล่ างสุ ด ( ในชั้ นหนังแท้ ) ่ รับรูเกี่ยวกับ วามเ บปวด หนังกา รา รับรูเกี่ยวกับการสัมผัส หนัง รับรูเกี่ยวกับ วามดัน รับรูเกี่ยวกับ วามเยน รับรูการรับสัมผัส รับรูเกี่ยวกับ วามรอน ภาพแสดงหน่ วยรับสั มผัสความรู้ สึกของผิวหนัง ทีมา: http://www.chiangyuen.ac.th/chiang/cai/nervous/nervous/skim.htm ่ 386 x 316 - 14k ( 29 เมษายน 2550 )
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 22 บัตรกิจกรรม การศึกษาความไวต่ อการสัมผัสแต่ ละบริเวณผิวหนัง 1. ศึกษาบัตรงานที่ 1 แล้วร่ วมกันอภิปราย - วางแผนการปฏิบัติงาน - ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน 2. ให้ แต่ ละกลุ่มศึกษาความไวต่ อการสั มผัสแต่ ละบริเวณผิวหนัง ใช้ เวลา 20 นาที 3. สถานทีฝึกปฏิบัติโดยใช้ ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ห้ อง 331 อาคาร 3 ่ 4. ร่ วมกันอภิปรายผลการศึกษาความไวต่ อการสั มผัสแต่ ละบริเวณผิวหนัง ลงในแบบบันทึกผลการปฏิบัติงาน 5. รายงานผลการปฏิบัติงานหน้ าชั้นเรียน
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 23 บัตรงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา ว42141 ิ การรับรู้ และการตอบสนอง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เรื่อง ศึกษาความไวแต่ ละบริเวณของผิวหนัง ........................................................................................................................................... จุดประสงค์ เ ื่อใหนักเรี ยนสามารถ อธิบายและบอกตาแหน่งที่ผวหนังสมารถรับสัมผัสได ิ วัสดุอุปกรณ์ 1. ลวดหนีบกระดาษ 2. ไมบรรทัด วิธีทดลอง 1. ใหผูถูกทดลองหลับตา แลวผูทดลองใชปลายลวดหนีบกระดาษ ซึ่งกางห่างกัน อสม วร แตะลง บริ เวณผิวหนังของผูถูกทดลอง โดยแตะดวยปลายขางเดียวบาง และแตะทั้งสองปลาย ใหผูถูกทดลองบอกว่าถูกแตะดวยปลายลวดกี่ขาง 2. ปรับปลายลวดทั้ง 2 ขาง ใหชิดเขามาเปนระยะ ๆ แลวทดลองซ้ าตามขอ 1 เรื่ อย ๆ นกระทัง ่ ผูถูกทดลองไม่สามารถบอก วามแตกต่างระหว่างแตะดวยปลายลวด 1 ปลาย และ 2 ปลายได วัด วามห่างของปลายลวดในขณะนั้น แลวบันทึกไวในตาราง 3. ลองทาเช่นเดียวกันตามบริ เวณต่าง ๆ ของร่ างกาย เช่น บริ เวณตน อ ปลายนิ้ว แขน ตารางบันทึกผลการทดลอง บริ เวณของ ทดลอง ระยะห่างของปลายลวด านวนปลายลวดที่ถูกแตะ ร่ างกาย รั้งที่ หนีบกระดาษ ( cm ) 1 ปลาย 2 ปลาย บอกไม่ได ตน อ 1 0.5 2 1.0 3 1.5 ปลายนิ้ว 1 0.5 2 1.0 3 1.5 แขน 1 0.5 2 1.0 3 1.5 สรุ ปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 24 เฉลยบัตรงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ วิชาชี ววิทยา ว42141 ิ การรับรู้ และการตอบสนอง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เรื่อง ศึกษาความไวแต่ ละบริเวณของผิวหนัง ตารางบันทึกผลการทดลอง บริ เวณของ ทดลอง ระยะห่างของปลายลวด านวนปลายลวดที่ถูกแตะ ร่ างกาย รั้งที่ หนีบกระดาษ ( cm ) 1 ปลาย 2 ปลาย บอกไม่ได ตน อ 1 0.5  2 1.0  3 1.5  ปลายนิ้ว 1 0.5  2 1.0  3 1.5  แขน 1 0.5  2 1.0  3 1.5  สรุ ปผลการทดลอง จากการทดลองจะเห็นได้ ว่าบริเวณปลายนิวสามารถบอกได้ ว่ามีจุดสั มผัสสองจุดแม้ ว่าจุด ้ สั มผัสจะห่ างกันเพียงเล็กน้ อย ทั้งนี้ เพราะ บริเวณปลายนิ้วมีจานวนปลายประสาทรับสั มผัสมาก ส่ วนบริเวณต้ นคอ และแขน บางจุดไม่ สามารถบอกได้ ว่ามีจุดรับสั มผัส สองจุด เพราะทีบริเวณ ่ ต้ นคอ และ แขน มีปลายประสาทรับสั มผัสน้ อยกว่าบริเวณปลายนิว ้
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 25 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3 หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง คาชี้แจง ให้ นักเรียนจับคู่ข้อความทีมความสั มพันธ์ กนมากทีสุดให้ ถูกต้ อง ่ ี ั ่ 1. หน่ วยรับสั มผัส ก. ชั้นหนังแท้ 2. รีเซบเตอร์ รับร้ อน-หนาว ข. ปลายนิวมือ ้ 3. รีเซบเตอร์ รับการสั มผัส ค. ผิวหนัง 4. รีเซบเตอร์ รับความรู้ สึกเจ็บปวด ง. หลังมือ 5. ปลายประสาทรับรู้ เกียวกับแรงกดดัน ่ จ. ชั้นหนังกาพร้ า
  • 9. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 10 ผิวหนังและการรับสัมผัส 26 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3 หน่ วยรับสัมผัส ( receptor ) ของผิวหนัง 1. ค 2. ง 3. ข 4. จ 5. ก เก่ งมากเลย ไปศึกษาศู นย์ การเรี ยนต่ อไปเลยนะจ๊ ะ