SlideShare a Scribd company logo
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ห้อง342 กลุ่ม8
Embryonic
Development
in human
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของภาควิชาชีววิทยา(ว30243)
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2562
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครูชานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
กรุงเทพมหานคร
สมาชิก
นางสาว ชัญญา ปัญญาดิลกพงษ์ เลขที่ 2
นางสาว ชัญญา พรหมณีวิรัช เลขที่ 3
นางสาว นานา พรหมลิขิกชัย เลขที่ 8
นางสาว พรรณภัค กิริสัฒนศักดิ์ เลขที่ 13
นางสาว ภัทรดา พัฒทวี เลขที่ 16
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 342 กลุ่มที่ 8
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง
342 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอของการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอคน
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อท่านไม่มากก็น้อย อย่างไรก็ตามหากท่าน
มีข้อเสนอแนะประการใด กรุณาแจ้งให้ทราบด้วย จะได้นาข้อเสนอแนะกลับไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป
คณะผู้จัดทา
3/01/2020
ไตรมาสที่1……………………………………………………………………………………1
-สัปดาห์ที่1-4…………………………………………………………………………..2
-สัปดาห์ที่5-8…………………………………………………………………………..3
-สัปดาห์ที่9-12…………………………………………………………………………4
ไตรมาสที่2…………………………….……………………………………………………..5
-สัปดาห์ที่13-15………………………………………………………………………..6
-สัปดาห์ที่16-19………………………………………………………………………..7
-สัปดาห์ที่20-22………………………………………………………………………..8
-สัปดาห์ที่23-27………………………………………………………………………..9
ไตรมาสที่3…………………………………………………………………………………..10
-สัปดาห์ที่28-35……………………………………………………………………….11
-สัปดาห์ที่36-40……………………………………………………………………….12
สารบัญ
ช่วง 3 เดือนแรกเป็นระยะที่อสุจิปฏิสนธิกับไข่แะ
เจริญเติบโตไปเป็นตัวอ่อน ซึ่งในช่วงนี้จะเริ่มสังเกตเห็น
อวัยวะต่างๆ ของทารกพัฒนาขึ้นมา
ไตรมาสที่ 1
สัปดาห์ที่ 1-2 เริ่มนับตั้งแต่วันแรกของประจาเดือนครั้งล่าสุด จัดเป็น
ระยะไข่ตก คือ ช่วงที่ร่างกายปล่อยไข่ออกจากรังไข่ไปยังท่อนาไข่ เพื่อปฏิสนธิ
กับอสุจิ
สัปดาห์ที่ 3 เมื่ออสุจิปฏิสนธิกับไข่ภายในท่อนาไข่ จะเกิดเป็นเซลล์ไซ
โกต ประกอบด้วยโครโมโซม 46 แท่ง โดยรับจากมารดา 23 แท่ง และบิดา
23 แท่ง ทาหน้าที่ถ่ายทอดพันธุกรรม และกาหนดเพศของทารก ไซโกตจะเริ่ม
เคลื่อนที่จากรังไข่ไปมดลูกพร้อมแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนกระทั่งมีลักษณะเป็น
เซลล์หลายเซลล์เกาะกลุ่มเยกว่า โมรูลา
สัปดาห์ที่ 4 เซลล์ที่แบ่งตัวจะเข้าไปฝังในเยื่อบุโพรงมดลูก โดยเจริญไป
เป็นตัวอ่อน หรือเอ็มบริโอ และเนื้อเยื่อภายนอกจะพัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของ
รก
สัปดาห์ที่ 5 ตัวอ่อนเอ็มบริโอจะค่อยๆ เจริญเติบโตขึ้น จนกระทั่งประกอบไปด้วย
เนื้อเยื่อ 3 ชั้น
- เนื้อเยื่อชั้นนอก พัฒนาไปเป็น ท่อประสาท เส้นผม ผิวหนัง และเล็บ
- เนื้อเยื่อชั้นกลาง พัฒนาไปเป็น กระดูก เนื้อเยื่อ หัวใจ และหลอดเลือด
- เนื้อเยื่อชั้นใน พัฒนาไปเป็น ปอด กระเพาะอาหาร และลาไส็
สัปดาห์ที่ 6 ท่อประสาทบริเวณหลังของตัวอ่อนจะปิดลง เพื่อพัฒนาเป็นสมองและ
ไขสันหลัง เริ่มสังเกตเก็นส่วนนูนที่จะพัฒนาไปเป็นแขน
สัปดาห์ที่ 7 ระบบการมองเห็นของตัวอ่อนเริ่มพัฒนาซับซ้อนขึ้น สามารถสังเกตเห็น
ส่วนของใบหน้าโดยเฉพาะขากรรไกรบนและจมูก รวมทั้งขาและฝ่ามือ
สัปดาห์ที่ 8 ตัวอ่อนในระยะนี้มีความยาวประมาณ 0.5 นิ้ว เริ่มสังเกตเห็นฝ่าเท้า
นิ้วมือ ใบหู ดวงตา ริมฝีปากบน และจมูก ชัดเจนมากขึ้น
สัปดาห์ที่ 9 ข้อศอก นิ้วเท้า และเปลือกตาของตัวอ่อนเริ่มพัฒนา ศีรษะส่วนบนมี
ขนาดใหญ่ขึ้น
หากทารกมีการคลอดก่อนกาหนด ในสัปดาห์นี้เป็นต้นไปสามารถมีชีวิตรอดได้
สัปดาห์ที่ 10 พังพืดที่นิ้วมือและนิ้วเท้าสลายไป เห็นเป็นนิ้วเรียวยาว และสาย
สะดือชัดเจน
สัปดาห์ที่ 11 ตัวอ่อนเอ็มบริโอพัฒนาเป็นตัวอ่อนอย่างสมบูรณ์ ดวงตาของทารก
เคลื่อนที่ออกห่างกันมากขึ้น เปลือกตาค่อยๆยุบลง กลืนกับดวงตา ใบหูลดตา่่ลง เกิดหน่อที่
จะเจริญไปเป็นฟัน เกิดเม็ดเลือดแดงในตับ ปลายสัปดาห์เริ่มเห็นพัฒนาการของอวัยวะเพศ
อย่างชัดเจน
สัปดาห์ที่ 12 สังเกตเห็นอวัยวะต่างๆบนใบหน้าชัดขึ้น สังเกตเห็นเล็บมือและลาไส้
เริ่มพัฒนาขึ้นภายในช่องท้องของทารก
เมื่อเข้าสู่ช่วงไตรมาสที่ 2 หากใช้หูฟังคุณแม่จะได้
ยินเสียงหัวใจของลูกเต้นแล้วและถ้าคุณแม่ปล่อยตามใจ
ปากมากเกินไปในช่วงนี้ ก็จะเป็นช่วงที่น้าหนักของคุณแม่
พุ่งพรวดได้เช่นกัน
รวมไปถึงอวัยวะต่างๆ เส้นประสาท และกล้ามเนื้อ
ของลูก ก็จะเริ่มมีการทางานให้เห็นบ้างแล้ว
ไตรมาสที่ 2
สัปดาห์ที่ 13 ร่างกายจะมีการเชื่อมต่อของสายสะดือและลาไส้ ทารกจะโตขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่สุดคือ ร่างกายของทารกจะมีการสร้างปัสสาวะ เนื้อเยื่อที่
จะกลายเป็นกระโหลกศีรษะจะถูกพัฒนาขึ้นพร้อมๆ กับกระดูกแขนและขาของทารก
สัปดาห์ที่ 14 แขนของทารกจะพัฒนาเต็มที่ในสัปดาห์นี้ โดยความยาวแขนจะดูได้เมื่อ
สิ้นสุดสัปดาห์ คอทารกจะเรียวยาวเป็นรูปร่างที่ชัดเจนมากขึ้น ม้ามจะเริ่มสร้างเซลล์เม็ดเลือด
แดง เพศของทารกจะเห็นได้ชัดเจนขึ้น มีการสร้างรังไข่ในเพศหญิง และต่อมลูกหมากในเพศ
ชาย ทารกจะมีความยาวประมาณ 3 นิ้วครึ่ง และจะหนักประมาณ 40 กรัม
สัปดาห์ที่ 15 กระดูกทั่วทั้งร่างจะถูกสร้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่ออัลตราซาวด์จะเห็น
โครงกระดูกได้อย่างชัดเจน รวมไปถึงเส้นผมจะถูกสร้างขึ้นในสัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่ 16 ดวงตาทารกจะเริ่มมีการเคลื่อนไหว กรอกไปมาได้ หูจะถูก
พัฒนาไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายแล้ว ตอนนี้ทารกสามารถเคลื่อนไหวปากและลิ้นใน
การดูดได้ การเคลื่อนไหวของทารกจะเพิ่มมากขึ้น สอดประสานกันได้อย่างดี
มารดาอาจรู้สึกได้ถึงการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ หรือหากอัลตราซาวด์ดูก็จะ
เห็นได้อย่างชัดเจน
สัปดาห์ที่ 17 ร่างกายของทารกเริ่มสร้างเล็บเท้า ในไม่ช้าจะเริ่มมีการ
สะสมของไขมันในร่างกายของทารก ซึ่งจะแทรกอยู่ระหว่างผิวหนัง เพื่อให้พลังงาน
และช่วยให้ทารกมีความอบอุ่นหลังการคลอดออกมา
สัปดาห์ที่ 18 ในสัปดาห์นี้การทางานของหูทารกจะเริ่มสมบูรณ์
สัปดาห์ที่ 19 ได้ยินเสียงต่างๆ โดยเฉพาะเสียงของมารดา ณ ตอนนี้
ความยาวของทารกคือ 5 นิ้วครึ่ง และหนักประมาณ 200 กรัม
สัปดาห์ที่20 มารดาจะรู้สึกว่าทารกเคลื่อนไหวในท้องมากขึ้น ทารกมี
ความยาวประมาณ 6 นิ้ว หรือประมาณ 160 มิลลิเมตร
สัปดาห์ที่ 21 ทารกจะน้าหนักขึ้นอย่างรวดเร็ว ทารกจะมีการดิ้นมาก
ขึ้น มีการเคลื่อนไหวที่ชัดเจนมากขึ้น แรงขึ้น และนานขึ้น ตอนนี้ทารกสามรถ
กลืนได้แล้ว
สัปดาห์ที่ 22 ผมชุดแรกจะเริ่มยาวจนปกคลุมทั้งศีรษะ เพื่อปกป้องผิว
บริเวณศีรษะที่ยังบอบบางอยู่ และคิ้วจะเริ่มเห็นเส้นขนขึ้นมาบ้าง ทารกมีความ
ยาวประมาณ 7 นิ้วครึ่ง และหนักประมาณ 460 กรัม
สัปดาห์ที่ 23 ผิวหนังของทารกเริ่มมีรอยย่น โดยมีลักษณะค่อนข้างโปร่งแสง และมีสี
ชมพูรือแดง ดวงตาจะเริ่มเคลื่อนไหวได้รวดเร็วมากขึ้น ลิ้นจะมีการพัฒนาของต่อมรับรส ลายนิ้วมือ
นิ้วเท้าเริ่มก่อตัวขึ้น ในเพศชายจะมีลูกอัณฑะ ในเพศหญิงจะมีมดลูกและรังไข่
หากทารกมีการคลอดก่อนกาหนด ในสัปดาห์นี้เป็นต้นไปสามารถมีชีวิตรอดได้
สัปดาห์ที่ 24 ทารกจะมีการเคลื่อนไหวแขนขาไปรอบๆ เส้นผมของทารกจะเริ่มยาวมาก
ขึ้น ทารกมีความยาวประมาณ 8 นิ้ว และหนักประมาณ 630 กรัม
สัปดาห์ที่ 25 มือของทารกเริ่มมีปฏิกิริยาต่อสิ่งอื่นมากขึ้น มีการตอบสนองต่อเสียงที่คุ้นเคย
สัปดาห์ที่ 26 ปอดเริ่มผลิตสารลดแรงตึงผิว ทาให้ถุงลมในปอดมีการยืดขยาย ทารกมี
ความยาวประมาณ 9 นิ้ว น้าหนักประมาณ 820 กรัม
สัปดาห์ที่ 27 ปอดและระบบประสาทเริ่มทางานมากขึ้น
ช่วงตั้งครรภ์ 7-9 เดือน 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ถือเป็นช่วงสาคัญที่คุณแม่
ทุกคนเฝ้ารอครับ ในเดือนที่ 8 ลูกจะเริ่มเปิดปิดเปลือกตา กระพริบตาถี่ๆ ได้ รูม่านตา
เริ่มขยายและหรี่ตอบสนองต่อแสงจากภายนอกส่องผ่านเข้าไปได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วย
กระตุ้นพัฒนาการด้านการมองเห็น นอกจากนี้ลูกจะดิ้นขยับตัวมากขึ้นจนบางครั้งคุณ
แม่สามารถรับรู้ได้ว่าเป็นอวัยวะส่วนใด คุณแม่ควรอาศัยโอกาสนี้ในการลูบสัมผัสหน้า
ท้องบ่อยๆ บอกให้เขารับรู้ว่าคุณแม่กาลังรอจะได้เจอกันอยู่
ไตรมาสที่ 3
สัปดาห์ที่ 28-29 ทารกเริ่มลืมตา สามารถเตะ ยืดตัว หรือใช้มือคว้าได้ ทั้งยังมี
ระบบประสาทส่วนกลางที่พัฒนามากขึ้น ทาให้สามารถควบคุมจังหวะการหายใจและ
อุณหภูมิของร่างกายได้
สัปดาห์ที่ 30-31 ทารกส่วนใหญ่มีน้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และสังเกตเห็น
เส้นผมยาวขึ้นอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการสร้างเม็ดเลือดแดงภายในไขกระดูกด้วย
สัปดาห์ที่ 32-33 ขนเส้นบาง ๆ ที่ปกคลุมอยู่ทั่วร่างกายทารกเริ่มหลุดร่วง
สังเกตเห็นเล็บเท้าได้ชัดเจน รูม่านตาเริ่มตอบสนองต่อแสง และความหนาแน่นของกระดูก
เพิ่มมากขึ้น ทาให้กระดูกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแข็งแรงขึ้น ยกเว้นกะโหลกศีรษะของทารกที่
ยังคงนิ่มอยู่
สัปดาห์ที่ 34-35 เล็บมือของทารกจะยาวขึ้นจนถึงปลายนิ้ว แขนและขามี
ลักษณะอวบอ้วน ผิวหนังมีสีชมพูดูนุ่มลื่น มีความยาวจากยอดศีรษะถึงส่วนล่างสุดของ
สะโพกเฉลี่ย 12 นิ้ว และมีน้าหนักมากกว่า 2,100 กรัม
สัปดาห์ที่ 36 เนื่องจากทารกมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น ประกอบกับพื้นที่ภายในมดลูกที่จากัด
จึงอาจส่งผลให้ทารกเคลื่อนไหวได้ยากขึ้น แต่คุณแม่ก็อาจยังพอรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของ
ทารกอยู่บ้าง
สัปดาห์ที่ 37 ทารกมักกลับหัวไปยังอุ้งเชิงกรานเพื่อเตรียมพร้อมคลอด หากทารกยังไม่
เริ่มกลับหัว แพทย์อาจให้คาแนะนาเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและแนวทางในการรับมือด้านนี้
เพิ่มเติม
สัปดาห์ที่ 38-39 สังเกตเห็นหน้าอกของทารกเด่นชัดขึ้น เล็บเท้ายาวขึ้นมาจนถึงปลาย
นิ้ว เส้นขนบาง ๆ ที่อยู่ทั่วร่างกายหลุดออกจนเกือบหมด หากเป็นเพศชายลูกอัณฑะของทารก
จะตกลงสู่ถุงอัณฑะ และมีการสะสมไขมันไว้ตามส่วนต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายอบอุ่นหลัง
คลอด
สัปดาห์ที่ 40 ทารกจะมีความยาวจากยอดศีรษะถึงส่วนล่างสุดของสะโพกประมาณ 14
นิ้ว และมีน้าหนักเฉลี่ย 3,400 กรัม อย่างไรก็ตาม ขนาดตัวและน้าหนักของทารกแต่ละคน
อาจแตกต่างกันไป

More Related Content

Similar to งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342

343 pre4
343 pre4343 pre4
343 pre4
peerada15005
 
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
AunyapatThanasinborw
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
NawatHongthongsakul
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
waritsaratengrungsun
 
Human embryo 341 group 5
Human embryo   341 group 5Human embryo   341 group 5
Human embryo 341 group 5
NutthaprapaKhwanwong
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
waritsaratengrungsun
 
การเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือนการเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือน
BamSin
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
SirinapaPinphrom
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 

Similar to งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342 (20)

343 pre4
343 pre4343 pre4
343 pre4
 
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
Human embryo 341 group 5
Human embryo   341 group 5Human embryo   341 group 5
Human embryo 341 group 5
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
การเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือนการเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

งานนำเสนอโปสเตอร์ กลุ่มที่ 8 ห้อง 342

  • 1. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ห้อง342 กลุ่ม8 Embryonic Development in human รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของภาควิชาชีววิทยา(ว30243) ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูชานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
  • 3. สมาชิก นางสาว ชัญญา ปัญญาดิลกพงษ์ เลขที่ 2 นางสาว ชัญญา พรหมณีวิรัช เลขที่ 3 นางสาว นานา พรหมลิขิกชัย เลขที่ 8 นางสาว พรรณภัค กิริสัฒนศักดิ์ เลขที่ 13 นางสาว ภัทรดา พัฒทวี เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 342 กลุ่มที่ 8
  • 4. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 342 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอของการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอคน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อท่านไม่มากก็น้อย อย่างไรก็ตามหากท่าน มีข้อเสนอแนะประการใด กรุณาแจ้งให้ทราบด้วย จะได้นาข้อเสนอแนะกลับไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป คณะผู้จัดทา 3/01/2020
  • 5. ไตรมาสที่1……………………………………………………………………………………1 -สัปดาห์ที่1-4…………………………………………………………………………..2 -สัปดาห์ที่5-8…………………………………………………………………………..3 -สัปดาห์ที่9-12…………………………………………………………………………4 ไตรมาสที่2…………………………….……………………………………………………..5 -สัปดาห์ที่13-15………………………………………………………………………..6 -สัปดาห์ที่16-19………………………………………………………………………..7 -สัปดาห์ที่20-22………………………………………………………………………..8 -สัปดาห์ที่23-27………………………………………………………………………..9 ไตรมาสที่3…………………………………………………………………………………..10 -สัปดาห์ที่28-35……………………………………………………………………….11 -สัปดาห์ที่36-40……………………………………………………………………….12 สารบัญ
  • 6. ช่วง 3 เดือนแรกเป็นระยะที่อสุจิปฏิสนธิกับไข่แะ เจริญเติบโตไปเป็นตัวอ่อน ซึ่งในช่วงนี้จะเริ่มสังเกตเห็น อวัยวะต่างๆ ของทารกพัฒนาขึ้นมา ไตรมาสที่ 1
  • 7. สัปดาห์ที่ 1-2 เริ่มนับตั้งแต่วันแรกของประจาเดือนครั้งล่าสุด จัดเป็น ระยะไข่ตก คือ ช่วงที่ร่างกายปล่อยไข่ออกจากรังไข่ไปยังท่อนาไข่ เพื่อปฏิสนธิ กับอสุจิ สัปดาห์ที่ 3 เมื่ออสุจิปฏิสนธิกับไข่ภายในท่อนาไข่ จะเกิดเป็นเซลล์ไซ โกต ประกอบด้วยโครโมโซม 46 แท่ง โดยรับจากมารดา 23 แท่ง และบิดา 23 แท่ง ทาหน้าที่ถ่ายทอดพันธุกรรม และกาหนดเพศของทารก ไซโกตจะเริ่ม เคลื่อนที่จากรังไข่ไปมดลูกพร้อมแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนกระทั่งมีลักษณะเป็น เซลล์หลายเซลล์เกาะกลุ่มเยกว่า โมรูลา สัปดาห์ที่ 4 เซลล์ที่แบ่งตัวจะเข้าไปฝังในเยื่อบุโพรงมดลูก โดยเจริญไป เป็นตัวอ่อน หรือเอ็มบริโอ และเนื้อเยื่อภายนอกจะพัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของ รก
  • 8. สัปดาห์ที่ 5 ตัวอ่อนเอ็มบริโอจะค่อยๆ เจริญเติบโตขึ้น จนกระทั่งประกอบไปด้วย เนื้อเยื่อ 3 ชั้น - เนื้อเยื่อชั้นนอก พัฒนาไปเป็น ท่อประสาท เส้นผม ผิวหนัง และเล็บ - เนื้อเยื่อชั้นกลาง พัฒนาไปเป็น กระดูก เนื้อเยื่อ หัวใจ และหลอดเลือด - เนื้อเยื่อชั้นใน พัฒนาไปเป็น ปอด กระเพาะอาหาร และลาไส็ สัปดาห์ที่ 6 ท่อประสาทบริเวณหลังของตัวอ่อนจะปิดลง เพื่อพัฒนาเป็นสมองและ ไขสันหลัง เริ่มสังเกตเก็นส่วนนูนที่จะพัฒนาไปเป็นแขน สัปดาห์ที่ 7 ระบบการมองเห็นของตัวอ่อนเริ่มพัฒนาซับซ้อนขึ้น สามารถสังเกตเห็น ส่วนของใบหน้าโดยเฉพาะขากรรไกรบนและจมูก รวมทั้งขาและฝ่ามือ สัปดาห์ที่ 8 ตัวอ่อนในระยะนี้มีความยาวประมาณ 0.5 นิ้ว เริ่มสังเกตเห็นฝ่าเท้า นิ้วมือ ใบหู ดวงตา ริมฝีปากบน และจมูก ชัดเจนมากขึ้น
  • 9. สัปดาห์ที่ 9 ข้อศอก นิ้วเท้า และเปลือกตาของตัวอ่อนเริ่มพัฒนา ศีรษะส่วนบนมี ขนาดใหญ่ขึ้น หากทารกมีการคลอดก่อนกาหนด ในสัปดาห์นี้เป็นต้นไปสามารถมีชีวิตรอดได้ สัปดาห์ที่ 10 พังพืดที่นิ้วมือและนิ้วเท้าสลายไป เห็นเป็นนิ้วเรียวยาว และสาย สะดือชัดเจน สัปดาห์ที่ 11 ตัวอ่อนเอ็มบริโอพัฒนาเป็นตัวอ่อนอย่างสมบูรณ์ ดวงตาของทารก เคลื่อนที่ออกห่างกันมากขึ้น เปลือกตาค่อยๆยุบลง กลืนกับดวงตา ใบหูลดตา่่ลง เกิดหน่อที่ จะเจริญไปเป็นฟัน เกิดเม็ดเลือดแดงในตับ ปลายสัปดาห์เริ่มเห็นพัฒนาการของอวัยวะเพศ อย่างชัดเจน สัปดาห์ที่ 12 สังเกตเห็นอวัยวะต่างๆบนใบหน้าชัดขึ้น สังเกตเห็นเล็บมือและลาไส้ เริ่มพัฒนาขึ้นภายในช่องท้องของทารก
  • 10. เมื่อเข้าสู่ช่วงไตรมาสที่ 2 หากใช้หูฟังคุณแม่จะได้ ยินเสียงหัวใจของลูกเต้นแล้วและถ้าคุณแม่ปล่อยตามใจ ปากมากเกินไปในช่วงนี้ ก็จะเป็นช่วงที่น้าหนักของคุณแม่ พุ่งพรวดได้เช่นกัน รวมไปถึงอวัยวะต่างๆ เส้นประสาท และกล้ามเนื้อ ของลูก ก็จะเริ่มมีการทางานให้เห็นบ้างแล้ว ไตรมาสที่ 2
  • 11. สัปดาห์ที่ 13 ร่างกายจะมีการเชื่อมต่อของสายสะดือและลาไส้ ทารกจะโตขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่สุดคือ ร่างกายของทารกจะมีการสร้างปัสสาวะ เนื้อเยื่อที่ จะกลายเป็นกระโหลกศีรษะจะถูกพัฒนาขึ้นพร้อมๆ กับกระดูกแขนและขาของทารก สัปดาห์ที่ 14 แขนของทารกจะพัฒนาเต็มที่ในสัปดาห์นี้ โดยความยาวแขนจะดูได้เมื่อ สิ้นสุดสัปดาห์ คอทารกจะเรียวยาวเป็นรูปร่างที่ชัดเจนมากขึ้น ม้ามจะเริ่มสร้างเซลล์เม็ดเลือด แดง เพศของทารกจะเห็นได้ชัดเจนขึ้น มีการสร้างรังไข่ในเพศหญิง และต่อมลูกหมากในเพศ ชาย ทารกจะมีความยาวประมาณ 3 นิ้วครึ่ง และจะหนักประมาณ 40 กรัม สัปดาห์ที่ 15 กระดูกทั่วทั้งร่างจะถูกสร้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่ออัลตราซาวด์จะเห็น โครงกระดูกได้อย่างชัดเจน รวมไปถึงเส้นผมจะถูกสร้างขึ้นในสัปดาห์นี้
  • 12. สัปดาห์ที่ 16 ดวงตาทารกจะเริ่มมีการเคลื่อนไหว กรอกไปมาได้ หูจะถูก พัฒนาไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายแล้ว ตอนนี้ทารกสามารถเคลื่อนไหวปากและลิ้นใน การดูดได้ การเคลื่อนไหวของทารกจะเพิ่มมากขึ้น สอดประสานกันได้อย่างดี มารดาอาจรู้สึกได้ถึงการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ หรือหากอัลตราซาวด์ดูก็จะ เห็นได้อย่างชัดเจน สัปดาห์ที่ 17 ร่างกายของทารกเริ่มสร้างเล็บเท้า ในไม่ช้าจะเริ่มมีการ สะสมของไขมันในร่างกายของทารก ซึ่งจะแทรกอยู่ระหว่างผิวหนัง เพื่อให้พลังงาน และช่วยให้ทารกมีความอบอุ่นหลังการคลอดออกมา สัปดาห์ที่ 18 ในสัปดาห์นี้การทางานของหูทารกจะเริ่มสมบูรณ์ สัปดาห์ที่ 19 ได้ยินเสียงต่างๆ โดยเฉพาะเสียงของมารดา ณ ตอนนี้ ความยาวของทารกคือ 5 นิ้วครึ่ง และหนักประมาณ 200 กรัม
  • 13. สัปดาห์ที่20 มารดาจะรู้สึกว่าทารกเคลื่อนไหวในท้องมากขึ้น ทารกมี ความยาวประมาณ 6 นิ้ว หรือประมาณ 160 มิลลิเมตร สัปดาห์ที่ 21 ทารกจะน้าหนักขึ้นอย่างรวดเร็ว ทารกจะมีการดิ้นมาก ขึ้น มีการเคลื่อนไหวที่ชัดเจนมากขึ้น แรงขึ้น และนานขึ้น ตอนนี้ทารกสามรถ กลืนได้แล้ว สัปดาห์ที่ 22 ผมชุดแรกจะเริ่มยาวจนปกคลุมทั้งศีรษะ เพื่อปกป้องผิว บริเวณศีรษะที่ยังบอบบางอยู่ และคิ้วจะเริ่มเห็นเส้นขนขึ้นมาบ้าง ทารกมีความ ยาวประมาณ 7 นิ้วครึ่ง และหนักประมาณ 460 กรัม
  • 14. สัปดาห์ที่ 23 ผิวหนังของทารกเริ่มมีรอยย่น โดยมีลักษณะค่อนข้างโปร่งแสง และมีสี ชมพูรือแดง ดวงตาจะเริ่มเคลื่อนไหวได้รวดเร็วมากขึ้น ลิ้นจะมีการพัฒนาของต่อมรับรส ลายนิ้วมือ นิ้วเท้าเริ่มก่อตัวขึ้น ในเพศชายจะมีลูกอัณฑะ ในเพศหญิงจะมีมดลูกและรังไข่ หากทารกมีการคลอดก่อนกาหนด ในสัปดาห์นี้เป็นต้นไปสามารถมีชีวิตรอดได้ สัปดาห์ที่ 24 ทารกจะมีการเคลื่อนไหวแขนขาไปรอบๆ เส้นผมของทารกจะเริ่มยาวมาก ขึ้น ทารกมีความยาวประมาณ 8 นิ้ว และหนักประมาณ 630 กรัม สัปดาห์ที่ 25 มือของทารกเริ่มมีปฏิกิริยาต่อสิ่งอื่นมากขึ้น มีการตอบสนองต่อเสียงที่คุ้นเคย สัปดาห์ที่ 26 ปอดเริ่มผลิตสารลดแรงตึงผิว ทาให้ถุงลมในปอดมีการยืดขยาย ทารกมี ความยาวประมาณ 9 นิ้ว น้าหนักประมาณ 820 กรัม สัปดาห์ที่ 27 ปอดและระบบประสาทเริ่มทางานมากขึ้น
  • 15. ช่วงตั้งครรภ์ 7-9 เดือน 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ถือเป็นช่วงสาคัญที่คุณแม่ ทุกคนเฝ้ารอครับ ในเดือนที่ 8 ลูกจะเริ่มเปิดปิดเปลือกตา กระพริบตาถี่ๆ ได้ รูม่านตา เริ่มขยายและหรี่ตอบสนองต่อแสงจากภายนอกส่องผ่านเข้าไปได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วย กระตุ้นพัฒนาการด้านการมองเห็น นอกจากนี้ลูกจะดิ้นขยับตัวมากขึ้นจนบางครั้งคุณ แม่สามารถรับรู้ได้ว่าเป็นอวัยวะส่วนใด คุณแม่ควรอาศัยโอกาสนี้ในการลูบสัมผัสหน้า ท้องบ่อยๆ บอกให้เขารับรู้ว่าคุณแม่กาลังรอจะได้เจอกันอยู่ ไตรมาสที่ 3
  • 16. สัปดาห์ที่ 28-29 ทารกเริ่มลืมตา สามารถเตะ ยืดตัว หรือใช้มือคว้าได้ ทั้งยังมี ระบบประสาทส่วนกลางที่พัฒนามากขึ้น ทาให้สามารถควบคุมจังหวะการหายใจและ อุณหภูมิของร่างกายได้ สัปดาห์ที่ 30-31 ทารกส่วนใหญ่มีน้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และสังเกตเห็น เส้นผมยาวขึ้นอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการสร้างเม็ดเลือดแดงภายในไขกระดูกด้วย สัปดาห์ที่ 32-33 ขนเส้นบาง ๆ ที่ปกคลุมอยู่ทั่วร่างกายทารกเริ่มหลุดร่วง สังเกตเห็นเล็บเท้าได้ชัดเจน รูม่านตาเริ่มตอบสนองต่อแสง และความหนาแน่นของกระดูก เพิ่มมากขึ้น ทาให้กระดูกส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแข็งแรงขึ้น ยกเว้นกะโหลกศีรษะของทารกที่ ยังคงนิ่มอยู่ สัปดาห์ที่ 34-35 เล็บมือของทารกจะยาวขึ้นจนถึงปลายนิ้ว แขนและขามี ลักษณะอวบอ้วน ผิวหนังมีสีชมพูดูนุ่มลื่น มีความยาวจากยอดศีรษะถึงส่วนล่างสุดของ สะโพกเฉลี่ย 12 นิ้ว และมีน้าหนักมากกว่า 2,100 กรัม
  • 17. สัปดาห์ที่ 36 เนื่องจากทารกมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น ประกอบกับพื้นที่ภายในมดลูกที่จากัด จึงอาจส่งผลให้ทารกเคลื่อนไหวได้ยากขึ้น แต่คุณแม่ก็อาจยังพอรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวของ ทารกอยู่บ้าง สัปดาห์ที่ 37 ทารกมักกลับหัวไปยังอุ้งเชิงกรานเพื่อเตรียมพร้อมคลอด หากทารกยังไม่ เริ่มกลับหัว แพทย์อาจให้คาแนะนาเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและแนวทางในการรับมือด้านนี้ เพิ่มเติม สัปดาห์ที่ 38-39 สังเกตเห็นหน้าอกของทารกเด่นชัดขึ้น เล็บเท้ายาวขึ้นมาจนถึงปลาย นิ้ว เส้นขนบาง ๆ ที่อยู่ทั่วร่างกายหลุดออกจนเกือบหมด หากเป็นเพศชายลูกอัณฑะของทารก จะตกลงสู่ถุงอัณฑะ และมีการสะสมไขมันไว้ตามส่วนต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายอบอุ่นหลัง คลอด สัปดาห์ที่ 40 ทารกจะมีความยาวจากยอดศีรษะถึงส่วนล่างสุดของสะโพกประมาณ 14 นิ้ว และมีน้าหนักเฉลี่ย 3,400 กรัม อย่างไรก็ตาม ขนาดตัวและน้าหนักของทารกแต่ละคน อาจแตกต่างกันไป