SlideShare a Scribd company logo
1
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์
1.หลักการและทฤษฎีการสื่อสาร
การสื่อสาร
การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่ว่า การสื่อสารเป็นกระบวนการ หรือการ
แลกเปลี่ยนโดยมีสาระสาคัญที่ว่า ผู้สื่อสารทาหน้าที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับข่าวในขณะเดียวกันไม่อาจระบุว่า
การสื่อสารเริ่มต้นและสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือว่า การสื่อสารมีลักษณะเป็นวงกลมและไม่มีที่สิ้นสุด
ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย์
สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็
จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่
รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ
ความหมายของการสื่อสาร
นักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุม เช่น
โรเจอร์ (Rogers, 1976) ได้ให้ความหมายของการติดต่อสื่อสารว่าเป็น
การถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความคิด หรือการกระทาต่าง ๆ โดยมีเจตนาที่จะ
เปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรมในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และ
พฤติกรรมที่แสดงออกโดยเปิดเผย
แบลโลว์ กิลสัน และโอดิออร์น (Ballow, Gilson and Odiorne,
1962) ได้กล่าวว่าการติดต่อสื่อสารในองค์การหมายถึง การแลกเปลี่ยนคาพูด อักษร สัญลักษณ์ หรือ
ข่าวสาร เพื่อให้สมาชิกในองค์การหนึ่งได้เข้าใจความหมายและสามารถเข้าใจฝ่ายอื่น ได้ ซึ่งถ้า
พิจารณาในทางการบริหารองค์การอาจจะกล่าวให้ชัดเจนขึ้นได้ว่า การติดต่อสื่อสารคือ การกระจาย
หรือสื่อความหมายเกี่ยวกับนโยบาย และคาสั่งลงไปยังเบื้องล่าง พร้อมกับรับข้อเสนอแนะความเห็น
และความรู้สึกต่าง ๆ กลับมา
ธร สุนทรายุทธ (ม.ป.ป.) ได้กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญใน
องค์การ ที่จะทาให้การดาเนินงานเป็นไปได้ด้วยความร่วมมือ ประสานงานกับทุกฝ่าย ปัจจัยของการ
อยู่ร่วมกันและความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกที่จะช่วยกันทางาน อย่างไรก็ตามสิ่งที่จะช่วยให้การ
ปฏิบัติงานราบรื่นทาให้การประสานงานกันเป็นอย่างดีก็คือ การติดต่อสื่อสารของสมาชิกในองค์การ
นั่นเอง
ชรามม์ (Schramm, 1973) ได้พยายามอธิบายถึงกระบวนกา
ติดต่อสื่อสารเป็นวงจรในการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล 2 คน ซึ่งกระบวนการสื่อสารจะเริ่ม
ตั้งแต่การแปลความหมายการถ่ายทอดข่าวสารซึ่งกันและกันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นซ้ากันไปเรื่อย
จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะเข้าใจซึ่งกันและกัน สรุปไม่มีคาจากัดความของการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะ
นาไปใช้กับพฤติกรรมการสื่อสารได้ทุกรูปแบบ แต่ละคาจากัดความจะมีวัตถุประสงค์ และผลที่เกิดขึ้น
แตกต่างกัน จึงทาให้ความหมายของการสื่อสารกว้าง และนาไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ การพิจารณา
ความหมายของการสื่อสารจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกิจกรรมสื่อสารเป็นเรื่อง ๆ ไป ดังนั้น
2
การสื่อสารต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบสาคัญ ๆ 3 ประการ อันได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร
(Sender)ผู้รับข่าวสาร (Receiver) และตัวข่าวสาร (Message) เมื่อนามารวมกันจะเรียกว่าเป็นการ
สื่อสารการสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ไม่อยู่นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีความยุ่งยาก
สลับซับซ้อน การเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ของการสื่อสารนั้นมีเหตุผล 4 ประการ คือ
1. ช่วยให้มีโอกาสที่จะเลือกกระบวนการของการสื่อสาร และปัจจัยต่าง
ๆ เพื่อนาไปใช้กับกิจกรรมทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้เพราะว่าไม่มีรูปแบบการสื่อสารอย่างใด
อย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียวที่สามารถนาเอาไปใช้กับข้อมูลต่าง ๆ ทางการสื่อสารได้โดยสมบูรณ์
2. ช่วยให้ค้นพบความจริงใหม่ ๆ เกี่ยวกับการสื่อสาร เพราะการสื่อสาร
แต่ละรูปแบบย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ กัน
3. ช่วยให้เกิดการคาดคะเนล่วงหน้า เกี่ยวกับการสื่อสารขึ้นและรูปแบบ
เหล่านี้จะช่วยให้คาดคะเนได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นในแต่ละสภาพของการสื่อสาร ซึ่งการคาดคะเนเหล่านี้
จะช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ
4. ช่วยให้สามารถหาวิธีมาวัดปัจจัย และกระบวนการในการสื่อสารต่าง
ๆ ได้ เพราะรูปแบบ
รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร
การที่จะติดต่อสื่อสารที่จะช่วยให้ข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยอาศัยช่องทางไปสู่
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การมองเห็น การสัมผัส การได้ยิน การได้กลิ่น การลิ้มรส โดยใช้ช่องทางคือ
การบันทึกข้อความ คาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร การพูดการสื่อสารความหมายที่มีประสิทธิภาพ ควรใช้
ช่องทางหลาย ๆ ช่องทาง ช่องทางการติดต่อสื่อสารมีความสาคัญมากในการติดต่อสื่อสาร ช่องทางที่
ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา ได้แก่ การพูด (การสั่งงาน กาประชุม
การติดต่อสื่อสารกันทางโทรศัพท์การส่งข่าว การส่งข่าวทางอินเตอร์เน็ท ลายลักษณ์อักษรหรืสิ่งพิมพ์
(จดหมาย หนังสือเวียนประกาศต่าง ๆ วารสารภายใน) โสตทัศนูปกรณ์ (เสียงตามสาย) สามารถแบ่ง
ประเภทตามวิธีการต่าง ๆ ดังนี้คือ การติดต่อสื่อสารทางลายลักษณ์อักษร การติดต่อสื่อสารทางวาจา
และการติดต่อสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
1. การติดต่อสื่อสารทางลายลักษณ์อักษร (Written Communicatio
หมายถึงการติดต่อสื่อสารที่แสดงออกโดยการเขียน ซึ่งอาจเป็นตัวอักษร หรือตัวเลขแสดงจานวนก็ได้
เช่นหนังสือเวียน และบันทึกโต้ตอบ (Circulation - Notes - Letters - Memo) ป้าย ประกาศ
บันทึกข้อความ รายงานประจาปี แผงข่าวสาร แผ่นปลิว สิ่งตีพิมพ์จดหมายข่าว และวารสาร คู่มือการ
ปฏิบัติงาน เป็นต้น ส่วนมากผู้บริหารต้องการข่าวสารที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แต่บางครั้งการ
ขาดการพิจารณาข้อความของข่าวสารที่ส่งมาให้โดยรอบคอบก็อาจจะเกิดผลกระทบที่เสียหายต่อ
องค์การได้ (Timm, 1995) โดยมากมักจะพบว่า การสื่อสารด้วยการเขียนยากกว่าการพูด ทั้งนี้อาจ
เป็นเพราะบุคคลนั้นมีความสามารถทางภาษาน้อย เช่น ถ้าเขาทาหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร เขาอาจไม่แน่ใจ
ในคาสะกด อีกประการหนึ่ง การติดต่อสื่อสารที่อาศัยการเขียนนั้นมักจะมีลักษณะของการ
ติดต่อสื่อสารทางเดียว
3
2. การติดต่อสื่อสารทางวาจา (Oral Communication) หมายถึง การ
ติดต่อสื่อสารที่แสดงออกโดย การพูด เช่น การประชุมกลุ่ม (Group Meeting) การร้องทุกข์โดยวาจา
การปรึกษาหารือ (Counseling) การสัมภาษณ์พนักงานที่ออก (Exit Interview) การอบรม การ
สัมมนาการพบปะตัวต่อตัว การสนทนาเผชิญหน้า การพูดโทรศัพท์ การฝากบอกต่อ และข่าวลือซึ่ง
สร้อยตระกูล อรรถมานะ (2541) กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารด้วยคาพูด เป็นวิธีการที่ใช้กันมากที่สุด
ในการนาเสนอข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะนักบริหารก็มักจะพบว่าตนนั้นอยู่
ในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยคาพูด แต่ก็ยังพบปัญหาเกี่ยวกับวิธีการใช้ภาษาพูด หรือปัญหาเกี่ยวกับ
การใช้คาที่ใช้เฉพาะวงการหนึ่ง ๆ หรือใช้เฉพาะในกลุ่มคน หรือคาย่อ รหัส ที่ใช้ในองค์การใดองค์การ
หนึ่ง
3. การติดต่อสื่อสารที่ต้องใช้เทคโนโลยี (Technologies
Communication) เทคโนโลยีการสื่อสาร เป็นเครื่องมือทางเทคนิค ที่มีประโยชน์เป็นส่วนย่อยกลุ่ม
หนึ่งขอเทคโนโลยีในสังคมมนุษย์ ซึ่งแต่ละชนิดจะมีคุณลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกันตามแนวคิด
และวัตถุประสงค์ในการใช้แต่ก็มีคุณสมบัติประการหนึ่งที่คล้ายคลึงกันคือ การเอาชนะขีดจากัด
ความสามารถตามธรรมชาติ และเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร เช่น การบันทึกและเผยแพร่ข่าวสาร
องค์ประกอบของการสื่อสาร (สมิต สัชฌุกร, 2547)
1. ผู้ส่งสาร (Source) คือ ผู้ตั้งต้นทาการสื่อสารกับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น ผู้ส่ง
สารอาจเป็นบุคคลเดียว หรืออาจจะมีมากกว่าหนึ่งคนก็ได้ องค์การหรือหน่วยงานที่เป็นผู้เริ่มกระทา
การให้เกิดการสื่อสารก็ถือได้ว่าเป็นผู้ส่งสาร
2. สาร (Message) คือ สาระ เรื่องราว ข่าวสาร ที่ผู้ส่งสารต้องการส่งออกไปสู่
บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น สารอาจเป็นสิ่งที่มีตัวตน เช่น ตัวหนังสือ ตัวเลข รูปภาพ วัตถุต่าง ๆ หรือ
สัญลักษณ์ใด ๆ ที่สามารถให้ความหมายเป็นที่เข้าใจได้
3. ช่องทางที่จะส่งสาร หรือสื่อ (Channel or Medium) คือ เครื่องมือ หรือ
ช่องทางที่ผู้ส่งสารจะใช้ เพื่อให้สารนั้นไปถึงบุคคล หรือกลุ่มบุคคลรับ ช่องที่จะส่งสาร หรือสื่อต่าง ๆ
ที่จะนาสารไปยังผู้รับสารตามที่ผู้ส่งสารมุ่งหมาย อาจจะเป็นสื่อธรรมชาติ เช่น อากาศ เป็นช่องทางที่
คลื่นเสียงผ่านไปยังผู้ฟังเสียง หรืออาจจะเป็นสื่อที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์
ฯลฯ
4. ผู้รับสาร (Receiver) คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่สามารถรับทราบสารของผู้ส่ง
สารได้ผู้รับสารเป็นจุดหมายปลายทางของข่าวสารเป็นบุคคลสาคัญในการชี้ขาดว่า การสื่อสารเป็นผล
หรือไม่
หลักสาคัญในการสื่อสาร
วิจิตร อาวะกุล (2525) ได้กล่าวถึง การสื่อสารที่มีประสิทธิผลต้องมีองค์ประกอบ
7 ประการ คือ
1. ความน่าเชื่อถือ (Credibility) การสื่อสารจะได้ผลนั้น ต้องมีความเชื่อถือของใน
เรื่องของผู้ให้ข่าวสาร แหล่งข่าว เพื่อให้เกิดความมั่นใจ หรือเต็มใจรับฟังข่าวสารนั้น
4
2. ความเหมาะสม (Context) การสื่อสารที่ดีต้องมีความเหมาะสมกลมกลืนกับ
วัฒนธรรมของสังคม เครื่องมือสื่อสารนั้นเป็นเพียงสิ่งประกอบ แต่ความสาคัญอยู่ที่ท่าที ท่าทางภาษา
คาพูดที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมสังคม หมู่ชน หรือสภาพแวดล้อมนั้น ๆ การยกมือไหว้สาหรับ
สังคมไทยย่อมเหมาะสมกว่าการจับมือ หรือการจับมือของฝรั่งย่อมเหมาะสมกว่าการไหว้เป็นต้น
3. เนื้อหาสาระ (Content) ข่าวสารที่ดีจะต้องมีความหมายสาหรับผู้รับ มีสาระ
ประโยชน์แก่กลุ่มชน หรือมีสิ่งที่เขาจะได้ผลประโยชน์ จึงน่าสนใจ บางครั้งสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม
ชนกลุ่มหนึ่ง แต่อาจจะไม่มีสาระสาหรับคนบางกลุ่ม ในเรื่องนี้จึงต้องใช้การพิจารณากลุ่มชนเป้าหมาย
ด้วย
4. บ่อยและสม่าเสมอต่อเนื่องกัน (Continuity and Consistency) การสื่อ
ข่าวสารจะได้ผลต้องส่งบ่อย ๆ ติดต่อกัน หรือมีการย้าหรือซ้า เพื่อเตือนความทรงจา หรือเปลี่ยน
ทัศนคติ และมีความสม่าเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย มิใช่ส่งข่าวสารชนิดขาด ๆ หาย ๆ ไม่เที่ยงตรง
แน่นอน
5. ช่องทางข่าวสาร (Channels) ข่าวสารจะเผยแพร่ได้ดีนั้นจะต้องส่งให้ถูช่องทาง
ของการสื่อสารนั้น ๆ โดยมองหาช่องทางที่เปิดรับข่าวสารที่เราจะส่ง และส่งถูกสายงาน กรม กอง
หน่วย หรือโดยวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ส่งถึงตัวบุคคลโดยตรง จะรวดเร็วกว่า หรือส่งที่
บ้านได้รับเร็วกว่าการส่งไปให้ที่ทางาน เราควรเลือกช่องทางที่ได้ผลเร็วที่สุด
6. ความสามารถของผู้รับข่าวสาร (Capability of Audience) การสื่อสารที่ถือ
ว่าได้ผลนั้นต้องใช้ความพยายาม หรือแรงงานน้อยที่สุด การสื่อสารจะง่ายสะดวกก็ขึ้นอยู่กับ
ความสามารถในการรับของผู้รับ ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สถานที่ โอกาสอานวย นิสัย
ความรู้ พื้นฐานที่จะช่วยให้เข้าใจ เป็นต้น
7. ความแจ่มแจ้งของข่าวสาร (Clarity) ข่าวสารต้องง่าย ใช้ภาษาที่ผู้รับเข้าใจ คือ
ใช้ภาษาของเขา ศัพท์ที่ยากและสูงไม่มีประโยชน์ควรตัดออกให้หมดให้ชัดเจน เข้าใจง่าย มีความมุ่ง
หมายเดียว อย่าให้คลุมเครือ หรือมีความหมายหลายแง่ หรือตกหล่นข้อความบางตอนที่สาคัญไป
ทฤษฎีการและสื่อสาร
ทฤษฎี คือ ข้อความเกี่ยวกับการทางานของสิ่งต่าง ๆ หรือข้อความที่แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงต่าง ๆ
ทฤษฎีการสื่อสารมีอยู่ 4 แบบ คือ
(1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม
(2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส
(3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์
(4) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปริบททางสังคม
5
(1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม มีลักษณะดังนี้
(1.1) เป็นการมองการสื่อสารทั้งระบบ คล้ายเครื่องจักรกล ระบบการรับส่ง
ข้อมูลข่าวสารจะเกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อมีแหล่งข่าวสาร (ผู้ส่ง) ส่งสัญญาณผ่านช่องทางการสื่อสารไปยัง
จุดหมายปลายทาง (ผู้รับสาร)
(1.2) เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว ที่เห็นหน้าตาของผู้รับและผู้ส่งได้
(1.3) มีการกระทาสะท้อนกลับ (Feed back)
(1.4) มีสภาพแวดล้อมทางสังคม จิตวิทยา กาลเวลา สถานที่ เป็นปัจจัยใน
การสื่อสาร และประกอบคาอธิบาย และให้เหตุผล
(1.5) เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (เป็นวงกลม)
(1.6) เป็นการสื่อสารเรื่องใหม่ ๆ
(1.7) ผู้สื่อสาร เป็นผู้กาหนดความหมาย และเจตนารมณ์ของสารที่ส่งไป
(2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส มีลักษณะดังนี้
(2.1) ถือว่าการเข้ารหัสและการถอดรหัสเป็นหัวใจของการสื่อสาร
(2.2) กระบวนการเข้ารหัส และถอดรหัส คือ รูปแบบของการควบคุม
ตรวจสอบ หรือมีอานาจเหนือสิ่งแวดล้อม
(2.3) อธิบายกิจกรรมของการเข้ารหัส และถอดรหัส 3 ประการ
(2.3.1) การรับรหัส-ถอดรหัส (Perception or Decoding)
(2.3.2) การคิด-ตีความ (Cognition or Interpretation)
(2.3.3) การตอบสนอง-การเข้ารหัส (Response or Encoding)
(3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ทฤษฎีนี้วางหลักเกณฑ์ ไว้ว่า
(3.1) การสื่อสาร หรือ ปัจจัยทางการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการสร้าง
ปฏิสัมพันธ์ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล
(3.2) ปฏิสัมพันธ์แสดงออกมาทางพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้รับสาร ดังนั้น
พฤติกรรมทั้งหลายจึงเกิดจากพฤติกรรมทางการสื่อสารทั้งสิ้น ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิด
ปฏิสัมพันธ์ที่ไม่เหมือนกัน มี 3 ประการ คือ
(3.2.1) ปัจจัยด้านผู้ส่งสาร บุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ความ
น่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร ทัศนคติของผู้ส่งสาร ความคิด อิทธิพลของข่าวสาร
(3.2.2) ปัจจัยผู้รับสาร ความรู้สึกของผู้รับสารต่อข่าวสาร
บุคลิกภาพเป็นตัวกาหนดปฏิกิริยาตอบเนื้อหาข่าวสาร
(3.2.3) ปฏิกิริยาต่อเนื้อสารเดียวกัน จะแตกต่างกันไปตามอารมณ์
ความรู้สึกนึกคิดบุคลิกภาพของผู้รับสารที่แตกต่างกัน ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่
แตกต่างกัน มี 4 ประการ คือ
(3.2.3.1) ปัจจัยผู้ส่งสาร
(3.2.3.2) ปัจจัยผู้รับสาร
(3.2.3.3) ปัจจัยทางด้านสังคม หมายถึงอิทธิพลทางสังคม เพราะ
คนเราต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคม เพื่อให้สังคมยอมรับ
6
(3.2.3.4) ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร
สร้างปฏิกิริยาของผู้รับสารได้แตกต่างกัน ที่สาคัญคือ รูปแบบการเรียบเรียงเนื้อหา การจัดลาดับภาษา
ที่ใช้ การเลือกประเด็น การจัด sequence ของเนื้อหา
(4) ทฤษฎีเชิงเปรียบปริบททางสังคม ทฤษฏีนี้อธิบายว่า
(4.1) กระบวนการสื่อสาร เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ภายใต้
อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม
(4.2) สภาพแวดล้อมทางสังคมมีอิทธิพลอย่างสาคัญที่ทาให้การ
สื่อสารเกิดขึ้นได้ ดังนั้น สังคมเป็นปัจจัยที่ควบคุมแหล่งข่าวสาร
(4.3) สังคมเป็นปัจจัยการไหลของข่าวสาร และผลของข่าวสาร ทา
ให้การไหลของข่าวสารเปลี่ยนแปลงได้ทุกครั้งทุกเมื่อ
7
2. การประชาสัมพันธ์
ความหมายของการประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารความ
คิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความ
เข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่
เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้าง
ภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชน เกิดความ
นิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกาจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้าง
ปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการดาเนินงานของหน่วยงานนั้น
องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์
องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ หากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพื่อ
การประชาสัมพันธ์แล้ว ก็สามารถจาแนกองค์ประกอบ สาคัญของการประชาสัมพันธ์
ออกเป็น 4 ประการ คือ
(1) องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะ
บุคคลได้จัดทาขึ้น เป็นแหล่งข่าว แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะ
ดาเนินการใด ๆ ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี กิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ
องค์การสาธารณกุศล ธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วยราชการหรือหน่วย
รัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ และ เป็นต้น
(2) ข่าวสารประชาสัมพันธ์ เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือ
หน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือ
เครื่องหมาย ที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้
(3) สื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่เนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือ
เครื่องหมาย อาจจะเป็นสื่อคาพูด เช่น การสนทนา การประชุม การสัมมนา การอภิปราย การ
ปาฐกถา ฯลฯ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น จดหมาย บัตรอวยพร แผ่นปลิว หนังสือ วารสาร รูป
ลอก ฯลฯ หรือสื่อภาพและเสียง เช่น ถ่ายภาพ สไลด์ แผ่นโปร่งใส วิทยุกระจายเสียง วิทยุ
โทรทัศน์ สไลด์มัลติวิชั่น เทปเสียง ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถสื่อสาร
ความเข้าใจได้ การเลือกใช้สื่อในการประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ ถ้าเป็นบุคคลภายในอาจใช้
โทรทัศน์วงจรปิด เสียงตามสาย ประกาศข่าว จดหมายข่าว ถ้าเป็นประชาชนทั่วไป สื่อ
ประชาสัมพันธ์จะต้องเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
(4) กลุ่มประชาชนเป้าหมายในการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ กลุ่มบุคคล
หรือประชาชนที่เป็นเป้าหมายในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้
(4.1) กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่
พนักงาน ขององค์กร สถาบันความหมายของการประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง
ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง
8
หน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลใน
ความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่
หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อ
หน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกาจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการ
ดาเนินงานของหน่วยงานนั้น
3. การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)
Www เป็นบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน
ปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็น ที่รู้จักในวงการศึกษาในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามี
บทบาทสาคัญทางการศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่งความรู้ที่ไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือก
ใหม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเปิดประตูการศึกษาจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อันกว้าง
ใหญ่ รวมทั้งการนาการศึกษาไปสู่ผู้ที่ขาดโอกาสด้วย ข้อจากัดทางด้านเวลาและสถานที่
การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกัน
ระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการ
เรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้
คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียน
การสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียน
การสอนก็ได้
ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอน เป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มา
ออกแบบเพื่อใช้ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียก
หลายลักษณะ เช่นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-
Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based
Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-
Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล.
2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บเอาไว้หลายนิยาม ได้แก่
ข่าน (Khan,1997 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิทอง , 2543) ได้ให้
ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง โปรแกรม การเรียนการสอนในรูปแบบของ
ไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) ทีนาคุณลักษณะและทรัพยากรต่างๆ มาใช้ในการเรียนรู้
รีแลนและกิลลานิ (Ralan and Gillami, 1997 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิ
ทอง , 2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการประยุกต์ที่แท้จริงของการใช้วิธีการ
ต่างๆ มากมายโดยการใช้เว็บเป็นทรัพยากรเพื่อการสื่อสารและใช้เป็นโครงสร้างสาหรับการ
แพร่กระจายทางการศึกษา
9
ดริสคอลล์ (Driscoll, 1997 อ้างถึงใน สุกรี แวววรรณจิตร , 2545) ได้
ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการใช้ ทักษะหรือความรู้ต่างๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่
ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นช่องทางในการเผยแพร่ ความรู้
สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทย การเรียนการสอนผ่าน
เว็บถือเป็นรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มนาเข้ามาใช้ ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้
ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ ดังนี้
กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บ
เป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชา
ทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้ รวมทั้งใช้
ประโยชน์จากคุณลักษณะต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การเขียนโต้ตอบกัน
ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วยข้อความและเสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด
ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า
หมายถึง การผนวก คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ เพื่อสร้าง
สิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขตจากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน
(Learning without Boundary)
วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการ
นาเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บเพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอนผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่
หลากหลายของอินเทอร์เน็ต และนาคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมาใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน
ให้มากที่สุด
จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา ทั้งในต่างประเทศและ
ภายใน ประเทศไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัด
สภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของ
เวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการ
ทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย
ประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ
นักวิชาการหลายท่าน ได้จัดประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ ไว้ดังนี้ มนต์ชัย เทียน
ทอง (2544: 74) ได้จาแนกบทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ประเภทตามระดับความยากง่าย ดังนี้
1. บทเรียนแบบทั่วไป (Embedded WBI) เป็นบทเรียนที่นาเสนอด้วยข้อความ
และกราฟิกเป็นหลัก จัดว่าเป็นบทเรียนขั้นพื้นฐานที่พัฒนามาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วน
ใหญ่พัฒนาขึ้นด้วยภาษา HTML (Hypertext markup language)
2. บทเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive WBI: IWBI) เป็นบทเรียนที่พัฒนาขึ้น
จากบทเรียนประเภทแรก โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์สัมพันธ์กับผู้ใช้เป็นหลัก นอกจากจะนาเสนอด้วย
10
สื่อต่างๆ ทั้งข้อความ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวแล้ว การพัฒนาบทเรียนระดับนี้จึงต้องใช้
ภาษาคอมพิวเตอร์ใน
4 ได้แก่ ภาษาเชิงวัตถุ (Object-oriented programming) เช่นVisual
Basic, Visual C++ รวมทั้งภาษา HTML, Perl เป็นต้น
3. บทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์สื่อประสม (Interactive Multimedia
WBI:IMMWBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บที่นาเสนอโดยยึดคุณสมบัติทั้ง 5 ด้านของมัลติมีเดีย
ได้แก่ ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ์ และเสียง จัดว่าเป็นระดับสูงสุด เนื่องจาก
การปฏิสัมพันธ์เพื่อการจัดการทางด้านภาพเคลื่อนไหวและเสียงของบทเรียนโดยใช้เว็บบราว์เซอร์นั้น
มีความยุ่งยากมากกว่าบทเรียนที่นาเสนอแบบใช้งานเพียงลาพัง ผู้พัฒนาบทเรียนจะต้องใช้เทคนิค
ต่างๆ เข้าช่วย เพื่อให้บทเรียนจากการมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปด้วยความรวดเร็วและราบรื่น เช่นการเขียน
คุกกี้ (Cookies) ช่วยสื่อสารข้อมูลระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์กับตัวบทเรียนที่อยู่ในไคลแอนท์ตัวอย่างของ
ภาษาที่ใช้พัฒนาบทเรียนระดับนี้ได้แก่ Java, JSP, ASPและ PHP เป็นต้น
พาร์สัน (Parson. 1997: Online) ได้จาแนกบทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะ
ตามการนาไปใช้ในทางการศึกษา คือ
1. เว็บรายวิชา (Stand-alone courses) เป็นเว็บที่บรรจุเนื้อหาหรือ
เอกสารในรายวิชา เพื่อการสอนเพียงอย่างเดียว มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไปถึงได้โดยผ่านระบบ
อินเทอร์เน็ต ซึ่งการสอนผ่านเว็บลักษณะนี้จะเป็นการสอนทั่วทั้งมหาวิทยาลัยที่มีนักศึกษาจานวนมาก
เข้ามาใช้งานจริง แต่มีลักษณะการสื่อสารส่งข้อมูลทางไกล ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียว โดยอาจใช้เว็บ
ช่วยสอนเป็นกิจกรรมหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน
2. เว็บสนับสนุนรายวิชา (Web support courses) เป็นเว็บที่มีลักษณะ
เป็นการสื่อสารสองทางที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และมีแหล่งทรัพยากรทางการศึกษา
ให้มากมาย มีการกาหนดงานให้ทาบนเว็บ การร่วมกันอภิปราย การตอบคาถาม และมีการสื่อสาร
อื่นๆผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มีกิจกรรมต่างๆ ที่ให้ทาในรายวิชา มีการเชื่อมโยงไปยังแหล่งทรัพยากร
อื่นๆ เป็นต้น
3. เว็บทรัพยากรการศึกษา (Web pedagogical resources) เป็นเว็บ
ที่มีรายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาต่างๆ ที่มีอยู่ในสถาบันการศึกษาเข้า
ไว้ด้วยกัน และยังรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการศึกษาไว้บริการ เป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทาง
การศึกษาต่างๆ ทั้งทางด้านวิชาการและไม่ใช่วิชาการ โดยการใช้สื่อที่หลากหลายรวมถึงการสื่อสาร
ระหว่างบุคคล เป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอนทั้งระบบ กล่าวคือ การใช้บทเรียนผ่านเว็บเป็นทั้ง
ระบบการเรียนการสอนหลักให้ผู้สอนและผู้เรียนดาเนินกิจกรรม เช่น การจัดการเรียนการสอน
ทางไกลผ่านเว็บ เป็นต้นซึ่งทั้งนี้ในกระบวนการเรียนการสอนจะถือว่าประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2
เป็นการสอนผ่านเว็บที่มีแนวคิดที่ช่วยในการเรียนการสอนในรายวิชา แต่ในขณะที่ประเภทที่ 3 เป็น
รูปแบบของการให้บริการ การบริหารจัดการ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของสถาบันโดย
มองภาพของการจัดการทั้งสถาบันเป็นหลัก
11
รูปแบบต่างๆ ของบทเรียนผ่านเว็บ
โอลิเวอร์ได้จัดแบ่งโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บ (WBI) ออกเป็น 4 รูปแบบตามมิติ
การใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน คือ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2545: 9-10)
1. Information access เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มุ่งประโยชน์
ในการนาเสนอข้อมูลข่าวสารในการเรียนการสอน เช่น ประมวลรายวิชา (Course syllabus)
กาหนดการเรียนการสอน เนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การบ้าน เป็นต้น
2. Interactive learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่นาเสนอ
บทเรียนโดยออกแบบให้บทเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน มีการให้แรงจูงใจ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับใน
ขั้นตอนต่างๆ ที่ผู้ใช้บทเรียนดาเนินกิจกรรมตามบทเรียนไป ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพียงแต่นาเสนอในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3. Networked learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่เพิ่มมิติของ
การสื่อสารปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ระหว่างผู้เรียนผู้สอน ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองตลอด
กิจกรรมการเรียนการสอน
4. Material development เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มีมิติของ
การให้ผู้เรียนใช้เว็บเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จัดโครงสร้าง และเป็นสื่อในการนาเสนอ
ความรู้ที่ได้จากการเรียนทั้ง 4 โมเดลแสดงให้เห็นถึงมิติต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอนของบทเรียน
ผ่านเว็บซึ่งสรุปได้ว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบ
และการนามาใช้งาน เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่ดาเนินกิจกรรมผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
และบริการของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้นจึง
รองรับการจัดการเรียนการสอนใช้ทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นในเวลาเดียวกัน คนละเวลา คนละสถานที่
และขนาดผู้เรียนกลุ่มใหญ่ หรือรายบุคคล
ข้อดีของบทเรียนผ่านเว็บ
ข้อดีของบทเรียนผ่านเว็บ มีดังนี้ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2545: 9-10)
1. รองรับยุทธศาสตร์การสอน (Instructional strategy) ได้
หลากหลายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่ครอบคลุมทั้ง
เทคโนโลยี และบุคคล(Technology based and human based) เป็นสื่อที่นาเสนอได้ทั้งข้อความ
ธรรมดาและสื่อประสมมีเครื่องมือช่วยการสื่อสารระหว่างการเรียนการสอนทั้งแบบระหว่างบุคคล
และระหว่างบุคคลกับกลุ่ม ทั้งการสื่อสารในเวลาเดียวกัน และต่างเวลากัน ตัวอย่างยุทธศาสตร์ที่ใช้
คือ Resource based learning, Self-paced learning, Collaborative/Cooperative learning,
Individualized instruction
2. ลดเวลาในการบริหารจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นระบบการ
เรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ มีระบบคอมพิวเตอร์ ระบบฐานข้อมูลรองรับการพัฒนา
โปรแกรมเพิ่มเติม ดังนั้นผู้พัฒนาสามารถพัฒนาให้บทเรียนผ่านเว็บช่วยในการลดภาระการบริหาร
จัดการเรียนการสอน เช่น ช่วยบันทึกเวลา ความถี่ในการเข้าใช้บทเรียน เก็บคะแนน สรุปคะแนนหา
ค่าสถิติต่างๆ บริหารคลังข้อสอบ เป็นต้น ข้อดีที่เป็นผลจากการใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการ
12
ทดสอบ ผู้สอนสามารถออกแบบให้บทเรียนผ่านเว็บให้ข้อมูลป้อนกลับมายังผู้เรียนอย่างทันทีทาให้
ผู้เรียนได้รับแรงจูงใจจากการเรียนหรือทากิจกรรมผ่านเว็บ
3. บทเรียนผ่านเว็บที่อยู่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงกับแหล่งข้อมูลมากมายที่ค่อนข้างเป็นปัจจุบัน (Updated) หรือเปิดโอกาส
ให้
ข้อจากัดของบทเรียนผ่านเว็บ
แม้ว่าบทเรียนผ่านเว็บจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกในเรื่องการเรียน
การสอน แต่ในขณะเดียวกันยังมีข้อจากัดหากขาดความพร้อมเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ในด้าน
เทคโนโลยีดังนี้
1. ผู้สอนและผู้เรียนจะต้องคุ้นเคยกับเทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้
ไมโครคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เนื่องจากการเข้าร่วมกิจกรรมบทเรียนผ่านเว็บ
ต้องกระทาผ่านเครื่องมือเหล่านี้
2. บทเรียนผ่านเว็บต้องพึ่งพาเทคโนโลยี หากมีปัญหาทางเทคนิคจะทาให้
การเรียนการสอนชะงักได้ ต่างจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน ซึ่งสามารถดาเนินไปได้โดย
ไม่ขึ้นกับเทคโนโลยี
3. ผู้เรียนและผู้สอนต้องเข้าใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ที่เป็นสื่อกลางใน
บทเรียนผ่านเว็บได้ทุกเวลา หากมีข้อจากัดที่จานวนเครื่องที่ใช้ หรือต้องคอยเวลาไม่สามารถเข้าใช้ได้
อย่างสะดวก จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนได้
4. ผู้สอนต้องใช้เวลามากขึ้นในกระบวนการเรียนการสอน เนื่องจาก
ผู้เรียนทุกคนสามารถสอบถามได้ตลอดเวลา ไม่จากัดเพียงเวลาในชั้นเรียนหรือเวลาทางานของผู้สอน
อีกทั้งผู้สอนจาเป็นต้องติดตามการดาเนินไปของกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างใกล้ชิด หากต้องการ
ทราบปัญหาของการเรียนการสอนหรือต้องการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีขึ้น
5. ผู้เรียนต้องใช้เวลามากขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอนจะ
เปลี่ยนเป็นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active learning) การสื่อสารด้วยการเขียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
จาเป็นต้องผ่านกระบวนการคิดและการแปลงเป็นข้อความ ต้องเรียบเรียงซึ่งใช้เวลามากกว่าการพูด
ขณะเดียวกันแหล่งข้อมูลและความรู้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีมากและมีการเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน ทา
ให้การติดตามอ่านเพื่อนามาร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนต้องใช้เวลามาก
6. บทเรียนผ่านเว็บแบบเต็มรูปแบบ เป็นระบบที่มีการเรียนการสอนผ่าน
อินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ผู้เรียนและผู้สอนจะขาดการปฏิสัมพันธ์แบบเห็นหน้า (Face to
faceinteraction) ซึ่งอาจจะเพิ่มความคลาดเคลื่อนในการสื่อสาร ขาดความรู้สึกจากปฏิสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลไป
7. หากผู้สอนและผู้เรียนยังไม่คุ้นเคยกับการสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ผ่าน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน
13
8. บทเรียนผ่านเว็บอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้เรียนในการรบกวนการทา
กิจกรรมการเรียนการสอนได้ เช่น การเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เว็บอื่นจะเป็นสิ่งเร้า ดึงให้
ผู้เรียนหลงไปนอกบทเรียน เป็นต้น
ประโยชน์ของบทเรียนผ่านเว็บ
ประโยชน์ของบทเรียนผ่านเว็บในการเรียนการสอนมีดังนี้ (ถนอมพร เลาหจรัส
แสง.2544: 88-89; สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2544: 95; ธวัชชัย อดิเทพสถิต. 2545: 18)
1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ศึกษาของผู้เรียน
โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียนได้เรียนในเวลาและสถานที่ๆ
ต้องการ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทางานหรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปใช้บริการทาง
อินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งการที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่กาหนดไว้ จึงสามารถช่วย
แก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษา เช่น ผู้เรียนที่ศึกษาอยู่
ในส่วนภูมิภาคสามารถที่จะศึกษา อภิปรายกับอาจารย์ ครูผู้สอนซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในเขต
นครหลวงได้ เป็นต้น
3. ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเป็นแหล่ง
ความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้
อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา และยังเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้ง
มีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Metacognitive skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งสารนิเทศต่างๆ ได้สะดวก
และมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาที่พบใน
ความเป็นจริง โดยเน้นให้เกิดการเรียนรู้ตามบริบทในโลกแห่งความเป็น
จริง’(Contextualization)และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based learning)
5. เป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เนื่องจากเว็บได้กลายเป็นแหล่ง
ค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ และครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จากัดภาษา และยังช่วย
แก้ปัญหาเรื่องข้อจากัดของแหล่งสารสนเทศแบบเดิมจากห้องสมุดอันได้แก่ ปัญหาทรัพยากร-
สารสนเทศที่มีอยู่อย่างจากัด และเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและ
เป็นจานวนมาก รวมทั้งการที่เว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Hypermedia)ซึ่งทาให้
การค้นหาทาได้สะดวกและง่ายกว่าการค้นหาข้อมูลแบบเดิม
6. ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของ
เว็บที่เอื้ออานวยให้เกิดการศึกษาในลักษณะที่ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลา
โดยไม่จาเป็นต้องเปิดเผยตัวเอง
7. เอื้อให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งการมีปฏิสัมพันธ์ทาได้ 2 รูปแบบ คือ
การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกัน และ/หรือกับผู้สอน และการมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือ
สื่อการสอน ซึ่งลักษณะแรกจะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง
14
กัน ส่วนในลักษณะหลังจะอยู่ในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้
จัดหาไว้ให้แก่ผู้เรียน
8. เปิดโอกาสสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทั้งใน
และนอกสถาบัน จากในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้เรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาต่างๆ จาก
ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยัดเวลา
และค่าใช้จ่าย เมื่อเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารในลักษณะเดิมอีกด้วย
9. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตนสู่คน อื่นๆดังนั้นจึง
ถือว่าเป็นเป็นการสร้างแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย่างหนึ่งสาหรับผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะพยายาม
ผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม่ให้เสียชื่อเสียงตนเอง นอกจากนี้ผู้เรียนยังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นเพื่อ
นามาพัฒนางานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น
10. เปิดโอกาสให้ผู้สอนปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัย ได้อย่าง
สะดวกสบายเนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamic) ดังนั้นผู้สอนจึงสามารถปรับปรุง
เนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้สื่อสารและแสดงความคิดเห็นที่
เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ทาให้เนื้อหาการเรียนการสอนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม
และเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ
11. สามารถนาเนื้อหาในรูปของสื่อหลายมิติ (Multimedia) ได้แก่
ข้อความกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ ภาพสามมิติ เป็นต้น โดยผู้สอนและผู้เรียนสามารถ
เลือกรูปแบบของการนาเสนอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน
15
4. ความหมายของเว็บไซต์
ความรู้เกี่ยวกับเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ คาว่า “เว็บไซต์ (Web site)” มี
ผู้ให้ความหมาย ดังนี้
เอเบอร์โซล (Ebersole. 2000 : Online) กล่าวว่า เว็บไซต์ หมายถึง สื่อประ
สมการเชื่อมต่อและนาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้
งานและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะนาเสนอบริการใหม่ ๆ
เพิ่มขึ้นด้วย ในความเป็นจริงแล้วองค์ประกอบที่สลับซับซ้อนของเว็บไซต์อยู่ที่ความเป็นพลวัต และ
ความสามารถในการรวมตัวกับคุณสมบัติของสื่ออื่น หรือเปลี่ยนแปลงไปเป็นสิ่งอื่น ๆได้โดยในแต่ละ
เดือนที่ผ่านไปได้นามาซึ่งเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาและขยายขอบข่ายของเว็บไซต์ และ
ประสบการณ์ที่ผู้รับสารจะได้รับผ่านเว็บไซต์ และในปัจจุบันได้มีการนาเว็บไซต์มาใช้เพื่อการศึกษา
ของโรงเรียนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นอีกที
กิดานันท์ มลิทอง (2542 : 7) ได้ให้ความหมายคาว่า “เว็บไซต์” ไว้ว่าคือแหล่งที่
รวบรวมหน้าเว็บจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอ
เรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้อหานิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์คือ
การทางานบนเว็บไม่มีสิ้นสุดลง
พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร,ประชา พฤกษ์ประเสริฐ์ และปิยะ นากบังก์ (2542 : 5)
กล่าวว่า เว็บไซต์ (Web site) เป็นที่เก็บเว็บเพจ เมื่อใดที่เราต้องการเปิดดูเว็บเพจ เราต้องใช้
บราวเซอร์ดึง ข้อมูล โดยบราวเซอร์จะทาการติดต่อกับเว็บไซต์นั้นเพื่อให้มีการโอนย้ายข้อมูลมาแสดง
ที่เครื่องของเรา ดังตัวอย่างการโอนย้ายเว็บเพจจากเว็บไซต์ ABCNEWS มาแสดงที่เครื่องของเรา
(เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเผยแพร่เว็บไซต์ เรียกว่า เว็บเซิฟเวอร์ : Web server)
วันชัย แซ่เตีย และสิทธิชัย ประสานวงศ์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ เป็นเครื่อง
ที่ใช้ในการจัดเก็บเว็บเพจแต่ละองค์กรที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในรูปของเว็บมักจะมีเว็บไซต์เป็นของ
ตนเอง และมักใช้ชื่อองค์กรเป็นชื่อเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถจดจาได้ง่าย
สรุปได้ว่าเว็บไซต์ คือ แหล่งรวมโฮมเพจ เว็บเพจทั้งหมดขององค์กร และนาเสนอ
ผ่านอินเทอร์เน็ตผ่าน httpโดยผู้ใช้สามารถเปิดดูด้วย Browser เช่น IE หรือ Netscape เป็นต้น
ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถเป็นได้ทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้
16
5. การออกแบบและขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีหลักการ ดาเนินการตามขั้นตอนที่ชัดเจน จะทาให้ผู้สร้าง
เว็บไซต์สามารถใส่ใจรายละเอียดที่จาเป็นในแต่ละขั้นตอนของการออกแบบ ซึ่งจะช่วยป้องกัน
ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบความล้มเหลว ให้ผู้สร้างได้เว็บไซต์
ที่ตรงกับเป้าหมายตามต้องการ มีประโยชน์ และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ การสร้าง
เว็บไซต์ที่ดีนั้นต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมหลักการออกแบบมีดังนี้
(1) กาหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรกาหนดเป้าหมายและ
วางแผน ไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่ควรทาในขั้นตอนนี้
ประกอบด้วย
(1.1) กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้
ต้องการ นาเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไร
(1.2) กาหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย เพื่อจะได้รู้ว่าผู้ใช้หลักคือใคร และ
ออกแบบเว็บไซต์ ให้ตอบสนองความต้องการผู้ใช้กลุ่มนั้นให้มากที่สุด
(1.3) เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระสาคัญที่แท้จริงของ
เว็บไซต์ ต้องรู้ว่าข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้มาจากแหล่งใดบ้าง เช่น ถ้าเป็นเว็บข่าวสาร ข่าวนั้นจะมาจาก
แหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่ เป็นต้น
(1.4) เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลาย
ด้าน เช่น ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเครื่องบริการ เป็นต้น
ซึ่งถ้าเป็น เว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมาก แต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆ ที่
สามารถดูแล ได้โดยบุคลากรเพียงคนเดียวก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆ เพื่อเตรียมพร้อม
(1.5) เตรียมทรัพยากรต่างๆ ที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์
โปรแกรม สาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวและสื่อประสม โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities)
อื่น ๆ ที่จะต้องใช้ เป็นต้น
(2) วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการนาข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากขั้น
แรก นามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็น
กรอบ สาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ประกอบไปด้วย
(2.1) แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ สารบัญ ลาดับการนาเสนอหรือผังงาน
(2.2) ระบบนาทาง ซึ่งผู้ใช้จะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์
เช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู เป็นต้น
(2.3) องค์ประกอบต่างๆ ที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น ภาพนิ่ง
และภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ สื่อประสม แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่โปรแกรมค้นดูของผู้ใช้
สนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม
(2.4) ข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของเว็บเพจ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
KruBeeKa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
gozungki
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
Boonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังธนชิต จำปาทอง
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อAnna Wongpattanakit
 
Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterailSamorn Tara
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
rubtumproject.com
 
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
klaokitti
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
Drsek Sai
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารหลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารJirarat Tesarin
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Dokhed Gam
 

What's hot (18)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
Test58
Test58Test58
Test58
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterail
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารหลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ

วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บJirawat Fishingclub
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์Benz Lovestory
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
Kritsadin Khemtong
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
freelance
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กPhanudet Senounjan
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
moohhack
 
หล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสารหล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสารPoMpam KamOlrat
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 

Similar to วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ (20)

วิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บวิเคราะห์เว็บ
วิเคราะห์เว็บ
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
ข้อ 2
ข้อ 2ข้อ 2
ข้อ 2
 
Fff
FffFff
Fff
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
หล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสารหล กการและทฤษฏ การส__อสาร
หล กการและทฤษฏ การส__อสาร
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ

  • 1. 1 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 1.หลักการและทฤษฎีการสื่อสาร การสื่อสาร การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่ว่า การสื่อสารเป็นกระบวนการ หรือการ แลกเปลี่ยนโดยมีสาระสาคัญที่ว่า ผู้สื่อสารทาหน้าที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับข่าวในขณะเดียวกันไม่อาจระบุว่า การสื่อสารเริ่มต้นและสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือว่า การสื่อสารมีลักษณะเป็นวงกลมและไม่มีที่สิ้นสุด ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย์ สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็ จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่ รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ ความหมายของการสื่อสาร นักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุม เช่น โรเจอร์ (Rogers, 1976) ได้ให้ความหมายของการติดต่อสื่อสารว่าเป็น การถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความคิด หรือการกระทาต่าง ๆ โดยมีเจตนาที่จะ เปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรมในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และ พฤติกรรมที่แสดงออกโดยเปิดเผย แบลโลว์ กิลสัน และโอดิออร์น (Ballow, Gilson and Odiorne, 1962) ได้กล่าวว่าการติดต่อสื่อสารในองค์การหมายถึง การแลกเปลี่ยนคาพูด อักษร สัญลักษณ์ หรือ ข่าวสาร เพื่อให้สมาชิกในองค์การหนึ่งได้เข้าใจความหมายและสามารถเข้าใจฝ่ายอื่น ได้ ซึ่งถ้า พิจารณาในทางการบริหารองค์การอาจจะกล่าวให้ชัดเจนขึ้นได้ว่า การติดต่อสื่อสารคือ การกระจาย หรือสื่อความหมายเกี่ยวกับนโยบาย และคาสั่งลงไปยังเบื้องล่าง พร้อมกับรับข้อเสนอแนะความเห็น และความรู้สึกต่าง ๆ กลับมา ธร สุนทรายุทธ (ม.ป.ป.) ได้กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญใน องค์การ ที่จะทาให้การดาเนินงานเป็นไปได้ด้วยความร่วมมือ ประสานงานกับทุกฝ่าย ปัจจัยของการ อยู่ร่วมกันและความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกที่จะช่วยกันทางาน อย่างไรก็ตามสิ่งที่จะช่วยให้การ ปฏิบัติงานราบรื่นทาให้การประสานงานกันเป็นอย่างดีก็คือ การติดต่อสื่อสารของสมาชิกในองค์การ นั่นเอง ชรามม์ (Schramm, 1973) ได้พยายามอธิบายถึงกระบวนกา ติดต่อสื่อสารเป็นวงจรในการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล 2 คน ซึ่งกระบวนการสื่อสารจะเริ่ม ตั้งแต่การแปลความหมายการถ่ายทอดข่าวสารซึ่งกันและกันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นซ้ากันไปเรื่อย จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะเข้าใจซึ่งกันและกัน สรุปไม่มีคาจากัดความของการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะ นาไปใช้กับพฤติกรรมการสื่อสารได้ทุกรูปแบบ แต่ละคาจากัดความจะมีวัตถุประสงค์ และผลที่เกิดขึ้น แตกต่างกัน จึงทาให้ความหมายของการสื่อสารกว้าง และนาไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ การพิจารณา ความหมายของการสื่อสารจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกิจกรรมสื่อสารเป็นเรื่อง ๆ ไป ดังนั้น
  • 2. 2 การสื่อสารต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบสาคัญ ๆ 3 ประการ อันได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender)ผู้รับข่าวสาร (Receiver) และตัวข่าวสาร (Message) เมื่อนามารวมกันจะเรียกว่าเป็นการ สื่อสารการสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ไม่อยู่นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีความยุ่งยาก สลับซับซ้อน การเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ของการสื่อสารนั้นมีเหตุผล 4 ประการ คือ 1. ช่วยให้มีโอกาสที่จะเลือกกระบวนการของการสื่อสาร และปัจจัยต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้กับกิจกรรมทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้เพราะว่าไม่มีรูปแบบการสื่อสารอย่างใด อย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียวที่สามารถนาเอาไปใช้กับข้อมูลต่าง ๆ ทางการสื่อสารได้โดยสมบูรณ์ 2. ช่วยให้ค้นพบความจริงใหม่ ๆ เกี่ยวกับการสื่อสาร เพราะการสื่อสาร แต่ละรูปแบบย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ กัน 3. ช่วยให้เกิดการคาดคะเนล่วงหน้า เกี่ยวกับการสื่อสารขึ้นและรูปแบบ เหล่านี้จะช่วยให้คาดคะเนได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นในแต่ละสภาพของการสื่อสาร ซึ่งการคาดคะเนเหล่านี้ จะช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ 4. ช่วยให้สามารถหาวิธีมาวัดปัจจัย และกระบวนการในการสื่อสารต่าง ๆ ได้ เพราะรูปแบบ รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร การที่จะติดต่อสื่อสารที่จะช่วยให้ข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยอาศัยช่องทางไปสู่ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การมองเห็น การสัมผัส การได้ยิน การได้กลิ่น การลิ้มรส โดยใช้ช่องทางคือ การบันทึกข้อความ คาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร การพูดการสื่อสารความหมายที่มีประสิทธิภาพ ควรใช้ ช่องทางหลาย ๆ ช่องทาง ช่องทางการติดต่อสื่อสารมีความสาคัญมากในการติดต่อสื่อสาร ช่องทางที่ ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา ได้แก่ การพูด (การสั่งงาน กาประชุม การติดต่อสื่อสารกันทางโทรศัพท์การส่งข่าว การส่งข่าวทางอินเตอร์เน็ท ลายลักษณ์อักษรหรืสิ่งพิมพ์ (จดหมาย หนังสือเวียนประกาศต่าง ๆ วารสารภายใน) โสตทัศนูปกรณ์ (เสียงตามสาย) สามารถแบ่ง ประเภทตามวิธีการต่าง ๆ ดังนี้คือ การติดต่อสื่อสารทางลายลักษณ์อักษร การติดต่อสื่อสารทางวาจา และการติดต่อสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี 1. การติดต่อสื่อสารทางลายลักษณ์อักษร (Written Communicatio หมายถึงการติดต่อสื่อสารที่แสดงออกโดยการเขียน ซึ่งอาจเป็นตัวอักษร หรือตัวเลขแสดงจานวนก็ได้ เช่นหนังสือเวียน และบันทึกโต้ตอบ (Circulation - Notes - Letters - Memo) ป้าย ประกาศ บันทึกข้อความ รายงานประจาปี แผงข่าวสาร แผ่นปลิว สิ่งตีพิมพ์จดหมายข่าว และวารสาร คู่มือการ ปฏิบัติงาน เป็นต้น ส่วนมากผู้บริหารต้องการข่าวสารที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แต่บางครั้งการ ขาดการพิจารณาข้อความของข่าวสารที่ส่งมาให้โดยรอบคอบก็อาจจะเกิดผลกระทบที่เสียหายต่อ องค์การได้ (Timm, 1995) โดยมากมักจะพบว่า การสื่อสารด้วยการเขียนยากกว่าการพูด ทั้งนี้อาจ เป็นเพราะบุคคลนั้นมีความสามารถทางภาษาน้อย เช่น ถ้าเขาทาหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร เขาอาจไม่แน่ใจ ในคาสะกด อีกประการหนึ่ง การติดต่อสื่อสารที่อาศัยการเขียนนั้นมักจะมีลักษณะของการ ติดต่อสื่อสารทางเดียว
  • 3. 3 2. การติดต่อสื่อสารทางวาจา (Oral Communication) หมายถึง การ ติดต่อสื่อสารที่แสดงออกโดย การพูด เช่น การประชุมกลุ่ม (Group Meeting) การร้องทุกข์โดยวาจา การปรึกษาหารือ (Counseling) การสัมภาษณ์พนักงานที่ออก (Exit Interview) การอบรม การ สัมมนาการพบปะตัวต่อตัว การสนทนาเผชิญหน้า การพูดโทรศัพท์ การฝากบอกต่อ และข่าวลือซึ่ง สร้อยตระกูล อรรถมานะ (2541) กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารด้วยคาพูด เป็นวิธีการที่ใช้กันมากที่สุด ในการนาเสนอข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะนักบริหารก็มักจะพบว่าตนนั้นอยู่ ในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยคาพูด แต่ก็ยังพบปัญหาเกี่ยวกับวิธีการใช้ภาษาพูด หรือปัญหาเกี่ยวกับ การใช้คาที่ใช้เฉพาะวงการหนึ่ง ๆ หรือใช้เฉพาะในกลุ่มคน หรือคาย่อ รหัส ที่ใช้ในองค์การใดองค์การ หนึ่ง 3. การติดต่อสื่อสารที่ต้องใช้เทคโนโลยี (Technologies Communication) เทคโนโลยีการสื่อสาร เป็นเครื่องมือทางเทคนิค ที่มีประโยชน์เป็นส่วนย่อยกลุ่ม หนึ่งขอเทคโนโลยีในสังคมมนุษย์ ซึ่งแต่ละชนิดจะมีคุณลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกันตามแนวคิด และวัตถุประสงค์ในการใช้แต่ก็มีคุณสมบัติประการหนึ่งที่คล้ายคลึงกันคือ การเอาชนะขีดจากัด ความสามารถตามธรรมชาติ และเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร เช่น การบันทึกและเผยแพร่ข่าวสาร องค์ประกอบของการสื่อสาร (สมิต สัชฌุกร, 2547) 1. ผู้ส่งสาร (Source) คือ ผู้ตั้งต้นทาการสื่อสารกับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น ผู้ส่ง สารอาจเป็นบุคคลเดียว หรืออาจจะมีมากกว่าหนึ่งคนก็ได้ องค์การหรือหน่วยงานที่เป็นผู้เริ่มกระทา การให้เกิดการสื่อสารก็ถือได้ว่าเป็นผู้ส่งสาร 2. สาร (Message) คือ สาระ เรื่องราว ข่าวสาร ที่ผู้ส่งสารต้องการส่งออกไปสู่ บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น สารอาจเป็นสิ่งที่มีตัวตน เช่น ตัวหนังสือ ตัวเลข รูปภาพ วัตถุต่าง ๆ หรือ สัญลักษณ์ใด ๆ ที่สามารถให้ความหมายเป็นที่เข้าใจได้ 3. ช่องทางที่จะส่งสาร หรือสื่อ (Channel or Medium) คือ เครื่องมือ หรือ ช่องทางที่ผู้ส่งสารจะใช้ เพื่อให้สารนั้นไปถึงบุคคล หรือกลุ่มบุคคลรับ ช่องที่จะส่งสาร หรือสื่อต่าง ๆ ที่จะนาสารไปยังผู้รับสารตามที่ผู้ส่งสารมุ่งหมาย อาจจะเป็นสื่อธรรมชาติ เช่น อากาศ เป็นช่องทางที่ คลื่นเสียงผ่านไปยังผู้ฟังเสียง หรืออาจจะเป็นสื่อที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ ฯลฯ 4. ผู้รับสาร (Receiver) คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่สามารถรับทราบสารของผู้ส่ง สารได้ผู้รับสารเป็นจุดหมายปลายทางของข่าวสารเป็นบุคคลสาคัญในการชี้ขาดว่า การสื่อสารเป็นผล หรือไม่ หลักสาคัญในการสื่อสาร วิจิตร อาวะกุล (2525) ได้กล่าวถึง การสื่อสารที่มีประสิทธิผลต้องมีองค์ประกอบ 7 ประการ คือ 1. ความน่าเชื่อถือ (Credibility) การสื่อสารจะได้ผลนั้น ต้องมีความเชื่อถือของใน เรื่องของผู้ให้ข่าวสาร แหล่งข่าว เพื่อให้เกิดความมั่นใจ หรือเต็มใจรับฟังข่าวสารนั้น
  • 4. 4 2. ความเหมาะสม (Context) การสื่อสารที่ดีต้องมีความเหมาะสมกลมกลืนกับ วัฒนธรรมของสังคม เครื่องมือสื่อสารนั้นเป็นเพียงสิ่งประกอบ แต่ความสาคัญอยู่ที่ท่าที ท่าทางภาษา คาพูดที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมสังคม หมู่ชน หรือสภาพแวดล้อมนั้น ๆ การยกมือไหว้สาหรับ สังคมไทยย่อมเหมาะสมกว่าการจับมือ หรือการจับมือของฝรั่งย่อมเหมาะสมกว่าการไหว้เป็นต้น 3. เนื้อหาสาระ (Content) ข่าวสารที่ดีจะต้องมีความหมายสาหรับผู้รับ มีสาระ ประโยชน์แก่กลุ่มชน หรือมีสิ่งที่เขาจะได้ผลประโยชน์ จึงน่าสนใจ บางครั้งสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม ชนกลุ่มหนึ่ง แต่อาจจะไม่มีสาระสาหรับคนบางกลุ่ม ในเรื่องนี้จึงต้องใช้การพิจารณากลุ่มชนเป้าหมาย ด้วย 4. บ่อยและสม่าเสมอต่อเนื่องกัน (Continuity and Consistency) การสื่อ ข่าวสารจะได้ผลต้องส่งบ่อย ๆ ติดต่อกัน หรือมีการย้าหรือซ้า เพื่อเตือนความทรงจา หรือเปลี่ยน ทัศนคติ และมีความสม่าเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย มิใช่ส่งข่าวสารชนิดขาด ๆ หาย ๆ ไม่เที่ยงตรง แน่นอน 5. ช่องทางข่าวสาร (Channels) ข่าวสารจะเผยแพร่ได้ดีนั้นจะต้องส่งให้ถูช่องทาง ของการสื่อสารนั้น ๆ โดยมองหาช่องทางที่เปิดรับข่าวสารที่เราจะส่ง และส่งถูกสายงาน กรม กอง หน่วย หรือโดยวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ส่งถึงตัวบุคคลโดยตรง จะรวดเร็วกว่า หรือส่งที่ บ้านได้รับเร็วกว่าการส่งไปให้ที่ทางาน เราควรเลือกช่องทางที่ได้ผลเร็วที่สุด 6. ความสามารถของผู้รับข่าวสาร (Capability of Audience) การสื่อสารที่ถือ ว่าได้ผลนั้นต้องใช้ความพยายาม หรือแรงงานน้อยที่สุด การสื่อสารจะง่ายสะดวกก็ขึ้นอยู่กับ ความสามารถในการรับของผู้รับ ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สถานที่ โอกาสอานวย นิสัย ความรู้ พื้นฐานที่จะช่วยให้เข้าใจ เป็นต้น 7. ความแจ่มแจ้งของข่าวสาร (Clarity) ข่าวสารต้องง่าย ใช้ภาษาที่ผู้รับเข้าใจ คือ ใช้ภาษาของเขา ศัพท์ที่ยากและสูงไม่มีประโยชน์ควรตัดออกให้หมดให้ชัดเจน เข้าใจง่าย มีความมุ่ง หมายเดียว อย่าให้คลุมเครือ หรือมีความหมายหลายแง่ หรือตกหล่นข้อความบางตอนที่สาคัญไป ทฤษฎีการและสื่อสาร ทฤษฎี คือ ข้อความเกี่ยวกับการทางานของสิ่งต่าง ๆ หรือข้อความที่แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทฤษฎีการสื่อสารมีอยู่ 4 แบบ คือ (1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม (2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส (3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ (4) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปริบททางสังคม
  • 5. 5 (1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม มีลักษณะดังนี้ (1.1) เป็นการมองการสื่อสารทั้งระบบ คล้ายเครื่องจักรกล ระบบการรับส่ง ข้อมูลข่าวสารจะเกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อมีแหล่งข่าวสาร (ผู้ส่ง) ส่งสัญญาณผ่านช่องทางการสื่อสารไปยัง จุดหมายปลายทาง (ผู้รับสาร) (1.2) เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว ที่เห็นหน้าตาของผู้รับและผู้ส่งได้ (1.3) มีการกระทาสะท้อนกลับ (Feed back) (1.4) มีสภาพแวดล้อมทางสังคม จิตวิทยา กาลเวลา สถานที่ เป็นปัจจัยใน การสื่อสาร และประกอบคาอธิบาย และให้เหตุผล (1.5) เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (เป็นวงกลม) (1.6) เป็นการสื่อสารเรื่องใหม่ ๆ (1.7) ผู้สื่อสาร เป็นผู้กาหนดความหมาย และเจตนารมณ์ของสารที่ส่งไป (2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส มีลักษณะดังนี้ (2.1) ถือว่าการเข้ารหัสและการถอดรหัสเป็นหัวใจของการสื่อสาร (2.2) กระบวนการเข้ารหัส และถอดรหัส คือ รูปแบบของการควบคุม ตรวจสอบ หรือมีอานาจเหนือสิ่งแวดล้อม (2.3) อธิบายกิจกรรมของการเข้ารหัส และถอดรหัส 3 ประการ (2.3.1) การรับรหัส-ถอดรหัส (Perception or Decoding) (2.3.2) การคิด-ตีความ (Cognition or Interpretation) (2.3.3) การตอบสนอง-การเข้ารหัส (Response or Encoding) (3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ทฤษฎีนี้วางหลักเกณฑ์ ไว้ว่า (3.1) การสื่อสาร หรือ ปัจจัยทางการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการสร้าง ปฏิสัมพันธ์ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล (3.2) ปฏิสัมพันธ์แสดงออกมาทางพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้รับสาร ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลายจึงเกิดจากพฤติกรรมทางการสื่อสารทั้งสิ้น ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิด ปฏิสัมพันธ์ที่ไม่เหมือนกัน มี 3 ประการ คือ (3.2.1) ปัจจัยด้านผู้ส่งสาร บุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ความ น่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร ทัศนคติของผู้ส่งสาร ความคิด อิทธิพลของข่าวสาร (3.2.2) ปัจจัยผู้รับสาร ความรู้สึกของผู้รับสารต่อข่าวสาร บุคลิกภาพเป็นตัวกาหนดปฏิกิริยาตอบเนื้อหาข่าวสาร (3.2.3) ปฏิกิริยาต่อเนื้อสารเดียวกัน จะแตกต่างกันไปตามอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดบุคลิกภาพของผู้รับสารที่แตกต่างกัน ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ แตกต่างกัน มี 4 ประการ คือ (3.2.3.1) ปัจจัยผู้ส่งสาร (3.2.3.2) ปัจจัยผู้รับสาร (3.2.3.3) ปัจจัยทางด้านสังคม หมายถึงอิทธิพลทางสังคม เพราะ คนเราต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคม เพื่อให้สังคมยอมรับ
  • 6. 6 (3.2.3.4) ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร สร้างปฏิกิริยาของผู้รับสารได้แตกต่างกัน ที่สาคัญคือ รูปแบบการเรียบเรียงเนื้อหา การจัดลาดับภาษา ที่ใช้ การเลือกประเด็น การจัด sequence ของเนื้อหา (4) ทฤษฎีเชิงเปรียบปริบททางสังคม ทฤษฏีนี้อธิบายว่า (4.1) กระบวนการสื่อสาร เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ภายใต้ อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม (4.2) สภาพแวดล้อมทางสังคมมีอิทธิพลอย่างสาคัญที่ทาให้การ สื่อสารเกิดขึ้นได้ ดังนั้น สังคมเป็นปัจจัยที่ควบคุมแหล่งข่าวสาร (4.3) สังคมเป็นปัจจัยการไหลของข่าวสาร และผลของข่าวสาร ทา ให้การไหลของข่าวสารเปลี่ยนแปลงได้ทุกครั้งทุกเมื่อ
  • 7. 7 2. การประชาสัมพันธ์ ความหมายของการประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารความ คิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความ เข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่ เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้าง ภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชน เกิดความ นิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกาจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้าง ปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการดาเนินงานของหน่วยงานนั้น องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ หากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพื่อ การประชาสัมพันธ์แล้ว ก็สามารถจาแนกองค์ประกอบ สาคัญของการประชาสัมพันธ์ ออกเป็น 4 ประการ คือ (1) องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะ บุคคลได้จัดทาขึ้น เป็นแหล่งข่าว แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะ ดาเนินการใด ๆ ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี กิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ องค์การสาธารณกุศล ธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วยราชการหรือหน่วย รัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ และ เป็นต้น (2) ข่าวสารประชาสัมพันธ์ เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือ หน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย ที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้ (3) สื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่เนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย อาจจะเป็นสื่อคาพูด เช่น การสนทนา การประชุม การสัมมนา การอภิปราย การ ปาฐกถา ฯลฯ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น จดหมาย บัตรอวยพร แผ่นปลิว หนังสือ วารสาร รูป ลอก ฯลฯ หรือสื่อภาพและเสียง เช่น ถ่ายภาพ สไลด์ แผ่นโปร่งใส วิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์ สไลด์มัลติวิชั่น เทปเสียง ภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถสื่อสาร ความเข้าใจได้ การเลือกใช้สื่อในการประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ ถ้าเป็นบุคคลภายในอาจใช้ โทรทัศน์วงจรปิด เสียงตามสาย ประกาศข่าว จดหมายข่าว ถ้าเป็นประชาชนทั่วไป สื่อ ประชาสัมพันธ์จะต้องเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ (4) กลุ่มประชาชนเป้าหมายในการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ กลุ่มบุคคล หรือประชาชนที่เป็นเป้าหมายในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้ (4.1) กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่ พนักงาน ขององค์กร สถาบันความหมายของการประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง
  • 8. 8 หน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลใน ความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่ หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อ หน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกาจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการ ดาเนินงานของหน่วยงานนั้น 3. การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) Www เป็นบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน ปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็น ที่รู้จักในวงการศึกษาในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามี บทบาทสาคัญทางการศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่งความรู้ที่ไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือก ใหม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อเปิดประตูการศึกษาจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อันกว้าง ใหญ่ รวมทั้งการนาการศึกษาไปสู่ผู้ที่ขาดโอกาสด้วย ข้อจากัดทางด้านเวลาและสถานที่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกัน ระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการ เรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้ คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียน การสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียน การสอนก็ได้ ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอน เป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มา ออกแบบเพื่อใช้ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียก หลายลักษณะ เช่นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web- Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW- Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บเอาไว้หลายนิยาม ได้แก่ ข่าน (Khan,1997 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิทอง , 2543) ได้ให้ ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง โปรแกรม การเรียนการสอนในรูปแบบของ ไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) ทีนาคุณลักษณะและทรัพยากรต่างๆ มาใช้ในการเรียนรู้ รีแลนและกิลลานิ (Ralan and Gillami, 1997 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิ ทอง , 2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการประยุกต์ที่แท้จริงของการใช้วิธีการ ต่างๆ มากมายโดยการใช้เว็บเป็นทรัพยากรเพื่อการสื่อสารและใช้เป็นโครงสร้างสาหรับการ แพร่กระจายทางการศึกษา
  • 9. 9 ดริสคอลล์ (Driscoll, 1997 อ้างถึงใน สุกรี แวววรรณจิตร , 2545) ได้ ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการใช้ ทักษะหรือความรู้ต่างๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่ ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นช่องทางในการเผยแพร่ ความรู้ สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทย การเรียนการสอนผ่าน เว็บถือเป็นรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มนาเข้ามาใช้ ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ ดังนี้ กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชา ทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้ รวมทั้งใช้ ประโยชน์จากคุณลักษณะต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การเขียนโต้ตอบกัน ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วยข้อความและเสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า หมายถึง การผนวก คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ เพื่อสร้าง สิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขตจากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary) วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการ นาเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บเพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอนผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่ หลากหลายของอินเทอร์เน็ต และนาคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมาใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน ให้มากที่สุด จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา ทั้งในต่างประเทศและ ภายใน ประเทศไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัด สภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของ เวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการ ทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย ประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ นักวิชาการหลายท่าน ได้จัดประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ ไว้ดังนี้ มนต์ชัย เทียน ทอง (2544: 74) ได้จาแนกบทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ประเภทตามระดับความยากง่าย ดังนี้ 1. บทเรียนแบบทั่วไป (Embedded WBI) เป็นบทเรียนที่นาเสนอด้วยข้อความ และกราฟิกเป็นหลัก จัดว่าเป็นบทเรียนขั้นพื้นฐานที่พัฒนามาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วน ใหญ่พัฒนาขึ้นด้วยภาษา HTML (Hypertext markup language) 2. บทเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive WBI: IWBI) เป็นบทเรียนที่พัฒนาขึ้น จากบทเรียนประเภทแรก โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์สัมพันธ์กับผู้ใช้เป็นหลัก นอกจากจะนาเสนอด้วย
  • 10. 10 สื่อต่างๆ ทั้งข้อความ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวแล้ว การพัฒนาบทเรียนระดับนี้จึงต้องใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ใน 4 ได้แก่ ภาษาเชิงวัตถุ (Object-oriented programming) เช่นVisual Basic, Visual C++ รวมทั้งภาษา HTML, Perl เป็นต้น 3. บทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์สื่อประสม (Interactive Multimedia WBI:IMMWBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บที่นาเสนอโดยยึดคุณสมบัติทั้ง 5 ด้านของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ์ และเสียง จัดว่าเป็นระดับสูงสุด เนื่องจาก การปฏิสัมพันธ์เพื่อการจัดการทางด้านภาพเคลื่อนไหวและเสียงของบทเรียนโดยใช้เว็บบราว์เซอร์นั้น มีความยุ่งยากมากกว่าบทเรียนที่นาเสนอแบบใช้งานเพียงลาพัง ผู้พัฒนาบทเรียนจะต้องใช้เทคนิค ต่างๆ เข้าช่วย เพื่อให้บทเรียนจากการมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปด้วยความรวดเร็วและราบรื่น เช่นการเขียน คุกกี้ (Cookies) ช่วยสื่อสารข้อมูลระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์กับตัวบทเรียนที่อยู่ในไคลแอนท์ตัวอย่างของ ภาษาที่ใช้พัฒนาบทเรียนระดับนี้ได้แก่ Java, JSP, ASPและ PHP เป็นต้น พาร์สัน (Parson. 1997: Online) ได้จาแนกบทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะ ตามการนาไปใช้ในทางการศึกษา คือ 1. เว็บรายวิชา (Stand-alone courses) เป็นเว็บที่บรรจุเนื้อหาหรือ เอกสารในรายวิชา เพื่อการสอนเพียงอย่างเดียว มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไปถึงได้โดยผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ซึ่งการสอนผ่านเว็บลักษณะนี้จะเป็นการสอนทั่วทั้งมหาวิทยาลัยที่มีนักศึกษาจานวนมาก เข้ามาใช้งานจริง แต่มีลักษณะการสื่อสารส่งข้อมูลทางไกล ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียว โดยอาจใช้เว็บ ช่วยสอนเป็นกิจกรรมหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน 2. เว็บสนับสนุนรายวิชา (Web support courses) เป็นเว็บที่มีลักษณะ เป็นการสื่อสารสองทางที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และมีแหล่งทรัพยากรทางการศึกษา ให้มากมาย มีการกาหนดงานให้ทาบนเว็บ การร่วมกันอภิปราย การตอบคาถาม และมีการสื่อสาร อื่นๆผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มีกิจกรรมต่างๆ ที่ให้ทาในรายวิชา มีการเชื่อมโยงไปยังแหล่งทรัพยากร อื่นๆ เป็นต้น 3. เว็บทรัพยากรการศึกษา (Web pedagogical resources) เป็นเว็บ ที่มีรายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาต่างๆ ที่มีอยู่ในสถาบันการศึกษาเข้า ไว้ด้วยกัน และยังรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการศึกษาไว้บริการ เป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทาง การศึกษาต่างๆ ทั้งทางด้านวิชาการและไม่ใช่วิชาการ โดยการใช้สื่อที่หลากหลายรวมถึงการสื่อสาร ระหว่างบุคคล เป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอนทั้งระบบ กล่าวคือ การใช้บทเรียนผ่านเว็บเป็นทั้ง ระบบการเรียนการสอนหลักให้ผู้สอนและผู้เรียนดาเนินกิจกรรม เช่น การจัดการเรียนการสอน ทางไกลผ่านเว็บ เป็นต้นซึ่งทั้งนี้ในกระบวนการเรียนการสอนจะถือว่าประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 เป็นการสอนผ่านเว็บที่มีแนวคิดที่ช่วยในการเรียนการสอนในรายวิชา แต่ในขณะที่ประเภทที่ 3 เป็น รูปแบบของการให้บริการ การบริหารจัดการ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของสถาบันโดย มองภาพของการจัดการทั้งสถาบันเป็นหลัก
  • 11. 11 รูปแบบต่างๆ ของบทเรียนผ่านเว็บ โอลิเวอร์ได้จัดแบ่งโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บ (WBI) ออกเป็น 4 รูปแบบตามมิติ การใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน คือ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2545: 9-10) 1. Information access เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มุ่งประโยชน์ ในการนาเสนอข้อมูลข่าวสารในการเรียนการสอน เช่น ประมวลรายวิชา (Course syllabus) กาหนดการเรียนการสอน เนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การบ้าน เป็นต้น 2. Interactive learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่นาเสนอ บทเรียนโดยออกแบบให้บทเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน มีการให้แรงจูงใจ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับใน ขั้นตอนต่างๆ ที่ผู้ใช้บทเรียนดาเนินกิจกรรมตามบทเรียนไป ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพียงแต่นาเสนอในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. Networked learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่เพิ่มมิติของ การสื่อสารปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ระหว่างผู้เรียนผู้สอน ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองตลอด กิจกรรมการเรียนการสอน 4. Material development เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มีมิติของ การให้ผู้เรียนใช้เว็บเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จัดโครงสร้าง และเป็นสื่อในการนาเสนอ ความรู้ที่ได้จากการเรียนทั้ง 4 โมเดลแสดงให้เห็นถึงมิติต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอนของบทเรียน ผ่านเว็บซึ่งสรุปได้ว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบ และการนามาใช้งาน เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่ดาเนินกิจกรรมผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และบริการของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้นจึง รองรับการจัดการเรียนการสอนใช้ทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นในเวลาเดียวกัน คนละเวลา คนละสถานที่ และขนาดผู้เรียนกลุ่มใหญ่ หรือรายบุคคล ข้อดีของบทเรียนผ่านเว็บ ข้อดีของบทเรียนผ่านเว็บ มีดังนี้ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2545: 9-10) 1. รองรับยุทธศาสตร์การสอน (Instructional strategy) ได้ หลากหลายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่ครอบคลุมทั้ง เทคโนโลยี และบุคคล(Technology based and human based) เป็นสื่อที่นาเสนอได้ทั้งข้อความ ธรรมดาและสื่อประสมมีเครื่องมือช่วยการสื่อสารระหว่างการเรียนการสอนทั้งแบบระหว่างบุคคล และระหว่างบุคคลกับกลุ่ม ทั้งการสื่อสารในเวลาเดียวกัน และต่างเวลากัน ตัวอย่างยุทธศาสตร์ที่ใช้ คือ Resource based learning, Self-paced learning, Collaborative/Cooperative learning, Individualized instruction 2. ลดเวลาในการบริหารจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นระบบการ เรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ มีระบบคอมพิวเตอร์ ระบบฐานข้อมูลรองรับการพัฒนา โปรแกรมเพิ่มเติม ดังนั้นผู้พัฒนาสามารถพัฒนาให้บทเรียนผ่านเว็บช่วยในการลดภาระการบริหาร จัดการเรียนการสอน เช่น ช่วยบันทึกเวลา ความถี่ในการเข้าใช้บทเรียน เก็บคะแนน สรุปคะแนนหา ค่าสถิติต่างๆ บริหารคลังข้อสอบ เป็นต้น ข้อดีที่เป็นผลจากการใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการ
  • 12. 12 ทดสอบ ผู้สอนสามารถออกแบบให้บทเรียนผ่านเว็บให้ข้อมูลป้อนกลับมายังผู้เรียนอย่างทันทีทาให้ ผู้เรียนได้รับแรงจูงใจจากการเรียนหรือทากิจกรรมผ่านเว็บ 3. บทเรียนผ่านเว็บที่อยู่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงกับแหล่งข้อมูลมากมายที่ค่อนข้างเป็นปัจจุบัน (Updated) หรือเปิดโอกาส ให้ ข้อจากัดของบทเรียนผ่านเว็บ แม้ว่าบทเรียนผ่านเว็บจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยอานวยความสะดวกในเรื่องการเรียน การสอน แต่ในขณะเดียวกันยังมีข้อจากัดหากขาดความพร้อมเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ในด้าน เทคโนโลยีดังนี้ 1. ผู้สอนและผู้เรียนจะต้องคุ้นเคยกับเทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เนื่องจากการเข้าร่วมกิจกรรมบทเรียนผ่านเว็บ ต้องกระทาผ่านเครื่องมือเหล่านี้ 2. บทเรียนผ่านเว็บต้องพึ่งพาเทคโนโลยี หากมีปัญหาทางเทคนิคจะทาให้ การเรียนการสอนชะงักได้ ต่างจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน ซึ่งสามารถดาเนินไปได้โดย ไม่ขึ้นกับเทคโนโลยี 3. ผู้เรียนและผู้สอนต้องเข้าใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ที่เป็นสื่อกลางใน บทเรียนผ่านเว็บได้ทุกเวลา หากมีข้อจากัดที่จานวนเครื่องที่ใช้ หรือต้องคอยเวลาไม่สามารถเข้าใช้ได้ อย่างสะดวก จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนได้ 4. ผู้สอนต้องใช้เวลามากขึ้นในกระบวนการเรียนการสอน เนื่องจาก ผู้เรียนทุกคนสามารถสอบถามได้ตลอดเวลา ไม่จากัดเพียงเวลาในชั้นเรียนหรือเวลาทางานของผู้สอน อีกทั้งผู้สอนจาเป็นต้องติดตามการดาเนินไปของกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างใกล้ชิด หากต้องการ ทราบปัญหาของการเรียนการสอนหรือต้องการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีขึ้น 5. ผู้เรียนต้องใช้เวลามากขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอนจะ เปลี่ยนเป็นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active learning) การสื่อสารด้วยการเขียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จาเป็นต้องผ่านกระบวนการคิดและการแปลงเป็นข้อความ ต้องเรียบเรียงซึ่งใช้เวลามากกว่าการพูด ขณะเดียวกันแหล่งข้อมูลและความรู้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีมากและมีการเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน ทา ให้การติดตามอ่านเพื่อนามาร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนต้องใช้เวลามาก 6. บทเรียนผ่านเว็บแบบเต็มรูปแบบ เป็นระบบที่มีการเรียนการสอนผ่าน อินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ผู้เรียนและผู้สอนจะขาดการปฏิสัมพันธ์แบบเห็นหน้า (Face to faceinteraction) ซึ่งอาจจะเพิ่มความคลาดเคลื่อนในการสื่อสาร ขาดความรู้สึกจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลไป 7. หากผู้สอนและผู้เรียนยังไม่คุ้นเคยกับการสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน
  • 13. 13 8. บทเรียนผ่านเว็บอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้เรียนในการรบกวนการทา กิจกรรมการเรียนการสอนได้ เช่น การเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เว็บอื่นจะเป็นสิ่งเร้า ดึงให้ ผู้เรียนหลงไปนอกบทเรียน เป็นต้น ประโยชน์ของบทเรียนผ่านเว็บ ประโยชน์ของบทเรียนผ่านเว็บในการเรียนการสอนมีดังนี้ (ถนอมพร เลาหจรัส แสง.2544: 88-89; สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2544: 95; ธวัชชัย อดิเทพสถิต. 2545: 18) 1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ศึกษาของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียนได้เรียนในเวลาและสถานที่ๆ ต้องการ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทางานหรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปใช้บริการทาง อินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งการที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่กาหนดไว้ จึงสามารถช่วย แก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษา เช่น ผู้เรียนที่ศึกษาอยู่ ในส่วนภูมิภาคสามารถที่จะศึกษา อภิปรายกับอาจารย์ ครูผู้สอนซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในเขต นครหลวงได้ เป็นต้น 3. ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเป็นแหล่ง ความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา และยังเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้ง มีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Metacognitive skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งสารนิเทศต่างๆ ได้สะดวก และมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาที่พบใน ความเป็นจริง โดยเน้นให้เกิดการเรียนรู้ตามบริบทในโลกแห่งความเป็น จริง’(Contextualization)และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based learning) 5. เป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เนื่องจากเว็บได้กลายเป็นแหล่ง ค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ และครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จากัดภาษา และยังช่วย แก้ปัญหาเรื่องข้อจากัดของแหล่งสารสนเทศแบบเดิมจากห้องสมุดอันได้แก่ ปัญหาทรัพยากร- สารสนเทศที่มีอยู่อย่างจากัด และเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและ เป็นจานวนมาก รวมทั้งการที่เว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Hypermedia)ซึ่งทาให้ การค้นหาทาได้สะดวกและง่ายกว่าการค้นหาข้อมูลแบบเดิม 6. ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของ เว็บที่เอื้ออานวยให้เกิดการศึกษาในลักษณะที่ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลา โดยไม่จาเป็นต้องเปิดเผยตัวเอง 7. เอื้อให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งการมีปฏิสัมพันธ์ทาได้ 2 รูปแบบ คือ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกัน และ/หรือกับผู้สอน และการมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือ สื่อการสอน ซึ่งลักษณะแรกจะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง
  • 14. 14 กัน ส่วนในลักษณะหลังจะอยู่ในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้ จัดหาไว้ให้แก่ผู้เรียน 8. เปิดโอกาสสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทั้งใน และนอกสถาบัน จากในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้เรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาต่างๆ จาก ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย เมื่อเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารในลักษณะเดิมอีกด้วย 9. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตนสู่คน อื่นๆดังนั้นจึง ถือว่าเป็นเป็นการสร้างแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย่างหนึ่งสาหรับผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะพยายาม ผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม่ให้เสียชื่อเสียงตนเอง นอกจากนี้ผู้เรียนยังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นเพื่อ นามาพัฒนางานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น 10. เปิดโอกาสให้ผู้สอนปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัย ได้อย่าง สะดวกสบายเนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamic) ดังนั้นผู้สอนจึงสามารถปรับปรุง เนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้สื่อสารและแสดงความคิดเห็นที่ เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ทาให้เนื้อหาการเรียนการสอนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม และเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ 11. สามารถนาเนื้อหาในรูปของสื่อหลายมิติ (Multimedia) ได้แก่ ข้อความกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ ภาพสามมิติ เป็นต้น โดยผู้สอนและผู้เรียนสามารถ เลือกรูปแบบของการนาเสนอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน
  • 15. 15 4. ความหมายของเว็บไซต์ ความรู้เกี่ยวกับเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ คาว่า “เว็บไซต์ (Web site)” มี ผู้ให้ความหมาย ดังนี้ เอเบอร์โซล (Ebersole. 2000 : Online) กล่าวว่า เว็บไซต์ หมายถึง สื่อประ สมการเชื่อมต่อและนาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้ งานและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะนาเสนอบริการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย ในความเป็นจริงแล้วองค์ประกอบที่สลับซับซ้อนของเว็บไซต์อยู่ที่ความเป็นพลวัต และ ความสามารถในการรวมตัวกับคุณสมบัติของสื่ออื่น หรือเปลี่ยนแปลงไปเป็นสิ่งอื่น ๆได้โดยในแต่ละ เดือนที่ผ่านไปได้นามาซึ่งเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาและขยายขอบข่ายของเว็บไซต์ และ ประสบการณ์ที่ผู้รับสารจะได้รับผ่านเว็บไซต์ และในปัจจุบันได้มีการนาเว็บไซต์มาใช้เพื่อการศึกษา ของโรงเรียนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นอีกที กิดานันท์ มลิทอง (2542 : 7) ได้ให้ความหมายคาว่า “เว็บไซต์” ไว้ว่าคือแหล่งที่ รวบรวมหน้าเว็บจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอ เรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้อหานิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์คือ การทางานบนเว็บไม่มีสิ้นสุดลง พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร,ประชา พฤกษ์ประเสริฐ์ และปิยะ นากบังก์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ (Web site) เป็นที่เก็บเว็บเพจ เมื่อใดที่เราต้องการเปิดดูเว็บเพจ เราต้องใช้ บราวเซอร์ดึง ข้อมูล โดยบราวเซอร์จะทาการติดต่อกับเว็บไซต์นั้นเพื่อให้มีการโอนย้ายข้อมูลมาแสดง ที่เครื่องของเรา ดังตัวอย่างการโอนย้ายเว็บเพจจากเว็บไซต์ ABCNEWS มาแสดงที่เครื่องของเรา (เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเผยแพร่เว็บไซต์ เรียกว่า เว็บเซิฟเวอร์ : Web server) วันชัย แซ่เตีย และสิทธิชัย ประสานวงศ์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ เป็นเครื่อง ที่ใช้ในการจัดเก็บเว็บเพจแต่ละองค์กรที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในรูปของเว็บมักจะมีเว็บไซต์เป็นของ ตนเอง และมักใช้ชื่อองค์กรเป็นชื่อเว็บไซต์เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถจดจาได้ง่าย สรุปได้ว่าเว็บไซต์ คือ แหล่งรวมโฮมเพจ เว็บเพจทั้งหมดขององค์กร และนาเสนอ ผ่านอินเทอร์เน็ตผ่าน httpโดยผู้ใช้สามารถเปิดดูด้วย Browser เช่น IE หรือ Netscape เป็นต้น ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถเป็นได้ทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้
  • 16. 16 5. การออกแบบและขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีหลักการ ดาเนินการตามขั้นตอนที่ชัดเจน จะทาให้ผู้สร้าง เว็บไซต์สามารถใส่ใจรายละเอียดที่จาเป็นในแต่ละขั้นตอนของการออกแบบ ซึ่งจะช่วยป้องกัน ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบความล้มเหลว ให้ผู้สร้างได้เว็บไซต์ ที่ตรงกับเป้าหมายตามต้องการ มีประโยชน์ และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ การสร้าง เว็บไซต์ที่ดีนั้นต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมหลักการออกแบบมีดังนี้ (1) กาหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรกาหนดเป้าหมายและ วางแผน ไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่ควรทาในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย (1.1) กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้ ต้องการ นาเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไร (1.2) กาหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย เพื่อจะได้รู้ว่าผู้ใช้หลักคือใคร และ ออกแบบเว็บไซต์ ให้ตอบสนองความต้องการผู้ใช้กลุ่มนั้นให้มากที่สุด (1.3) เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระสาคัญที่แท้จริงของ เว็บไซต์ ต้องรู้ว่าข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้มาจากแหล่งใดบ้าง เช่น ถ้าเป็นเว็บข่าวสาร ข่าวนั้นจะมาจาก แหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่ เป็นต้น (1.4) เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลาย ด้าน เช่น ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเครื่องบริการ เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็น เว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมาก แต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆ ที่ สามารถดูแล ได้โดยบุคลากรเพียงคนเดียวก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆ เพื่อเตรียมพร้อม (1.5) เตรียมทรัพยากรต่างๆ ที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ โปรแกรม สาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหวและสื่อประสม โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities) อื่น ๆ ที่จะต้องใช้ เป็นต้น (2) วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการนาข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากขั้น แรก นามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็น กรอบ สาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ประกอบไปด้วย (2.1) แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ สารบัญ ลาดับการนาเสนอหรือผังงาน (2.2) ระบบนาทาง ซึ่งผู้ใช้จะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ เช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู เป็นต้น (2.3) องค์ประกอบต่างๆ ที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ สื่อประสม แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่โปรแกรมค้นดูของผู้ใช้ สนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม (2.4) ข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของเว็บเพจ