SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน 
โดย 
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 1 
เมื่อได้ผลิตสื่อหรือชุดการสอนแล้ว ก่อนนาไปใช้จะต้องนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นไป ทดสอบประสิทธิภาพเพื่อดูว่า สื่อหรือชุดการสอนทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ มี ประสิทธิภาพในการช่วยให้กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด มี ความสัมพันธ์กับผลลัพธ์หรือไม่และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนจากสื่อหรือสื่อหรือชุดการ สอนในระดับใด ดังนั้นผู้ผลิตสื่อการสอนจาเป็นจะต้องนาสื่อหรือชุดการสอนไปหาคุณภาพ เรียกว่า การทดสอบประสิทธิภาพ 
1. ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ 
1.1 ความหมายของประสิทธิภาพ 
ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง สภาวะหรือคุณภาพของสมรรถนะในการดาเนินงาน เพื่อให้งานหรือความสาเร็จโดยใช้เวลา ความพยายาม และค่าใช้จ่ายคุ้มค่าที่สุดตามจุดมุ่งหมายที่ กาหนดไว้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยกาหนดเป็นอัตราส่วนหรือร้อยละระหว่างปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ (Ratio between input, process and output) 
ประสิทธิภาพเน้นการดาเนินการที่ถูกต้องหรือกระทาสิ่งใดๆอย่างถูกวิธี (Doing the thing right) 
คาว่าประสิทธิภาพ มักสับสนกับคาว่า ประสิทธิผล (Effectiveness) ซึ่งเป็นคาที่คลุมเครือ ไม่เน้นปริมาณ และมุ่งให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเน้น การทาสิ่งที่ถูกที่ควร (Doing the right thing) ดังนั้นสองคานี้จึงมักใช้คู่กัน คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 
1.2 ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ 
1 จาก ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2520) ระบบสื่อการสอน สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้า 135-143
2 
การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอน จึงหมายถึงการหาคุณภาพของสื่อหรือ ชุดการสอน โดยพิจารณาตามขั้นตอนของการพัฒนาสื่อหรือชุดการสอนแต่ละขั้น ตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า “Developmental Testing” 
การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Developmental Testing” 
Developmental Testing คือ การทดสอบคุณภาพตามพัฒนาการของการผลิตสื่อหรือชุด การสอนตามลาดับขั้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบของต้นแบบชิ้นงาน ให้ดาเนิน ไปอย่างมีประสิทธิภาพ 
สาหรับการผลิตสื่อและชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพ หมายถึง การนาสื่อหรือ ชุดการสอนไปทดสอบด้วยกระบวนการสองขั้นตอนคือ การทดลอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น (Try Out) ไปและทดลอบประสิทธิภาพสอนจริง (Trial Run) เพื่อหาคุณภาพของสื่อตามขั้นตอนที่ กาหนดใน 3 ประเด็น คือ การทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น การช่วยให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียน และทาแบบประเมินสุดท้ายได้ดี และการทาให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจ นาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข ก่อนที่จะผลิตออกมาเผยแพร่เป็นจานวนมาก (8) 
1.1 การทดลอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น เป็น การนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นเป็น ต้นแบบ (Prototype) แล้วไปทดลอบประสิทธิภาพใช้ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแต่ละระบบ เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนให้เท่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และปรับปรุงจนถึงเกณฑ์ 
1.2 การทดลอบประสิทธิภาพสอนจริง หมายถึง การนาสื่อหรือชุดการสอนที่ได้ทดลอบ ประสิทธิภาพใช้และปรับปรุงจนได้คุณภาพถึงเกณฑ์แล้วของแต่ละหน่วย ทุกหน่วยในแต่ละวิชาไป สอนจริงในชั้นเรียนหรือในสถานการณ์การเรียนที่แท้จริงในช่วงเวลาหนึ่ง อาทิ 1 ภาคการศึกษาเป็น อย่างน้อย เพื่อตรวจสอบคุณภาพเป็นครั้งสุดท้ายก่อนนาไปเผยแพร่และผลิตออกมาเป็นจานวนมาก 
การทดสอบประสิทธิภาพทั้งสองขั้นตอนจะต้องผ่านการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and Development-R&D) โดยต้องดาเนินการวิจัยในขั้นทดลอบประสิทธิภาพเบื้อง และ อาจทดลอบประสิทธิภาพซ้าในขั้นทดลอบประสิทธิภาพใช้จริงด้วยก็ได้เพื่อประกันคุณภาพของ สถาบันการศึกษาทางไกลนานาชาติ 
2. ความจาเป็นที่จะต้องหาประสิทธิภาพ 
การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนมีความจาเป็นด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ
3 
1. สาหรับหน่วยงานผลิตสื่อหรือชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพช่วยประกันคุณภาพ ของสื่อหรือชุดการสอนว่าอยู่ในขั้นสูง เหมาะสมที่จะลงทุนผลิตออกมาเป็นจานวนมาก หากไม่มี การทดสอบประสิทธิภาพเสียก่อนแล้ว เมื่อผลิตออกมาใช้ประโยชน์ไม่ได้ดี ก็จะต้องผลิตหรือทา ขึ้นใหม่เป็นการสิ้นเปลืองทั้งเวลา แรงงานและเงินทอง 
2. สาหรับผู้ใช้สื่อหรือชุดการสอน สื่อหรือชุดการสอนที่ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพ จะทา หน้าที่เป็นเครื่องมือช่วยสอนได้ดี ในการสร้างสภาพการเรียนให้ผู้เรียนได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามที่มุ่งหวัง บางครั้งชุดการสอนต้องช่วยครูสอน บางครั้งต้องสอนแทน ครู (อาทิ ในโรงเรียนครู คนเดียว) ดังนั้น ก่อนนาสื่อหรือชุดการสอนไปใช้ ครูจึงควรมั่นใจว่า ชุด การสอนนั้นมี ประสิทธิภาพในการช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนจริง การทดสอบประสิทธิภาพตามลาดับ ขั้นจะช่วยให้ เราได้สื่อหรือชุดการสอนที่มีคุณค่าทางการสอนจริงตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 
3. สาหรับผู้ผลิตสื่อหรือชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพจะทาให้ผู้ผลิตมั่นใจได้ว่า เนื้อหาสาระที่บรรจุลงในสื่อหรือชุดการสอนมีความเหมาะสม ง่าย ต่อการเข้าใจ อันจะช่วยให้ ผู้ผลิตมีความชานาญสูงขึ้น เป็นการประหยัดแรงสมอง แรงงาน เวลาและเงินทองในการเตรียม ต้นแบบ 
3. การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ (15) 
3.1 ความหมายของเกณฑ์ (Criterion) เกณฑ์เป็นขีดกาหนดที่จะยอมรับว่า สิ่งใดหรือ พฤติกรรมใดมีคุณภาพและหรือปริมาณที่จะรับได้ 
การตั้งเกณฑ์ ต้องตั้งไว้ครั้งแรกครั้งเดียว เพื่อจะปรับปรุงคุณภาพให้ถึงเกณฑ์ขั้นต่า ที่ตั้ง ไว้ จะตั้งเกณฑ์การทดสอบประสิทธิภาพไว้ต่างกันไม่ได้ เช่น เมื่อมีการทดสอบประสิทธิภาพแบบ เดี่ยว ตั้งเกณฑ์ไว้ 60/60 แบบกลุ่ม ตั้งไว้ 70/70 ส่วนแบบสนาม ตั้งไว้ 80/80 ถือว่า เป็นการตั้งเกณฑ์ ที่ไม่ถูกต้อง 
อนึ่งเนื่องจากเกณฑ์ที่ตั้งไว้เป็นเกณฑ์ต่าสุด ดังนั้นหากการทดสอบคุณภาพของสิ่งใด หรือพฤติกรรมใดได้ผลสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 หรืออนุโลมให้มีความ คลาดเคลื่อน ต่าหรือสูงกว่าค่าประสิทธิภาพที่ตั้งไว้เกิน 2.5 ก็ให้ปรับเกณฑ์ขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น แต่ หากได้ค่าต่ากว่าค่าประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ ต้องปรับปรุงและนาไปทดลอบประสิทธิภาพใช้หลายครั้ง ใน ภาคสนามจนได้ค่าถึงเกณฑ์ที่กาหนด 
3.2 ความหมายของเกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการ สอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็นระดับที่ผลิตสื่อหรือชุดการสอนจะพึง
4 
พอใจว่า หากสื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นก็มีคุณค่า ที่จะนาไปสอนนักเรียน และคุ้มแก่การลงทุนผลิต ออกมาเป็นจานวนมาก 
การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพกระทาได้ โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน 2 ประเภทคือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) กาหนด ค่าประสิทธิภาพเป็น E1 =Efficiency of Process (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) กาหนดค่าประสิทธิภาพ เป็น E2 =Efficiency of Product (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) 
3.2.1 ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (Transitional Behavior) คือประเมินผลต่อเนื่อง ซึ่ง ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยของผู้เรียน เรียกว่า “กระบวนการ” (Process) ที่เกิดจากการประกอบ กิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การทาโครงการ หรือทารายงานเป็นกลุ่ม และรายงานบุคคล ได้แก่งานที่ มอบหมาย และกิจกรรมอื่นใดที่ผู้สอนกาหนดไว้ 
3.2.2 ประเมินพฤติกรรมสุดท้าย (Terminal Behavior) คือประเมินผลลัพธ์ (Product) ของผู้เรียน โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียนและการสอบไล่ 
ประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนจะกาหนดเป็นเกณฑ์ ที่ผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะ เปลี่ยน พฤติกรรมเป็นที่พึงพอใจ โดยกาหนดให้ของผลเฉลี่ยของคะแนนการทางานและ การ ประกอบกิจกรรมของผู้เรียนทั้งหมด ต่อ ร้อยละของผลการประเมินหลังเรียนทั้งหมด นั่นคือ E1/E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ 
ตัวอย่าง 80/80 หมายความว่าเมื่อเรียนจากสื่อหรือชุดการสอนแล้ว ผู้เรียนจะสามารถทา แบบฝึกปฏิบัติ หรืองานได้ผลเฉลี่ย 80% และประเมินหลังเรียนและงานสุดท้ายได้ผลเฉลี่ย 80% 
การที่จะกาหนดเกณฑ์ E1/E2 ให้มีค่าเท่าใดนั้น ให้ผู้สอนเป็นผู้พิจารณาตามความพอใจ โดยพิจารณาพิสัยการเรียนที่จาแนกเป็นวิทยพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และทักษพิสัย (Skill Domain) 
ในขอบข่ายวิทยพิสัย (เดิมเรียกว่า พุทธิพิสัย2) เนื้อหาที่เป็นความรู้ความจามักจะตั้งไว้ สูงสุดแล้วลดต่าลงมาคือ 90/90 85/85 80/80 
2 คาว่า พุทธิ เป็นคาในพระพุทธศาสนา แปลว่า ความรู้แจ้ง ครอบคลุมทั้งความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมจึงมีความหมายใหญ่ กว่าคาว่า Cognitive ที่หมายถึงความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการประเมินตามแนวคิดของ Bloom’s Taxonomy ซึ่งตรงกับคาว่า วิทยามากกว่า ผู้เขียนจึงใช้ วิทยพิสัย แทน พุทธิพิสัย เป็นคาแปลของ Cognitive Domain ปัจจุบัน Bloom’s Taxonomy ได้เปลี่ยนไปจากเดิมแล้ว
5 
ส่วนเนื้อหาสาระที่เป็นจิตพิสัย จะต้องใช้เวลาไปฝึกฝนและพัฒนา ไม่สามารถทา ให้ถึง 
เกณฑ์ระดับสูงได้ในห้องเรียนหรือในขณะที่เรียน จึงอนุโลมให้ตั้งไว้ต่า ลง นั่นคือ 80/80 75/75 แต่ 
ไม่ต่า กว่า 75/75 เพราะเป็นระดับความพอใจต่า สุด จึงไม่ควรตั้งเกณฑ์ไว้ต่า กว่านี้ หากตั้งเกณฑ์ไว้ 
เท่าใด ก็มักได้ผลเท่านั้น ดังจะเห็นได้จากระบบการสอนของไทยปัจจุบัน (2520) ได้กา หนดเกณฑ์ 
โดยไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ 0/50 นั่นคือ ให้ประสิทธิภาพกระบวนการมีค่า 0 เพราะครูมัก 
ไม่มีเกณฑ์เวลาในการให้งานหรือแบบฝึกปฏิบัติ แก่นักเรียน ส่วนคะแนนผลลัพธ์ที่ให้ผ่านคือ 50% 
ผลจึงปรากฏว่า คะแนนวิชาต่างๆ ของนักเรียนต่า ในทุกวิชา เช่น คะแนนภาษาไทยนักเรียนชั้น 
ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยเฉลี่ยแต่ละปีเพียง 51% เท่านั้น (2) 
4. วิธีการคานวณหาประสิทธิภาพ 
วิธีการคา นวณหาประสิทธิภาพ กระทา ได้ 2 วิธี คือ โดยใช้สูตรและโดยการคา นวณ 
ธรรมดา 
ก. โดยใช้สูตร กระทา ได้โดยใช้สูตรต่อไปนี้3 
X100 หรือ x100 
A 
สูตรที่ 1 E X 1 = 
เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ 
X คือ คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติ กิจกรรมหรืองานที่ทา ระหว่างเรียนทั้ง 
ที่เป็นกิจกรรมในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือออนไลน์ 
A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติ ทุกชิ้นรวมกัน 
N คือ จา นวนผู้เรียน 
3 แนวคิดการหาประสิทธิภาพและสูตร E1/E2 ไม่ว่าจะเขียนในรูป E1:E2 E1ต่อE2 .หรือในรูปแบบใดเป็นลิขสิทธข์อง ศาสตราจารย์ ดร. 
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ จะนา ไปดัดแปลงเป็นอย่างอื่นเช่น P1/P2 X1/X2 และเปลี่ยนแปลงสูตร เช่น จาก F เปลี่ยนเป็น Y ไม่ได้ 
ลิขสิทธิน์ี้ รวมถึงการนาไปจัดทา โปรแกรมคา นวณทางคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้ขออนุญาตจากผู้ทรงลิขสิทธิค์ือ ศาสตราจารย์ ดร. 
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ก็ไม่ได้เช่นกัน
6 
สูตรที่ 2 
X 100 (หรือ x100 
B 
E F 2 = 
เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ 
F คือ คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน 
B คือ คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้ายของแต่ละหน่วย ประกอบด้วยผล 
การสอบหลังเรียนและคะแนนจากการประเมินงานสุดท้าย 
N คือ จา นวนผู้เรียน 
การคา นวณหาประสิทธิภาพโดยใช้สูตรดังกล่าวข้างต้น กระทา ได้โดยการนา คะแนนรวม 
แบบฝึกปฏิบัติ หรือผลงานในขณะประกอบกิจกรรมกลุ่ม/เดี่ยว และคะแนนสอบหลังเรียน มาเข้า 
ตารางแล้วจึงคา นวณหาค่า E1/E2 (โปรดฝึกคา นวณหาค่า E1 และ E2 ในกิจกรรมหน้าถัดไป) 
ข. โดยใช้วิธีการคานวณโดยไม่ใช้สูตร 
หากจาสูตรไม่ได้หรือไม่อยากใช้สูตร ผู้ผลิตสื่อหรือชุดการสอนก็สามารถใช้วิธีการ 
คา นวณธรรมดาหาค่า E1 และ E2 ได้ ด้วยวิธีการคา นวณธรรมดา 
สาหรับ E1 คือค่าประสิทธิภาพของงานและแบบฝึกปฏิบัติ กระทา ได้โดยการนา คะแนน 
งานทุกชิ้นของนักเรียนในแต่ละกิจกรรม แต่ละคนมารวมกัน แล้วหาค่าเฉลี่ยและเทียบส่วนโดยเป็น 
ร้อยละ 
สาหรับค่า E2 คือประสิทธิภาพผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียนของแต่ละสื่อหรือชุด 
การสอน กระทา ได้ โดยการเอาคะแนนจากการสอบหลังเรียนและคะแนนจากงานสุดท้ายของนักเรียน 
ทั้งหมดรวมกันหาค่าเฉลี่ยแล้วเทียบส่วนร้อย เพื่อหาค่าร้อยละ 
5. การตีความหมายผลการคานวณ 
หลังจากคา นวณหาค่า E1 และ E2 ได้แล้ว ผู้หาประสิทธิภาพต้องตีความหมายของผลลัพธ์โดยยึด 
หลักการและแนวทางดังนี้ 
1.1 ความคลาดแคลื่อนของผลลัพธ์ ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือความแปรปรวนของผลลัพทธ์
7 
ได้ไม่เกิน .05 (ร้อยละ 5) จากช่วงต่าไปสูง= ±2.5 นั่นให้ผลลัพธ์ของค่า E1 หรือ E2 ที่ถือว่า เป็นไปตามเกณฑ์ มีค่า ต่ากว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 2.5% และสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5% 
หากคะแนน E1 หรือ E2 ห่างกันเกิน 5% แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทากับการสอบหลังเรียนไม่ สมดุลกันเช่น ค่า E1 มากกว่า E2 แสดงว่า งานที่มอบหมายอาจจะง่ายกว่า การสอบ หรือ หากค่า E2 มากกว่าค่า E1 แสดงว่า การสอบง่ายกว่าหรือไม่สมดุลกับงานที่มอบหมายให้ทา จาเป็นที่จะต้องปรับแก้ 
หากสื่อหรือชุดการสอนได้รับการออกแบบและพัฒนาอย่างดีมีคุณภาพ ค่า E1 หรือ E2 ที่คานวณได้ จากการทดสอบประสิทธิภาพ จะต้องใกล้เคียงกันและห่างกันไม่เกิน 5% ซึ่งเป็นตัวชี้ที่จะยืนยันได้ว่า นักเรียนได้มีการเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่องตามลาดับขั้นหรือไม่ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมขั้น สุดท้าย หรืออีกนัยหนึ่งต้องประกันได้ว่านักเรียนมีความรู้จริง ไม่ใช่ทากิจกรรมหรือทาสอบได้ เพราะการเดา 
การประเมินในอนาคตจะเสนอผลการประเมินเป็นเลขสองตัว คือ E1คู่ E2 เพราะจะทาให้ ผู้อ่านผลการประเมินทราบลักษณะนิสัยของผู้เรียนระหว่างนิสัยในการทางานอย่างต่อเนื่อง คงเส้น คงวาหรือไม่ (ดูจากค่า E1 คือกระบวนการ) กับการทางานสุดท้ายว่ามีคุณภาพมากน้อยเพียงใด (ดู จากค่า E2 คือกระบวนการ) เพื่อประโยชน์ของการกลั่นกรองบุคลากรเข้าทางาน 
ตัวอย่าง นักเรียนสองคนคือเกษมกับปรีชา เกษมได้ผลลัพธ์ E1/E2 =78.50/82.50 ส่วน ปรีชาได้ผลลัพธ์ 82.50/78.50 แสดงว่านักเรียนคนแรกคือ เกษม ทางานและแบบฝึกปฏิบัติ ทั้งปีได้ 78% และ สอบไล่ได้ 83% จะเห็นว่าจะมีลักษณะนิสัยที่เป็นกระบวนการสู้นักเรียนคนที่สองคือ ปรีชาที่ได้ผลลัพธ์ E1/E2 =82.50/78.50 ไม่ได้ 
6. ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ (8) 
เมื่อผลิตสื่อหรือชุดการสอนขึ้นเป็นต้นแบบแล้ว ต้องนาสื่อหรือชุดการสอนไปหา ประสิทธิภาพตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ 
ก. การทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (1:1) เป็นการทดสอบประสิทธิภาพที่ผู้สอน 1 คน ทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนกับผู้เรียน 1-3 คน โดยใช้เด็กอ่อน ปานกลาง และเด็กเก่ง ระหว่างทดลอบประสิทธิภาพให้จับเวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนว่า หงุดหงิด ทาหน้าฉงน หรือทาท่าทางไม่เข้าใจหรือไม่ ประเมินการเรียนจากกระบวนการ คือ กิจกรรมหรือภารกิจและงานที่มอบให้ทาและทดสอบหลังเรียน นาคะแนนมาคานวณหา ประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่างเรียนและแบบทดสอบ หลังเรียนให้ดีขึ้น โดยปกติคะแนนที่ได้จากการทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยวนี้จะได้คะแนนต่าว่า
8 
เกณฑ์มาก แต่ไม่ต้องวิตกเมื่อปรับปรุงแล้วจะสูงขึ้นมาก ก่อนนาไปทดลอบประสิทธิภาพแบบสุ่ม นั้นนี้ E1/E2 ที่ได้จะมีค่าประมาณ 60/60 
ข. การทดลอบประสิทธิภาพแบบกลุ่ม (1:10) เป็นการทดสอบประสิทธิภาพที่ผู้สอน 1 คนทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนกับผู้เรียน 6 – 10 คน (คละผู้เรียนที่เก่ง ปานกลางกับ อ่อน) ระหว่างทดลอบประสิทธิภาพให้จับเวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของ ผู้เรียนว่า หงุดหงิด ทาหน้าฉงน หรือทาท่าทางไม่เข้าใจหรือไม่ หลังจากทดลอบประสิทธิภาพให้ ประเมินการเรียนจากกระบวนการ คือกิจกรรมหรือภารกิจและงานที่มอบให้ทาและประเมินผลลัพธ์ คือการทดสอบหลังเรียนและงานสุดท้ายที่มอบให้นักเรียนทาส่งก่อนสอบประจาหน่วย ให้นา คะแนนมาคานวณหาประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่าง เรียนและแบบทดสอบหลังเรียนให้ดีขึ้นคานวณหาประสิทธิภาพแล้วปรับปรุง ในคราวนี้คะแนน ของผู้เรียนจะเพิ่มขึ้นอีกเกือบเท่าเกณฑ์โดยเฉลี่ยจะห่างจากเกณฑ์ประมาณ 10% นั่นคือ E1/E2 ที่ได้ จะมีค่าประมาณ 70 / 70 
ค. การทดลอบประสิทธิภาพภาคสนาม (1:100) ป็นการทดสอบประสิทธิภาพที่ผู้สอน 1 คนทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนกับผู้เรียนทั้งชั้น4 ระหว่างทดลอบประสิทธิภาพให้จับ เวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนว่า หงุดหงิด ทาหน้าฉงน หรือทาท่าทาง ไม่เข้าใจหรือไม่ หลังจากทดลอบประสิทธิภาพภาคสนามแล้ว ให้ประเมินการเรียนจาก กระบวนการ คือกิจกรรมหรือภารกิจและงานที่มอบให้ทาและทดสอบหลังเรียน นาคะแนนมา คานวณหาประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่างเรียนและ แบบทดสอบหลังเรียนให้ดีขึ้น แล้วนาไปทดลอบประสิทธิภาพภาคสนามซ้ากับนักเรียนต่างกลุ่ม อาจทดลอบประสิทธิภาพ 2-3 ครั้ง จนได้ค่าประสิทธิภาพถึงเกณฑ์ขั้นต่า ปรกติไม่น่าจะทดลอบ ประสิทธิภาพเกณฑ์สามครั้ง ด้วยเหตุนี้ ขั้นทดลอบประสิทธิภาพ ภาคสนามจึงแทนด้วย 1:100 
ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลอบประสิทธิภาพภาคสนามควรใกล้เคียงกัน เกณฑ์ที่ตั้งไว้ หาก ต่าจาก เกณฑ์ไม่เกิน 2.5% ก็ให้ยอมรับว่า สื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 
หากค่าที่ได้ต่ากว่าเกณฑ์มากกว่า -2.5 ให้ปรับปรุงและทดลอบประสิทธิภาพภาคสนาม ซ้า จนกว่าจะถึงเกณฑ์ จะหยุดปรับปรุงแล้วสรุปว่า ชุดการสอนไม่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ หรือจะลดเกณฑ์ลงเพราะ “ถอดใจ” หรือยอมแพ้ไม่ได้ 
4 ปรกติให้ใช้กับผู้เรียน 30 คน แต่ในโรงเรียนขนาดเล็กอนุโลมให้ใช้กับนักเรียน 15 คนขึ้นไป
9 
หากสูงกว่าเกณฑ์ไม่เกิน +2.5 ก็ยอมรับว่า สื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 
ที่ตั้งไว้ 
หากค่าที่ได้สูงกว่าเกณฑ์เกิน +2.5 ให้ปรับเกณฑ์ขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น เช่น ตั้งไว้ 80/80 ก็ให้ 
ปรับขึ้นเป็น 85/85 หรือ 90/90 ตามค่าประสิทธิภาพที่ทดลอบประสิทธิภาพได้ 
ตัวอย่าง เมื่อทดสอบหาประสิทธิภาพแล้วได้ 83.5/85.4 ก็แสดงว่าสื่อหรือชุดการสอนนั้น 
มีประสิทธิภาพ 83.5/85.4 ใกล้เคียงกับเกณฑ์ 85/85 ที่ตั้งไว้ แต่ ถ้าตั้งเกณฑ์ไว้ 75/75 เมื่อผลการทด 
ลอบประสิทธิภาพเป็น 83.5/85.4 ก็อาจเลื่อนเกณฑ์ขึ้นมาเป็น 85/85 ได้ 
แบบฝึกปฏิบัติ สมมติว่าท่านสอนวิชา สังคมศึกษา เรื่อง ประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช 
สื่อหรือชุดการสอนหน่วยที่ 2 ทดลอบประสิทธิภาพแบบกลุ่มกับผู้เรียน 6 คน โดยพิจารณาจากงาน 
4 ชิ้น และผลการสอบหลังเรียน ปรากฏในตารางต่อไปนี้ โปรดคา นวณหาประสิทธิภาพของ E1/E2 
เทียบกับ เกณฑ์ที่ตั้งไว้ 85/85 แล้วอภิปรายผลการทดลอบประสิทธิภาพ 
คะแนนวิชา สังคมศึกษา 
หน่วยที่ 2 เรื่อง ประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช 
ผู้เรียน คะแนน คะแนนสอบ 
หลังเรียน 
1 
(10) 
2 
(20) 
3 
(10) 
4 
(20) 
30 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
8 
8 
7 
9 
9 
8 
6 
9 
18 
18 
17 
17 
19 
18 
16 
19 
6 
5 
9 
9 
8 
8 
7 
8 
17 
17 
16 
15 
19 
18 
18 
19 
49 
48 
49 
50 
55 
56 
47 
55 
27 
24 
24 
25 
28 
27 
 X = 405  f = 206 
คาตอบ E1 = 84.37 E2 = 86.00
10 
7. การเลือกนักเรียนมาทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน 
นักเรียนที่ผู้สอนจะเลือกมาทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน ควรเป็นตัวแทน ของนักเรียนที่เราจะนาสื่อหรือชุดการสอนนั้นไปใช้ ดังนั้น จึงควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ 
7.1 สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (1:1) เป็นการทดลอบประสิทธิภาพ ครู 1 คน ต่อเด็ก 1-3 คน ให้ทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กอ่อนเสียก่อน ทาการปรับปรุงแล้วนาไปทดลอบ ประสิทธิภาพกับเด็กปานกลาง และนาไปทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กเก่ง อย่างไรก็ตามหากเวลา ไม่อานวยและสภาพการณ์ไม่เหมาะสม ก็ให้ทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กอ่อนหรือเด็กปานกลาง โดยไม่ต้องทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กเก่งก็ได้ แต่การทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กทั้งสามระดับ จะเป็นการสะท้อนธรรมชาติการเรียนที่แท้จริง ที่เด็กเก่ง กลาง อ่อนจะได้ช่วยเหลือกัน เพราะเด็ก อ่อนบางคนอาจจะเก่งในเรื่องที่เด็กเก่งทาไม่ได้ 
7.2 สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพแบบกลุ่ม (1:10) เป็นการทดลอบประสิทธิภาพที่ครู 1 คนทดลอบประสิทธิภาพกับเด็ก 6 – 12 คน โดยให้มีผู้เรียนคละกันทั้งเด็กเก่ง ปานกลางเด็กอ่อน ห้ามทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กอ่อนล้วน หรือเด็กเก่งล้วน ขณะทาการทดลอบประสิทธิภาพ ผู้สอนจะต้องจับเวลาด้วยว่า กิจกรรมแต่ละกลุ่มใช้เวลาเท่าไร ทั้งนี้เพื่อให้ทุกกลุ่มกิจกรรมใช้เวลา ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะการสอนแบบศูนย์การเรียนที่กาหนดให้ใช้เวลาเท่ากัน คือ 10 – 15 นาที สาหรับระดับประถมศึกษา และ 15 – 20 นาที สาหรับระดับมัธยมศึกษา 
7.3 สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพภาคสนาม (1:100) เป็นการทดลอบ ประสิทธิภาพที่ใช้ครู 1 คน กับนักเรียนทั้งชั้น กับนักเรียน 30 – 40 คน (หรือ 100 คน สาหรับสื่อ หรือชุดการสอนรายบุคคล) ชั้นเรียนที่เลือกมาทดลอบประสิทธิภาพจะต้องมีนักเรียนคละกันทั้งเก่ง และอ่อน ไม่ควรเลือกห้องเรียนที่มีเด็กเก่งหรือเด็กอ่อนล้วน 
สัดส่วนที่ถูกต้องในการกาหนดจานวนผู้เรียนที่มีระดับความสามารถแตกต่างกัน ควรยึด จานวนจากการแจกแจงปรกติ ที่จาแนกนักเรียนเป็น 5 กลุ่ม คือ นักเรียนเก่งมาก (เหรียญเพชร) ร้อย ละ 1.37 (1 คน) นักเรียนเก่ง (เหรียญเงิน) ร้อยละ 14.63 (15 คน) นักเรียนปานกลาง (เหรียญเงิน) ร้อยละ 68 (68 คน) นักเรียนอ่อน (เหรียญทองแดง) ร้อยละ 14.63 (15 คน) และนักเรียนอ่อนมาก (เหรียญตะกั่ว) ร้อยละ 1.37 (1 คน) 
เมื่อยึดการแจกแจงปรกติเป็นเกณฑ์กาหนดจานวนนักเรียนที่จะนามาทดสอบ ประสิทธิภาพสื่อและชุดการสอน ก็จะได้นักเรียนเก่งประมาณร้อยละ16 นักเรียนปานกลางร้อยละ 68 และ นักเรียนอ่อนร้อยละ 16
11 
เนื่องจากการทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน ต้องใช้สถานที่ในการจัดกิจกรรม และใช้เวลามากกว่า ดังสถานที่และเวลาสาหรับการทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ควรใช้เวลานอกชั้นเรียนหรือแยกนักเรียนมาเรียนต่างหากจากห้องเรียน อาจเป็นห้องประชุมของ โรงเรียน โรงอาหารหรือสนามใต้ร่มไม้ก็ได้ 
ส่วนการทดลอบประสิทธิภาพแบบสนามควรใช้ห้องเรียนจริง แต่นักเรียนที่ใช้ทดสอบ ประสิทธิภาพต้องสุ่มนักเรียนแต่ละระดับมาจากหลายห้องเรียนในโรงเรียนเดียวกันหรือต่าง โรงเรียน เพื่อให้ได้สัดส่วนจานวนตามการแจกแจงปรกติ 
ในกรณีที่ไม่สามารถหานักเรียนตามสัดส่วนการแจกแจงปรกติได้ ผู้ทดสอบ ประสิทธิภาพอาจสุ่มแบบเจาะจง โดยใช้ห้องเรียนใดห้องเรียนหนึ่งทาการทดลอบประสิทธิภาพ แต่ จะต้องระบุไว้ในข้อจากัดของการวิจัยในบทนาและนาไปอภิปรายผลในบทสุดท้าย เพราะค่า ประสิทธิภาพที่ได้แม้จะถึงเกณฑ์ที่กาหนด ก็ถึงอย่างมีเงื่อนไข เพราะกลุ่มตัวอย่างมิได้สะท้อน สัดส่วนที่แท้จริงตามการแจกแจงปรกติ 
8. ข้อควรคานึงในการทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน 
เพื่อให้การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนได้ผลคุ้ม มีสิ่งที่ผู้ทดลอบ ประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนควรคานึงถึงดังนี้ 
8.1 การเลือกผู้เรียนเข้าร่วมการทดลอบประสิทธิภาพ ควรเลือกนักเรียนที่เป็นตัวแทน ของนักเรียนที่ใช้สื่อหรือชุดการสอน ตามแนวทางการสุ่มตัวอย่างที่ถูกต้อง 
8.2 การเลือกเวลาและสถานที่ทดลอบประสิทธิภาพ ควรหาสถานที่และเวลาที่ปราศจาก เสียงรบกวน ไม่ร้อนอบอ้าว และควรทดลอบประสิทธิภาพในเวลาที่นักเรียนไม่หิว กระหาย ไม่รีบร้อนกลับบ้าน หรือไม่ต้องพะวักพะวนไปเข้าเรียนในชั้นอื่น 
8.3 การชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการ ต้องชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของ การทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนและการจัดห้องเรียนแบบศูนย์การ เรียน หากนักเรียนไม่คุ้นเคยกับวิธีการใช้สื่อหรือชุดการสอน 
8.4 การรักษาสถานการณ์ตามความเป็นจริง สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพสอน ภาคสนามในชั้นเรียนจริง ต้องรักษาสภาพการณ์ให้เหมือนที่เป็นอยู่ในห้องเรียน ทั่วไป เช่น ต้องใช้ครูเพียงคนเดียว ห้ามคนอื่นเข้าไปช่วย ผู้สังเกตการณ์ต้องอยู่ห่างๆ ไม่เข้าไปช่วยเหลือเด็ก ต้องปล่อยให้ครูผู้ทดลอบประสิทธิภาพสอนแก้ปัญหาด้วย เอง หากจาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือก็ให้ครูผู้สอนเป็นผู้บอกให้เข้า ไปช่วย
12 
มิฉะนั้นการทดลอบประสิทธิภาพสอนก็ไม่สะท้อนสถานการณ์จริงที่มีคนสอนเพียง คนเดียว 
8.5 ดาเนินการสอนตามขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นการทดลงแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และ ภาคสนาม หลังจากชี้แจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับสื่อ ชุดการสอน และวิธีการสอน แล้ว ครูจะต้องดาเนินการสอนตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแต่ละระบบการสอน 
8.5.1 สาหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน ดาเนินตามขั้นตอน 5 ขั้น คือ (1) สอบก่อนเรียน (2) นาเข้าสู่บทเรียน (3) ให้นักเรียนทากิจกรรม กลุ่ม (4) สรุปบทเรียน (ครูสรุปเองหรือให้นักเรียนช่วยกันสรุปก็ได้ ทั้งนี้ ต้องดูตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน) และ (5) สอบหลังเรียน 
8.5.2 สาหรับการสอนแบบอิงประสบการณ์ มี 7 ขั้นตอน คือ (1) ประเมิน ก่อนเผชิญประสบการณ์ (2) ปฐมนิเทศ (3) เผชิญประสบการณ์หลัก ประสบการณ์รอง ตามภารกิจและงานที่กาหนด (4) รายงาน ความก้าวหน้าของการเผชิญประสบการณ์หลักและรอง (5) รายงาน ผลสุดท้าย (6) สรุปการเผชิญประสบการณ์ และ (7) ประเมินหลัง เผชิญประสบการณ์ 
8.5.3 สาหรับการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ อาจดาเนินตามขั้นตอน 7 ขั้น คือ (1) สอบก่อนเรียน (2) ศึกษาประมวลการสอน แผนกิจกรรมและ เส้นทางการเรียน (Course Syllabus, Course Bulletin and Learning Route) (3) ศึกษาเนื้อหาสาระทีกาหนดให้แบบออนไลน์บนเว้ปหรือ ออฟไลน์ ในซีดีหรือตารา คือจากแหล่งความรู้ที่กาหนดให้ (4) ให้ นักเรียนทากิจกรรมเดี่ยว (Individual Assignment) และกิจกลุ่ม ร่วมมือ (Collaborative Group) (5) ส่งงานที่มอบหมาย (Submission of Assignment) (6) สรุปบทเรียน (ครูสรุปเอง หรือให้นักเรียน ช่วยกันสรุปก็ได้ ทั้งนี้ต้องดูตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน) และ (7) สอบหลังเรียน 
8.5.4 สาหรับการสอนแบบบรรยาย ดาเนินตามขั้นตอน 5 ขั้น คือ (1) สอบ ก่อนเรียน (2) นาเข้าสู่บทเรียน (3) ให้นักเรียนทากิจกรรม กลุ่ม (4) สรุปบทเรียน (ครูสรุปเองหรือให้นักเรียนช่วยกันสรุปก็ได้ ทั้งนี้ต้องดู ตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน) และ (5) สอบหลังเรียน
13 
9. บทบาทของครูขณะกาลังทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน 
9.1.1 บทบาทของครูในขณะทดสอบแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม 
ในขณะที่กาลังทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน ครูควรปฏิบัติดังนี้ 
1) ต้องคอยสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อดูว่านักเรียนทา หน้าฉงนเงียบหรือสงสัยประการใด 
2) สังเกตและปฏิสัมพันธ์ (Interaction Analysis) ของนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตปฏิบัติ สัมพันธ์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นแล้ว เช่น Flanders Interaction Analysis (FIA), Brown Interaction Analysis (BIA), Chaiyong Interaction Analysis (CIA) 
3) พยายามรักษาสุขภาพจิต ไม่คาดหวังหรือเครียดกับความเหน็ดเหนื่อยที่ทุ่มเทในการ ผลิตชุดการสอน หรือเครียดกับการเกรงว่า ผล การทดสอบประสิทธิภาพจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ เกรงว่า จะไม่ได้รับความร่วมมือจากนักเรียน 
4) สร้างบรรยากาศอบอุ่นและเป็นกันเอง ครูต้องเป็นกันเองกับนักเรียน เวลาสอบก่อน เรียน ยิ้มแย้มแจ่มใส สร้างบรรยากาศที่นักเรียนจะแสดงออกเสรี ไม่ทาหน้าเคร่งขรึมจนนักเรียน กลัว 
5) ต้องชี้แจงว่าการสอบครั้งนี้ไม่มีผลต่อการสอบไล่ปกติของนักเรียนแต่ประการใด 
6) ปล่อยให้นักเรียนศึกษาและประกอบกิจกรรมจากสื่อหรือชุดการสอนตามธรรมชาติ โดยทาทีว่า ครูไม่ได้สนใจจับผิดนักเรียน ด้วยการทาทีทางานหรืออ่านหนังสือ 
7) หากสังเกตว่านักเรียนคนใดมีปัญหาระหว่างการทดสอบ อย่าให้ความสนใจเป็นพิเศษ แต่ให้บันทึกพฤติกรรมไว้เพื่อจามาซักถามและพูดคุยกับนักเรียนในภายหลัง 
9.1.2 บทบาทของครูภาคสนามกับนักเรียนทั้งชั้น 
1) ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ ที่นาเสนอทั้ง 7 ข้อ 
2) ครูต้องพยายามอธิบายประเด็นต่างๆ ที่ต้องการจะบอกนักเรียนอย่างชัดเจน 
3) เมื่อบอกให้นักเรียนลงมือประกอบกิจกรรมแล้ว ครูต้องหยุดพูดเสียงดัง หากประสงค์จะ ประกาศอะไรต้องรอจนเปลี่ยนกลุ่ม หรือไปพูดกับนักเรียนคนนั้นหรือกลุ่มนั้น ด้วยเสียงที่ พอได้ยินเฉพาะครู กับนักเรียนครูต้องไม่พูดมากโดยไม่จาเป็น 
4) ขณะที่นักเรียนประกอบกิจกรรม ครูจะต้องเดินไปตามกลุ่มต่างๆ เพื่อสังเกตพัฒนาการของ นักเรียนดูการทางานของสมาชิกในกลุ่ม ความเป็นผู้นาผู้ตามและอาจให้ความช่วยเหลือ
14 
นักเรียนกลุ่มใดหรือคนใดที่มีปัญหา แต่ไม่ควรไปนั่งเฝ้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ เพราะ จะทาให้นักเรียนอึดอัด เครียด หรือบางคนอาจแสดงพฤติกรรมเขื่องเพื่ออวดครู 
5) เมื่อจะให้นักเรียนเปลี่ยนกลุ่ม ครูควรชี้แจงให้นักเรียนเดินช้าๆ ไม่ต้องรีบเร่ง และให้ หัวหน้าเก็บสื่อการสอนใส่ซองไว้ให้เรียบร้อยก่อนเปลี่ยนไปกลุ่มอื่นๆ ห้ามหยิบชินส่วน ใดติดมือไป ยกเว้น “แบบฝึกปฏิบัติ” หรือ “กระดาษคาตอบ” ประจาตัวของนักเรียนเอง 
6) การเปลี่ยนกลุ่มกระทาได้ 3 วิธี คือ (1) เปลี่ยนพร้อมกันทุกกลุ่มหากทากิจกรรมเสร็จพร้อม กัน (2) กลุ่มใดเสร็จก่อน ให้ไปทางานในกลุ่มสารอง (3) หากมี 2 กลุ่มทาเสร็จพร้อมกันก็ ให้เปลี่ยนกันทันที 
7) หลังจากการทดสอบประสิทธิภาพสิ้นสุดลง ขอให้แสดงความชื่นชมที่นักเรียนให้ความ ร่วมมือ และประสบความสาเร็จในการเรียนจาก สื่อหรือชุดการสอน 
8) หากทาได้ ให้แจ้งผลการทดสอบหลังเรียนให้นักเรียนทราบเพื่อให้ประสบการณ์ที่เป็น ความสาเร็จ 
10. สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังทดลอบประสิทธิภาพ 
เมื่อทาการทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนเสร็จแล้ว ครูผู้สอนและสมาชิกใน กลุ่มฝึกปฏิบัติผลิต สื่อหรือชุดการสอน ควรปฏิบัติดังต่อไปนี้ 
1. นาผลงานและแบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนมาตรวจ โดยการให้คะแนนกิจกรรมทุกชนิด แล้วหาค่าเฉลี่ยและทาเป็นร้อยละ 
2. นาผลการสอบหลังเรียนมาหาค่าเฉลี่ยและทาเป็นค่าร้อยละ 
3. นาผลการสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมาเขียนแผนภูมิเปรียบเทียบเพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ของการบรรยายผลการสอนและจัดนิทรรศการ(หากมี) ดังตัวอย่าง
15 
4. นาสื่อการสอน ซึ่งมีบัตรคาสั่ง บัตรสรุปเนื้อหา บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม ภาพชุด ฯลฯ มาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น 
11. การยอมรับหรือไม่ยอมรับประสิทธิภาพ 
เมื่อทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนภาคสนามแล้ว เทียบค่า E1/E2 ที่หาได้จาก สื่อหรือชุดการสอนกับ E1/E2 ที่ตั้งเกณฑ์ไว้ เพื่อดูว่า เราจะยอมรับประสิทธิภาพหรือไม่ การยอมรับ ประสิทธิภาพให้ถือค่าแปรปรวน 25 – 5% อาทิ นั่นคือประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนไม่ควร ต่ากว่าเกณฑ์เกิน 5% แต่โดยปกติเราจะกาหนดไว้ 2.5%อาทิ เราตั้งเกณฑ์ประสิทธิภาพไว้ 90/90 เมื่อทดลอบประสิทธิภาพแบบ 1:100 แล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นมีประสิทธิผล 87.5/87.5 เราก็ สามารถยอมรับได้ว่าสื่อหรือชุดการสอน นั้นมีประสิทธิภาพ 
การยอมรับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนมี 3 ระดับ คือ (1) สูงกว่าเกณฑ์ (2) เท่า เกณฑ์ (3) ต่ากว่าเกณฑ์ แต่ยอมรับว่ามีประสิทธิภาพ (โปรดดูบทที่ 6 ระบบการสอนแผน จุฬา) 
12. ปัญหาจากการทดสอบประสิทธิภาพ 
การประเมินประสิทธิภาพตามระบบการสอน “แผนจุฬา” ที่ยึดแนวทางประเมินแบบสาม มิติ คือ (1) การหาพัฒนาการทางการเรียนคือผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ (2) การหา ประสิทธิภาพทวิผลคือ กระบวนการควบคู่ผลลัพธ์โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E1/E2 (Efficiency of Process/Efficiency of Products) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนที่เป็น กระบวนการและผลการเรียนที่เป็นผลลัพธ์ และ (3) การหาความพึงพอใจของครูและผู้เรียน โดย
16 
การประเมินคุณภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้สอนและผู้เรียน หลังจาก เวลาผ่านไปมากกว่า 30 ปี พบปัญหาที่พอสรุปได้ ประการ 
1) นักวิชาการรุ่นหลังนาแนวคิดทดสอบประสิทธิภาพที่พัฒนาโดย ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ เมื่อพ.ศ. 2516 และได้เผยแพร่อย่างต่อมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520 มาเป็น ของตนเอง โดยเขียนเป็นบทความหรือตาราแล้วไม่มีการอ้างอิง มีจานวนมากกว่า ร้อยรายการ ทาให้นิสิตนักศึกษารุ่นหลังไม่ทราบที่มาของการทดสอบประสิทธิภาพ จึงทาให้มี เป็นจานวนมากที่อ้างว่าเป็นตนเจ้าของทฤษฎี E1/E2 บางสานักพิมพ์ได้นา ความรู้เรื่องการสอนแบบศูนย์การเรียน ของ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ไป พิมพ์เผยแพร่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2539 และมีรายได้มหาศาล โดยไม่อ้างว่า ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ เป็นผู้พัฒนาขึ้น 
2) นักวิชาการนา E1/E2 ไปเป็นของฝรั่ง เช่น ระบุว่า การหาประสิทธิภาพ E1/E2 เกิดจาก แนวคิด Mastery Learning ของ Bloom 
3) นักวิชาการไม่เข้าใจหลักการของการตั้งเกณฑ์ประสิทธิภาพ เช่น เสนอแนะให้ตั้ง เกณฑ์ไว้ต่า (เช่น E1/E2 =70/70) หลังจากตั้งเกณฑ์ไว้ต่าแล้ว เมื่อหาค่า E1/E2 ได้ สูง กว่า ก็ประกาศด้วยความภาคภูมิใจว่า สื่อหรือชุดการสอนของตนมีประสิทธิภาพ มากกว่าเกณฑ์ ซึ่งที่จริงเป็นเพราะตนเองตั้งเกณฑ์ไว้ต่าไปแทนที่จะ ปรับเกณฑ์ให้ สูงขึ้นอันเป็นผลจากคุณภาพของสื่อหรือชุดการสอน 
4) ไม่เข้าใจความสัมพันธ์ของ E1 และ E2 ทั้งสองค่าควรได้ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ แปรปรวนหรือแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (แตกต่างกันได้ไม่เกิน ±2.5 ของค่า E1 และ E2 ซึ่งจะมีผลทาให้ค่ากระบวนการ E1ไม่สูงกว่าค่าผลลัพธ์E2 เกินร้อยละ 5 
5) บางคนเขียนเผยแพร่ในเว้ปว่า ค่า E1 ควรมากกว่า E2 เพราะการทาแบบฝึกหัดหรือ กิจกรรมปรกติจะง่ายกว่าการสอบ ถือเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง หากค่า E1 สูง แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทาง่ายไป หากค่า E2 สูงก็แสดงว่า ข้อสอบอาจจะง่าย เพราะเป็นการวัดความรู้ความจามากกว่า ดังนั้น ครูต้องปรับกิจกรรมให้ตรงตาม ระดับพฤติกรรมที่ตั้งไว้ในวัตถุประสงค์ 
6) บางคนเปลี่ยน E1/E2 เป็น P1/P2 หรืออักษรอื่น แต่สูตรยังคงเดิม บางคนยังคงใช้ E1/E2 แต่เปลี่ยนสูตร เช่น เปลี่ยน F ในสูตรของ E2 เป็น Y แทนที่จะใช้ F และอ้างสิทธิว่า ตนเองคิดขึ้น บางขึ้นใช้ E1/E2 พัฒนาสูตรขึ้นใหม่ให้แลดูสลับซับซ้อนขึ้น บางคนนา
17 
หา E1/E2 ไปคานวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทั้งหมดนี้ ก็หาได้พ้นจากการ ละเมิดลิขสิทธิ์ไปไม่เพราะแนวคิดการประเมินแบบทวิผลคือ E1/E2 เป็นระบบ ความคิดที่ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ พัฒนาขึ้น 
7) นักวิชาการบางคนโยงการหาค่า E1/E2 ว่า นามาจากค่า Standard 90/90 ในความเป็น จริง มาตรฐาน 90/90 เป็นการหาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรม (บทเรียน สาเร็จรูป) ที่มีการพัฒนาบทเรียนแบบเป็นกรอบหรือ Frame แนวคิดคือ 90 ตัวแรก หมายถึง บทเรียน 1 Frame ต้องมีนักเรียนทาให้ถูกต้อง 90 คน ส่วน 90 ตัวหลัง นักเรียน 1 คน จะต้องทาบทเรียนได้ถูกต้อง 90 ข้อ เรียกว่า มาตรฐาน 90/90 ผู้ที่คิด ระบบการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนแบบยึด Standard 90/90 คือ นักจิตวิทยาชาวอเมริกันที่พัฒนาบทเรียนแบบโปรแกรม ชื่อ 
รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กุมุท เขียนไว้ในหนังสือของท่าน และอธิบาย 90/90 Standard ว่า “...90 แรกหมายถึง คะแนนเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อ สอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า ….90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละของนักเรียนทั้งหมด ได้รับ ผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรมนั้น….” 
ส่วน E1/E2 เน้นการเปรียบเทียบผลการเรียนจากพฤติกรรมต่อเนื่องคือกระบวนการ กับพฤติกรรมสุดท้ายคือ ผลลัพธ์ ดังนั้น แนวคิดของ E1/E จึงมีจุดเน้นต่างกับกัน 90/90 Standard หรือ มาตรฐาน 90/90 ที่เน้นความสัมพันธ์ของพฤติกรรมสุดท้ายของนักเรียน กับ การบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อและทุกข้อของบทเรียน แม้จะใช้ 90/90 80/80 หาก ไม่เน้นกระบวนการกับผลลัพธ์ ก็จะนาไปแทนค่า E1/E2 ไม่ได้ 
กิจกรรม 
1. โปรดทดลอบประสิทธิภาพหาประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่ท่านสร้างขึ้น ตามลาดับ 1:1 1:10 และ 1:100 แล้วหาค่าประสิทธิภาพของการทดลอบประสิทธิภาพทั้ง 3 ครั้งเพื่อ เทียบกับเกณฑ์ พร้อมทั้งเขียนแผนภูมิแสดงความก้าวหน้าของนักเรียนหาคะแนนสอบก่อนและ หลังเรียน 
2. หลังจากทดลอบประสิทธิภาพแล้ว โปรดถามความรู้สึกของนักเรียนต่อการเรียนจาก ห้องเรียนแบบศูนย์การเรียนโดยใช้คาถาม ต่อไปนี้ 
1. นักเรียนชอบวิธีการเรียนแบบนี้หรือไม่ โปรดยกเหตุผล
18 
2. หากมีการสอนแบบศูนย์การเรียนในวิชาอื่นๆ นักเรียนจะรู้อย่างไร ชอบหรือไม่ ชอบ 
3. นักเรียนเห็นว่า บทบาทของนักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร จึงจะทาให้การเรียนแบบ ศูนย์การเรียนดีขึ้น 
4. ความเห็นอื่นๆ ของนักเรียน

More Related Content

What's hot

บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__sinarack
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้lalidawan
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์NU
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...JeeraJaree Srithai
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาNU
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 

What's hot (16)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

Similar to การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติkruniti
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737gam030
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10benty2443
 

Similar to การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (20)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 

การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

  • 1. การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 1 เมื่อได้ผลิตสื่อหรือชุดการสอนแล้ว ก่อนนาไปใช้จะต้องนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นไป ทดสอบประสิทธิภาพเพื่อดูว่า สื่อหรือชุดการสอนทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ มี ประสิทธิภาพในการช่วยให้กระบวนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด มี ความสัมพันธ์กับผลลัพธ์หรือไม่และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนจากสื่อหรือสื่อหรือชุดการ สอนในระดับใด ดังนั้นผู้ผลิตสื่อการสอนจาเป็นจะต้องนาสื่อหรือชุดการสอนไปหาคุณภาพ เรียกว่า การทดสอบประสิทธิภาพ 1. ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ 1.1 ความหมายของประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง สภาวะหรือคุณภาพของสมรรถนะในการดาเนินงาน เพื่อให้งานหรือความสาเร็จโดยใช้เวลา ความพยายาม และค่าใช้จ่ายคุ้มค่าที่สุดตามจุดมุ่งหมายที่ กาหนดไว้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยกาหนดเป็นอัตราส่วนหรือร้อยละระหว่างปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ (Ratio between input, process and output) ประสิทธิภาพเน้นการดาเนินการที่ถูกต้องหรือกระทาสิ่งใดๆอย่างถูกวิธี (Doing the thing right) คาว่าประสิทธิภาพ มักสับสนกับคาว่า ประสิทธิผล (Effectiveness) ซึ่งเป็นคาที่คลุมเครือ ไม่เน้นปริมาณ และมุ่งให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเน้น การทาสิ่งที่ถูกที่ควร (Doing the right thing) ดังนั้นสองคานี้จึงมักใช้คู่กัน คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 1.2 ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ 1 จาก ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2520) ระบบสื่อการสอน สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้า 135-143
  • 2. 2 การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอน จึงหมายถึงการหาคุณภาพของสื่อหรือ ชุดการสอน โดยพิจารณาตามขั้นตอนของการพัฒนาสื่อหรือชุดการสอนแต่ละขั้น ตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า “Developmental Testing” การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Developmental Testing” Developmental Testing คือ การทดสอบคุณภาพตามพัฒนาการของการผลิตสื่อหรือชุด การสอนตามลาดับขั้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบของต้นแบบชิ้นงาน ให้ดาเนิน ไปอย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับการผลิตสื่อและชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพ หมายถึง การนาสื่อหรือ ชุดการสอนไปทดสอบด้วยกระบวนการสองขั้นตอนคือ การทดลอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น (Try Out) ไปและทดลอบประสิทธิภาพสอนจริง (Trial Run) เพื่อหาคุณภาพของสื่อตามขั้นตอนที่ กาหนดใน 3 ประเด็น คือ การทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น การช่วยให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียน และทาแบบประเมินสุดท้ายได้ดี และการทาให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจ นาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข ก่อนที่จะผลิตออกมาเผยแพร่เป็นจานวนมาก (8) 1.1 การทดลอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น เป็น การนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นเป็น ต้นแบบ (Prototype) แล้วไปทดลอบประสิทธิภาพใช้ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแต่ละระบบ เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนให้เท่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และปรับปรุงจนถึงเกณฑ์ 1.2 การทดลอบประสิทธิภาพสอนจริง หมายถึง การนาสื่อหรือชุดการสอนที่ได้ทดลอบ ประสิทธิภาพใช้และปรับปรุงจนได้คุณภาพถึงเกณฑ์แล้วของแต่ละหน่วย ทุกหน่วยในแต่ละวิชาไป สอนจริงในชั้นเรียนหรือในสถานการณ์การเรียนที่แท้จริงในช่วงเวลาหนึ่ง อาทิ 1 ภาคการศึกษาเป็น อย่างน้อย เพื่อตรวจสอบคุณภาพเป็นครั้งสุดท้ายก่อนนาไปเผยแพร่และผลิตออกมาเป็นจานวนมาก การทดสอบประสิทธิภาพทั้งสองขั้นตอนจะต้องผ่านการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and Development-R&D) โดยต้องดาเนินการวิจัยในขั้นทดลอบประสิทธิภาพเบื้อง และ อาจทดลอบประสิทธิภาพซ้าในขั้นทดลอบประสิทธิภาพใช้จริงด้วยก็ได้เพื่อประกันคุณภาพของ สถาบันการศึกษาทางไกลนานาชาติ 2. ความจาเป็นที่จะต้องหาประสิทธิภาพ การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนมีความจาเป็นด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ
  • 3. 3 1. สาหรับหน่วยงานผลิตสื่อหรือชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพช่วยประกันคุณภาพ ของสื่อหรือชุดการสอนว่าอยู่ในขั้นสูง เหมาะสมที่จะลงทุนผลิตออกมาเป็นจานวนมาก หากไม่มี การทดสอบประสิทธิภาพเสียก่อนแล้ว เมื่อผลิตออกมาใช้ประโยชน์ไม่ได้ดี ก็จะต้องผลิตหรือทา ขึ้นใหม่เป็นการสิ้นเปลืองทั้งเวลา แรงงานและเงินทอง 2. สาหรับผู้ใช้สื่อหรือชุดการสอน สื่อหรือชุดการสอนที่ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพ จะทา หน้าที่เป็นเครื่องมือช่วยสอนได้ดี ในการสร้างสภาพการเรียนให้ผู้เรียนได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามที่มุ่งหวัง บางครั้งชุดการสอนต้องช่วยครูสอน บางครั้งต้องสอนแทน ครู (อาทิ ในโรงเรียนครู คนเดียว) ดังนั้น ก่อนนาสื่อหรือชุดการสอนไปใช้ ครูจึงควรมั่นใจว่า ชุด การสอนนั้นมี ประสิทธิภาพในการช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนจริง การทดสอบประสิทธิภาพตามลาดับ ขั้นจะช่วยให้ เราได้สื่อหรือชุดการสอนที่มีคุณค่าทางการสอนจริงตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 3. สาหรับผู้ผลิตสื่อหรือชุดการสอน การทดสอบประสิทธิภาพจะทาให้ผู้ผลิตมั่นใจได้ว่า เนื้อหาสาระที่บรรจุลงในสื่อหรือชุดการสอนมีความเหมาะสม ง่าย ต่อการเข้าใจ อันจะช่วยให้ ผู้ผลิตมีความชานาญสูงขึ้น เป็นการประหยัดแรงสมอง แรงงาน เวลาและเงินทองในการเตรียม ต้นแบบ 3. การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ (15) 3.1 ความหมายของเกณฑ์ (Criterion) เกณฑ์เป็นขีดกาหนดที่จะยอมรับว่า สิ่งใดหรือ พฤติกรรมใดมีคุณภาพและหรือปริมาณที่จะรับได้ การตั้งเกณฑ์ ต้องตั้งไว้ครั้งแรกครั้งเดียว เพื่อจะปรับปรุงคุณภาพให้ถึงเกณฑ์ขั้นต่า ที่ตั้ง ไว้ จะตั้งเกณฑ์การทดสอบประสิทธิภาพไว้ต่างกันไม่ได้ เช่น เมื่อมีการทดสอบประสิทธิภาพแบบ เดี่ยว ตั้งเกณฑ์ไว้ 60/60 แบบกลุ่ม ตั้งไว้ 70/70 ส่วนแบบสนาม ตั้งไว้ 80/80 ถือว่า เป็นการตั้งเกณฑ์ ที่ไม่ถูกต้อง อนึ่งเนื่องจากเกณฑ์ที่ตั้งไว้เป็นเกณฑ์ต่าสุด ดังนั้นหากการทดสอบคุณภาพของสิ่งใด หรือพฤติกรรมใดได้ผลสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 หรืออนุโลมให้มีความ คลาดเคลื่อน ต่าหรือสูงกว่าค่าประสิทธิภาพที่ตั้งไว้เกิน 2.5 ก็ให้ปรับเกณฑ์ขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น แต่ หากได้ค่าต่ากว่าค่าประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ ต้องปรับปรุงและนาไปทดลอบประสิทธิภาพใช้หลายครั้ง ใน ภาคสนามจนได้ค่าถึงเกณฑ์ที่กาหนด 3.2 ความหมายของเกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการ สอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็นระดับที่ผลิตสื่อหรือชุดการสอนจะพึง
  • 4. 4 พอใจว่า หากสื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นก็มีคุณค่า ที่จะนาไปสอนนักเรียน และคุ้มแก่การลงทุนผลิต ออกมาเป็นจานวนมาก การกาหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพกระทาได้ โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน 2 ประเภทคือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) กาหนด ค่าประสิทธิภาพเป็น E1 =Efficiency of Process (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) กาหนดค่าประสิทธิภาพ เป็น E2 =Efficiency of Product (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) 3.2.1 ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (Transitional Behavior) คือประเมินผลต่อเนื่อง ซึ่ง ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยของผู้เรียน เรียกว่า “กระบวนการ” (Process) ที่เกิดจากการประกอบ กิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การทาโครงการ หรือทารายงานเป็นกลุ่ม และรายงานบุคคล ได้แก่งานที่ มอบหมาย และกิจกรรมอื่นใดที่ผู้สอนกาหนดไว้ 3.2.2 ประเมินพฤติกรรมสุดท้าย (Terminal Behavior) คือประเมินผลลัพธ์ (Product) ของผู้เรียน โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียนและการสอบไล่ ประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนจะกาหนดเป็นเกณฑ์ ที่ผู้สอนคาดหมายว่าผู้เรียนจะ เปลี่ยน พฤติกรรมเป็นที่พึงพอใจ โดยกาหนดให้ของผลเฉลี่ยของคะแนนการทางานและ การ ประกอบกิจกรรมของผู้เรียนทั้งหมด ต่อ ร้อยละของผลการประเมินหลังเรียนทั้งหมด นั่นคือ E1/E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ตัวอย่าง 80/80 หมายความว่าเมื่อเรียนจากสื่อหรือชุดการสอนแล้ว ผู้เรียนจะสามารถทา แบบฝึกปฏิบัติ หรืองานได้ผลเฉลี่ย 80% และประเมินหลังเรียนและงานสุดท้ายได้ผลเฉลี่ย 80% การที่จะกาหนดเกณฑ์ E1/E2 ให้มีค่าเท่าใดนั้น ให้ผู้สอนเป็นผู้พิจารณาตามความพอใจ โดยพิจารณาพิสัยการเรียนที่จาแนกเป็นวิทยพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และทักษพิสัย (Skill Domain) ในขอบข่ายวิทยพิสัย (เดิมเรียกว่า พุทธิพิสัย2) เนื้อหาที่เป็นความรู้ความจามักจะตั้งไว้ สูงสุดแล้วลดต่าลงมาคือ 90/90 85/85 80/80 2 คาว่า พุทธิ เป็นคาในพระพุทธศาสนา แปลว่า ความรู้แจ้ง ครอบคลุมทั้งความรู้ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมจึงมีความหมายใหญ่ กว่าคาว่า Cognitive ที่หมายถึงความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการประเมินตามแนวคิดของ Bloom’s Taxonomy ซึ่งตรงกับคาว่า วิทยามากกว่า ผู้เขียนจึงใช้ วิทยพิสัย แทน พุทธิพิสัย เป็นคาแปลของ Cognitive Domain ปัจจุบัน Bloom’s Taxonomy ได้เปลี่ยนไปจากเดิมแล้ว
  • 5. 5 ส่วนเนื้อหาสาระที่เป็นจิตพิสัย จะต้องใช้เวลาไปฝึกฝนและพัฒนา ไม่สามารถทา ให้ถึง เกณฑ์ระดับสูงได้ในห้องเรียนหรือในขณะที่เรียน จึงอนุโลมให้ตั้งไว้ต่า ลง นั่นคือ 80/80 75/75 แต่ ไม่ต่า กว่า 75/75 เพราะเป็นระดับความพอใจต่า สุด จึงไม่ควรตั้งเกณฑ์ไว้ต่า กว่านี้ หากตั้งเกณฑ์ไว้ เท่าใด ก็มักได้ผลเท่านั้น ดังจะเห็นได้จากระบบการสอนของไทยปัจจุบัน (2520) ได้กา หนดเกณฑ์ โดยไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ 0/50 นั่นคือ ให้ประสิทธิภาพกระบวนการมีค่า 0 เพราะครูมัก ไม่มีเกณฑ์เวลาในการให้งานหรือแบบฝึกปฏิบัติ แก่นักเรียน ส่วนคะแนนผลลัพธ์ที่ให้ผ่านคือ 50% ผลจึงปรากฏว่า คะแนนวิชาต่างๆ ของนักเรียนต่า ในทุกวิชา เช่น คะแนนภาษาไทยนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยเฉลี่ยแต่ละปีเพียง 51% เท่านั้น (2) 4. วิธีการคานวณหาประสิทธิภาพ วิธีการคา นวณหาประสิทธิภาพ กระทา ได้ 2 วิธี คือ โดยใช้สูตรและโดยการคา นวณ ธรรมดา ก. โดยใช้สูตร กระทา ได้โดยใช้สูตรต่อไปนี้3 X100 หรือ x100 A สูตรที่ 1 E X 1 = เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ X คือ คะแนนรวมของแบบฝึกปฏิบัติ กิจกรรมหรืองานที่ทา ระหว่างเรียนทั้ง ที่เป็นกิจกรรมในห้องเรียน นอกห้องเรียนหรือออนไลน์ A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติ ทุกชิ้นรวมกัน N คือ จา นวนผู้เรียน 3 แนวคิดการหาประสิทธิภาพและสูตร E1/E2 ไม่ว่าจะเขียนในรูป E1:E2 E1ต่อE2 .หรือในรูปแบบใดเป็นลิขสิทธข์อง ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ จะนา ไปดัดแปลงเป็นอย่างอื่นเช่น P1/P2 X1/X2 และเปลี่ยนแปลงสูตร เช่น จาก F เปลี่ยนเป็น Y ไม่ได้ ลิขสิทธิน์ี้ รวมถึงการนาไปจัดทา โปรแกรมคา นวณทางคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้ขออนุญาตจากผู้ทรงลิขสิทธิค์ือ ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ก็ไม่ได้เช่นกัน
  • 6. 6 สูตรที่ 2 X 100 (หรือ x100 B E F 2 = เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ F คือ คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน B คือ คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้ายของแต่ละหน่วย ประกอบด้วยผล การสอบหลังเรียนและคะแนนจากการประเมินงานสุดท้าย N คือ จา นวนผู้เรียน การคา นวณหาประสิทธิภาพโดยใช้สูตรดังกล่าวข้างต้น กระทา ได้โดยการนา คะแนนรวม แบบฝึกปฏิบัติ หรือผลงานในขณะประกอบกิจกรรมกลุ่ม/เดี่ยว และคะแนนสอบหลังเรียน มาเข้า ตารางแล้วจึงคา นวณหาค่า E1/E2 (โปรดฝึกคา นวณหาค่า E1 และ E2 ในกิจกรรมหน้าถัดไป) ข. โดยใช้วิธีการคานวณโดยไม่ใช้สูตร หากจาสูตรไม่ได้หรือไม่อยากใช้สูตร ผู้ผลิตสื่อหรือชุดการสอนก็สามารถใช้วิธีการ คา นวณธรรมดาหาค่า E1 และ E2 ได้ ด้วยวิธีการคา นวณธรรมดา สาหรับ E1 คือค่าประสิทธิภาพของงานและแบบฝึกปฏิบัติ กระทา ได้โดยการนา คะแนน งานทุกชิ้นของนักเรียนในแต่ละกิจกรรม แต่ละคนมารวมกัน แล้วหาค่าเฉลี่ยและเทียบส่วนโดยเป็น ร้อยละ สาหรับค่า E2 คือประสิทธิภาพผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียนของแต่ละสื่อหรือชุด การสอน กระทา ได้ โดยการเอาคะแนนจากการสอบหลังเรียนและคะแนนจากงานสุดท้ายของนักเรียน ทั้งหมดรวมกันหาค่าเฉลี่ยแล้วเทียบส่วนร้อย เพื่อหาค่าร้อยละ 5. การตีความหมายผลการคานวณ หลังจากคา นวณหาค่า E1 และ E2 ได้แล้ว ผู้หาประสิทธิภาพต้องตีความหมายของผลลัพธ์โดยยึด หลักการและแนวทางดังนี้ 1.1 ความคลาดแคลื่อนของผลลัพธ์ ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือความแปรปรวนของผลลัพทธ์
  • 7. 7 ได้ไม่เกิน .05 (ร้อยละ 5) จากช่วงต่าไปสูง= ±2.5 นั่นให้ผลลัพธ์ของค่า E1 หรือ E2 ที่ถือว่า เป็นไปตามเกณฑ์ มีค่า ต่ากว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 2.5% และสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5% หากคะแนน E1 หรือ E2 ห่างกันเกิน 5% แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทากับการสอบหลังเรียนไม่ สมดุลกันเช่น ค่า E1 มากกว่า E2 แสดงว่า งานที่มอบหมายอาจจะง่ายกว่า การสอบ หรือ หากค่า E2 มากกว่าค่า E1 แสดงว่า การสอบง่ายกว่าหรือไม่สมดุลกับงานที่มอบหมายให้ทา จาเป็นที่จะต้องปรับแก้ หากสื่อหรือชุดการสอนได้รับการออกแบบและพัฒนาอย่างดีมีคุณภาพ ค่า E1 หรือ E2 ที่คานวณได้ จากการทดสอบประสิทธิภาพ จะต้องใกล้เคียงกันและห่างกันไม่เกิน 5% ซึ่งเป็นตัวชี้ที่จะยืนยันได้ว่า นักเรียนได้มีการเปลี่ยนพฤติกรรมต่อเนื่องตามลาดับขั้นหรือไม่ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมขั้น สุดท้าย หรืออีกนัยหนึ่งต้องประกันได้ว่านักเรียนมีความรู้จริง ไม่ใช่ทากิจกรรมหรือทาสอบได้ เพราะการเดา การประเมินในอนาคตจะเสนอผลการประเมินเป็นเลขสองตัว คือ E1คู่ E2 เพราะจะทาให้ ผู้อ่านผลการประเมินทราบลักษณะนิสัยของผู้เรียนระหว่างนิสัยในการทางานอย่างต่อเนื่อง คงเส้น คงวาหรือไม่ (ดูจากค่า E1 คือกระบวนการ) กับการทางานสุดท้ายว่ามีคุณภาพมากน้อยเพียงใด (ดู จากค่า E2 คือกระบวนการ) เพื่อประโยชน์ของการกลั่นกรองบุคลากรเข้าทางาน ตัวอย่าง นักเรียนสองคนคือเกษมกับปรีชา เกษมได้ผลลัพธ์ E1/E2 =78.50/82.50 ส่วน ปรีชาได้ผลลัพธ์ 82.50/78.50 แสดงว่านักเรียนคนแรกคือ เกษม ทางานและแบบฝึกปฏิบัติ ทั้งปีได้ 78% และ สอบไล่ได้ 83% จะเห็นว่าจะมีลักษณะนิสัยที่เป็นกระบวนการสู้นักเรียนคนที่สองคือ ปรีชาที่ได้ผลลัพธ์ E1/E2 =82.50/78.50 ไม่ได้ 6. ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ (8) เมื่อผลิตสื่อหรือชุดการสอนขึ้นเป็นต้นแบบแล้ว ต้องนาสื่อหรือชุดการสอนไปหา ประสิทธิภาพตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ ก. การทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (1:1) เป็นการทดสอบประสิทธิภาพที่ผู้สอน 1 คน ทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนกับผู้เรียน 1-3 คน โดยใช้เด็กอ่อน ปานกลาง และเด็กเก่ง ระหว่างทดลอบประสิทธิภาพให้จับเวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนว่า หงุดหงิด ทาหน้าฉงน หรือทาท่าทางไม่เข้าใจหรือไม่ ประเมินการเรียนจากกระบวนการ คือ กิจกรรมหรือภารกิจและงานที่มอบให้ทาและทดสอบหลังเรียน นาคะแนนมาคานวณหา ประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่างเรียนและแบบทดสอบ หลังเรียนให้ดีขึ้น โดยปกติคะแนนที่ได้จากการทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยวนี้จะได้คะแนนต่าว่า
  • 8. 8 เกณฑ์มาก แต่ไม่ต้องวิตกเมื่อปรับปรุงแล้วจะสูงขึ้นมาก ก่อนนาไปทดลอบประสิทธิภาพแบบสุ่ม นั้นนี้ E1/E2 ที่ได้จะมีค่าประมาณ 60/60 ข. การทดลอบประสิทธิภาพแบบกลุ่ม (1:10) เป็นการทดสอบประสิทธิภาพที่ผู้สอน 1 คนทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนกับผู้เรียน 6 – 10 คน (คละผู้เรียนที่เก่ง ปานกลางกับ อ่อน) ระหว่างทดลอบประสิทธิภาพให้จับเวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของ ผู้เรียนว่า หงุดหงิด ทาหน้าฉงน หรือทาท่าทางไม่เข้าใจหรือไม่ หลังจากทดลอบประสิทธิภาพให้ ประเมินการเรียนจากกระบวนการ คือกิจกรรมหรือภารกิจและงานที่มอบให้ทาและประเมินผลลัพธ์ คือการทดสอบหลังเรียนและงานสุดท้ายที่มอบให้นักเรียนทาส่งก่อนสอบประจาหน่วย ให้นา คะแนนมาคานวณหาประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่าง เรียนและแบบทดสอบหลังเรียนให้ดีขึ้นคานวณหาประสิทธิภาพแล้วปรับปรุง ในคราวนี้คะแนน ของผู้เรียนจะเพิ่มขึ้นอีกเกือบเท่าเกณฑ์โดยเฉลี่ยจะห่างจากเกณฑ์ประมาณ 10% นั่นคือ E1/E2 ที่ได้ จะมีค่าประมาณ 70 / 70 ค. การทดลอบประสิทธิภาพภาคสนาม (1:100) ป็นการทดสอบประสิทธิภาพที่ผู้สอน 1 คนทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนกับผู้เรียนทั้งชั้น4 ระหว่างทดลอบประสิทธิภาพให้จับ เวลาในการประกอบกิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนว่า หงุดหงิด ทาหน้าฉงน หรือทาท่าทาง ไม่เข้าใจหรือไม่ หลังจากทดลอบประสิทธิภาพภาคสนามแล้ว ให้ประเมินการเรียนจาก กระบวนการ คือกิจกรรมหรือภารกิจและงานที่มอบให้ทาและทดสอบหลังเรียน นาคะแนนมา คานวณหาประสิทธิภาพ หากไม่ถึงเกณฑ์ต้องปรับปรุงเนื้อหาสาระ กิจกรรมระหว่างเรียนและ แบบทดสอบหลังเรียนให้ดีขึ้น แล้วนาไปทดลอบประสิทธิภาพภาคสนามซ้ากับนักเรียนต่างกลุ่ม อาจทดลอบประสิทธิภาพ 2-3 ครั้ง จนได้ค่าประสิทธิภาพถึงเกณฑ์ขั้นต่า ปรกติไม่น่าจะทดลอบ ประสิทธิภาพเกณฑ์สามครั้ง ด้วยเหตุนี้ ขั้นทดลอบประสิทธิภาพ ภาคสนามจึงแทนด้วย 1:100 ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลอบประสิทธิภาพภาคสนามควรใกล้เคียงกัน เกณฑ์ที่ตั้งไว้ หาก ต่าจาก เกณฑ์ไม่เกิน 2.5% ก็ให้ยอมรับว่า สื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ หากค่าที่ได้ต่ากว่าเกณฑ์มากกว่า -2.5 ให้ปรับปรุงและทดลอบประสิทธิภาพภาคสนาม ซ้า จนกว่าจะถึงเกณฑ์ จะหยุดปรับปรุงแล้วสรุปว่า ชุดการสอนไม่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ หรือจะลดเกณฑ์ลงเพราะ “ถอดใจ” หรือยอมแพ้ไม่ได้ 4 ปรกติให้ใช้กับผู้เรียน 30 คน แต่ในโรงเรียนขนาดเล็กอนุโลมให้ใช้กับนักเรียน 15 คนขึ้นไป
  • 9. 9 หากสูงกว่าเกณฑ์ไม่เกิน +2.5 ก็ยอมรับว่า สื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ หากค่าที่ได้สูงกว่าเกณฑ์เกิน +2.5 ให้ปรับเกณฑ์ขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น เช่น ตั้งไว้ 80/80 ก็ให้ ปรับขึ้นเป็น 85/85 หรือ 90/90 ตามค่าประสิทธิภาพที่ทดลอบประสิทธิภาพได้ ตัวอย่าง เมื่อทดสอบหาประสิทธิภาพแล้วได้ 83.5/85.4 ก็แสดงว่าสื่อหรือชุดการสอนนั้น มีประสิทธิภาพ 83.5/85.4 ใกล้เคียงกับเกณฑ์ 85/85 ที่ตั้งไว้ แต่ ถ้าตั้งเกณฑ์ไว้ 75/75 เมื่อผลการทด ลอบประสิทธิภาพเป็น 83.5/85.4 ก็อาจเลื่อนเกณฑ์ขึ้นมาเป็น 85/85 ได้ แบบฝึกปฏิบัติ สมมติว่าท่านสอนวิชา สังคมศึกษา เรื่อง ประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช สื่อหรือชุดการสอนหน่วยที่ 2 ทดลอบประสิทธิภาพแบบกลุ่มกับผู้เรียน 6 คน โดยพิจารณาจากงาน 4 ชิ้น และผลการสอบหลังเรียน ปรากฏในตารางต่อไปนี้ โปรดคา นวณหาประสิทธิภาพของ E1/E2 เทียบกับ เกณฑ์ที่ตั้งไว้ 85/85 แล้วอภิปรายผลการทดลอบประสิทธิภาพ คะแนนวิชา สังคมศึกษา หน่วยที่ 2 เรื่อง ประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช ผู้เรียน คะแนน คะแนนสอบ หลังเรียน 1 (10) 2 (20) 3 (10) 4 (20) 30 1 2 3 4 5 6 7 8 8 8 7 9 9 8 6 9 18 18 17 17 19 18 16 19 6 5 9 9 8 8 7 8 17 17 16 15 19 18 18 19 49 48 49 50 55 56 47 55 27 24 24 25 28 27  X = 405  f = 206 คาตอบ E1 = 84.37 E2 = 86.00
  • 10. 10 7. การเลือกนักเรียนมาทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน นักเรียนที่ผู้สอนจะเลือกมาทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน ควรเป็นตัวแทน ของนักเรียนที่เราจะนาสื่อหรือชุดการสอนนั้นไปใช้ ดังนั้น จึงควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ 7.1 สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (1:1) เป็นการทดลอบประสิทธิภาพ ครู 1 คน ต่อเด็ก 1-3 คน ให้ทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กอ่อนเสียก่อน ทาการปรับปรุงแล้วนาไปทดลอบ ประสิทธิภาพกับเด็กปานกลาง และนาไปทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กเก่ง อย่างไรก็ตามหากเวลา ไม่อานวยและสภาพการณ์ไม่เหมาะสม ก็ให้ทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กอ่อนหรือเด็กปานกลาง โดยไม่ต้องทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กเก่งก็ได้ แต่การทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กทั้งสามระดับ จะเป็นการสะท้อนธรรมชาติการเรียนที่แท้จริง ที่เด็กเก่ง กลาง อ่อนจะได้ช่วยเหลือกัน เพราะเด็ก อ่อนบางคนอาจจะเก่งในเรื่องที่เด็กเก่งทาไม่ได้ 7.2 สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพแบบกลุ่ม (1:10) เป็นการทดลอบประสิทธิภาพที่ครู 1 คนทดลอบประสิทธิภาพกับเด็ก 6 – 12 คน โดยให้มีผู้เรียนคละกันทั้งเด็กเก่ง ปานกลางเด็กอ่อน ห้ามทดลอบประสิทธิภาพกับเด็กอ่อนล้วน หรือเด็กเก่งล้วน ขณะทาการทดลอบประสิทธิภาพ ผู้สอนจะต้องจับเวลาด้วยว่า กิจกรรมแต่ละกลุ่มใช้เวลาเท่าไร ทั้งนี้เพื่อให้ทุกกลุ่มกิจกรรมใช้เวลา ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะการสอนแบบศูนย์การเรียนที่กาหนดให้ใช้เวลาเท่ากัน คือ 10 – 15 นาที สาหรับระดับประถมศึกษา และ 15 – 20 นาที สาหรับระดับมัธยมศึกษา 7.3 สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพภาคสนาม (1:100) เป็นการทดลอบ ประสิทธิภาพที่ใช้ครู 1 คน กับนักเรียนทั้งชั้น กับนักเรียน 30 – 40 คน (หรือ 100 คน สาหรับสื่อ หรือชุดการสอนรายบุคคล) ชั้นเรียนที่เลือกมาทดลอบประสิทธิภาพจะต้องมีนักเรียนคละกันทั้งเก่ง และอ่อน ไม่ควรเลือกห้องเรียนที่มีเด็กเก่งหรือเด็กอ่อนล้วน สัดส่วนที่ถูกต้องในการกาหนดจานวนผู้เรียนที่มีระดับความสามารถแตกต่างกัน ควรยึด จานวนจากการแจกแจงปรกติ ที่จาแนกนักเรียนเป็น 5 กลุ่ม คือ นักเรียนเก่งมาก (เหรียญเพชร) ร้อย ละ 1.37 (1 คน) นักเรียนเก่ง (เหรียญเงิน) ร้อยละ 14.63 (15 คน) นักเรียนปานกลาง (เหรียญเงิน) ร้อยละ 68 (68 คน) นักเรียนอ่อน (เหรียญทองแดง) ร้อยละ 14.63 (15 คน) และนักเรียนอ่อนมาก (เหรียญตะกั่ว) ร้อยละ 1.37 (1 คน) เมื่อยึดการแจกแจงปรกติเป็นเกณฑ์กาหนดจานวนนักเรียนที่จะนามาทดสอบ ประสิทธิภาพสื่อและชุดการสอน ก็จะได้นักเรียนเก่งประมาณร้อยละ16 นักเรียนปานกลางร้อยละ 68 และ นักเรียนอ่อนร้อยละ 16
  • 11. 11 เนื่องจากการทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน ต้องใช้สถานที่ในการจัดกิจกรรม และใช้เวลามากกว่า ดังสถานที่และเวลาสาหรับการทดลอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ควรใช้เวลานอกชั้นเรียนหรือแยกนักเรียนมาเรียนต่างหากจากห้องเรียน อาจเป็นห้องประชุมของ โรงเรียน โรงอาหารหรือสนามใต้ร่มไม้ก็ได้ ส่วนการทดลอบประสิทธิภาพแบบสนามควรใช้ห้องเรียนจริง แต่นักเรียนที่ใช้ทดสอบ ประสิทธิภาพต้องสุ่มนักเรียนแต่ละระดับมาจากหลายห้องเรียนในโรงเรียนเดียวกันหรือต่าง โรงเรียน เพื่อให้ได้สัดส่วนจานวนตามการแจกแจงปรกติ ในกรณีที่ไม่สามารถหานักเรียนตามสัดส่วนการแจกแจงปรกติได้ ผู้ทดสอบ ประสิทธิภาพอาจสุ่มแบบเจาะจง โดยใช้ห้องเรียนใดห้องเรียนหนึ่งทาการทดลอบประสิทธิภาพ แต่ จะต้องระบุไว้ในข้อจากัดของการวิจัยในบทนาและนาไปอภิปรายผลในบทสุดท้าย เพราะค่า ประสิทธิภาพที่ได้แม้จะถึงเกณฑ์ที่กาหนด ก็ถึงอย่างมีเงื่อนไข เพราะกลุ่มตัวอย่างมิได้สะท้อน สัดส่วนที่แท้จริงตามการแจกแจงปรกติ 8. ข้อควรคานึงในการทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน เพื่อให้การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนได้ผลคุ้ม มีสิ่งที่ผู้ทดลอบ ประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนควรคานึงถึงดังนี้ 8.1 การเลือกผู้เรียนเข้าร่วมการทดลอบประสิทธิภาพ ควรเลือกนักเรียนที่เป็นตัวแทน ของนักเรียนที่ใช้สื่อหรือชุดการสอน ตามแนวทางการสุ่มตัวอย่างที่ถูกต้อง 8.2 การเลือกเวลาและสถานที่ทดลอบประสิทธิภาพ ควรหาสถานที่และเวลาที่ปราศจาก เสียงรบกวน ไม่ร้อนอบอ้าว และควรทดลอบประสิทธิภาพในเวลาที่นักเรียนไม่หิว กระหาย ไม่รีบร้อนกลับบ้าน หรือไม่ต้องพะวักพะวนไปเข้าเรียนในชั้นอื่น 8.3 การชี้แจงวัตถุประสงค์และวิธีการ ต้องชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของ การทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนและการจัดห้องเรียนแบบศูนย์การ เรียน หากนักเรียนไม่คุ้นเคยกับวิธีการใช้สื่อหรือชุดการสอน 8.4 การรักษาสถานการณ์ตามความเป็นจริง สาหรับการทดลอบประสิทธิภาพสอน ภาคสนามในชั้นเรียนจริง ต้องรักษาสภาพการณ์ให้เหมือนที่เป็นอยู่ในห้องเรียน ทั่วไป เช่น ต้องใช้ครูเพียงคนเดียว ห้ามคนอื่นเข้าไปช่วย ผู้สังเกตการณ์ต้องอยู่ห่างๆ ไม่เข้าไปช่วยเหลือเด็ก ต้องปล่อยให้ครูผู้ทดลอบประสิทธิภาพสอนแก้ปัญหาด้วย เอง หากจาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือก็ให้ครูผู้สอนเป็นผู้บอกให้เข้า ไปช่วย
  • 12. 12 มิฉะนั้นการทดลอบประสิทธิภาพสอนก็ไม่สะท้อนสถานการณ์จริงที่มีคนสอนเพียง คนเดียว 8.5 ดาเนินการสอนตามขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นการทดลงแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และ ภาคสนาม หลังจากชี้แจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับสื่อ ชุดการสอน และวิธีการสอน แล้ว ครูจะต้องดาเนินการสอนตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแต่ละระบบการสอน 8.5.1 สาหรับการสอนแบบศูนย์การเรียน ดาเนินตามขั้นตอน 5 ขั้น คือ (1) สอบก่อนเรียน (2) นาเข้าสู่บทเรียน (3) ให้นักเรียนทากิจกรรม กลุ่ม (4) สรุปบทเรียน (ครูสรุปเองหรือให้นักเรียนช่วยกันสรุปก็ได้ ทั้งนี้ ต้องดูตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน) และ (5) สอบหลังเรียน 8.5.2 สาหรับการสอนแบบอิงประสบการณ์ มี 7 ขั้นตอน คือ (1) ประเมิน ก่อนเผชิญประสบการณ์ (2) ปฐมนิเทศ (3) เผชิญประสบการณ์หลัก ประสบการณ์รอง ตามภารกิจและงานที่กาหนด (4) รายงาน ความก้าวหน้าของการเผชิญประสบการณ์หลักและรอง (5) รายงาน ผลสุดท้าย (6) สรุปการเผชิญประสบการณ์ และ (7) ประเมินหลัง เผชิญประสบการณ์ 8.5.3 สาหรับการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ อาจดาเนินตามขั้นตอน 7 ขั้น คือ (1) สอบก่อนเรียน (2) ศึกษาประมวลการสอน แผนกิจกรรมและ เส้นทางการเรียน (Course Syllabus, Course Bulletin and Learning Route) (3) ศึกษาเนื้อหาสาระทีกาหนดให้แบบออนไลน์บนเว้ปหรือ ออฟไลน์ ในซีดีหรือตารา คือจากแหล่งความรู้ที่กาหนดให้ (4) ให้ นักเรียนทากิจกรรมเดี่ยว (Individual Assignment) และกิจกลุ่ม ร่วมมือ (Collaborative Group) (5) ส่งงานที่มอบหมาย (Submission of Assignment) (6) สรุปบทเรียน (ครูสรุปเอง หรือให้นักเรียน ช่วยกันสรุปก็ได้ ทั้งนี้ต้องดูตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน) และ (7) สอบหลังเรียน 8.5.4 สาหรับการสอนแบบบรรยาย ดาเนินตามขั้นตอน 5 ขั้น คือ (1) สอบ ก่อนเรียน (2) นาเข้าสู่บทเรียน (3) ให้นักเรียนทากิจกรรม กลุ่ม (4) สรุปบทเรียน (ครูสรุปเองหรือให้นักเรียนช่วยกันสรุปก็ได้ ทั้งนี้ต้องดู ตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน) และ (5) สอบหลังเรียน
  • 13. 13 9. บทบาทของครูขณะกาลังทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน 9.1.1 บทบาทของครูในขณะทดสอบแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ในขณะที่กาลังทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน ครูควรปฏิบัติดังนี้ 1) ต้องคอยสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อดูว่านักเรียนทา หน้าฉงนเงียบหรือสงสัยประการใด 2) สังเกตและปฏิสัมพันธ์ (Interaction Analysis) ของนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตปฏิบัติ สัมพันธ์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นแล้ว เช่น Flanders Interaction Analysis (FIA), Brown Interaction Analysis (BIA), Chaiyong Interaction Analysis (CIA) 3) พยายามรักษาสุขภาพจิต ไม่คาดหวังหรือเครียดกับความเหน็ดเหนื่อยที่ทุ่มเทในการ ผลิตชุดการสอน หรือเครียดกับการเกรงว่า ผล การทดสอบประสิทธิภาพจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ เกรงว่า จะไม่ได้รับความร่วมมือจากนักเรียน 4) สร้างบรรยากาศอบอุ่นและเป็นกันเอง ครูต้องเป็นกันเองกับนักเรียน เวลาสอบก่อน เรียน ยิ้มแย้มแจ่มใส สร้างบรรยากาศที่นักเรียนจะแสดงออกเสรี ไม่ทาหน้าเคร่งขรึมจนนักเรียน กลัว 5) ต้องชี้แจงว่าการสอบครั้งนี้ไม่มีผลต่อการสอบไล่ปกติของนักเรียนแต่ประการใด 6) ปล่อยให้นักเรียนศึกษาและประกอบกิจกรรมจากสื่อหรือชุดการสอนตามธรรมชาติ โดยทาทีว่า ครูไม่ได้สนใจจับผิดนักเรียน ด้วยการทาทีทางานหรืออ่านหนังสือ 7) หากสังเกตว่านักเรียนคนใดมีปัญหาระหว่างการทดสอบ อย่าให้ความสนใจเป็นพิเศษ แต่ให้บันทึกพฤติกรรมไว้เพื่อจามาซักถามและพูดคุยกับนักเรียนในภายหลัง 9.1.2 บทบาทของครูภาคสนามกับนักเรียนทั้งชั้น 1) ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ ที่นาเสนอทั้ง 7 ข้อ 2) ครูต้องพยายามอธิบายประเด็นต่างๆ ที่ต้องการจะบอกนักเรียนอย่างชัดเจน 3) เมื่อบอกให้นักเรียนลงมือประกอบกิจกรรมแล้ว ครูต้องหยุดพูดเสียงดัง หากประสงค์จะ ประกาศอะไรต้องรอจนเปลี่ยนกลุ่ม หรือไปพูดกับนักเรียนคนนั้นหรือกลุ่มนั้น ด้วยเสียงที่ พอได้ยินเฉพาะครู กับนักเรียนครูต้องไม่พูดมากโดยไม่จาเป็น 4) ขณะที่นักเรียนประกอบกิจกรรม ครูจะต้องเดินไปตามกลุ่มต่างๆ เพื่อสังเกตพัฒนาการของ นักเรียนดูการทางานของสมาชิกในกลุ่ม ความเป็นผู้นาผู้ตามและอาจให้ความช่วยเหลือ
  • 14. 14 นักเรียนกลุ่มใดหรือคนใดที่มีปัญหา แต่ไม่ควรไปนั่งเฝ้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ เพราะ จะทาให้นักเรียนอึดอัด เครียด หรือบางคนอาจแสดงพฤติกรรมเขื่องเพื่ออวดครู 5) เมื่อจะให้นักเรียนเปลี่ยนกลุ่ม ครูควรชี้แจงให้นักเรียนเดินช้าๆ ไม่ต้องรีบเร่ง และให้ หัวหน้าเก็บสื่อการสอนใส่ซองไว้ให้เรียบร้อยก่อนเปลี่ยนไปกลุ่มอื่นๆ ห้ามหยิบชินส่วน ใดติดมือไป ยกเว้น “แบบฝึกปฏิบัติ” หรือ “กระดาษคาตอบ” ประจาตัวของนักเรียนเอง 6) การเปลี่ยนกลุ่มกระทาได้ 3 วิธี คือ (1) เปลี่ยนพร้อมกันทุกกลุ่มหากทากิจกรรมเสร็จพร้อม กัน (2) กลุ่มใดเสร็จก่อน ให้ไปทางานในกลุ่มสารอง (3) หากมี 2 กลุ่มทาเสร็จพร้อมกันก็ ให้เปลี่ยนกันทันที 7) หลังจากการทดสอบประสิทธิภาพสิ้นสุดลง ขอให้แสดงความชื่นชมที่นักเรียนให้ความ ร่วมมือ และประสบความสาเร็จในการเรียนจาก สื่อหรือชุดการสอน 8) หากทาได้ ให้แจ้งผลการทดสอบหลังเรียนให้นักเรียนทราบเพื่อให้ประสบการณ์ที่เป็น ความสาเร็จ 10. สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังทดลอบประสิทธิภาพ เมื่อทาการทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนเสร็จแล้ว ครูผู้สอนและสมาชิกใน กลุ่มฝึกปฏิบัติผลิต สื่อหรือชุดการสอน ควรปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. นาผลงานและแบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนมาตรวจ โดยการให้คะแนนกิจกรรมทุกชนิด แล้วหาค่าเฉลี่ยและทาเป็นร้อยละ 2. นาผลการสอบหลังเรียนมาหาค่าเฉลี่ยและทาเป็นค่าร้อยละ 3. นาผลการสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมาเขียนแผนภูมิเปรียบเทียบเพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ของการบรรยายผลการสอนและจัดนิทรรศการ(หากมี) ดังตัวอย่าง
  • 15. 15 4. นาสื่อการสอน ซึ่งมีบัตรคาสั่ง บัตรสรุปเนื้อหา บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม ภาพชุด ฯลฯ มาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น 11. การยอมรับหรือไม่ยอมรับประสิทธิภาพ เมื่อทดลอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอนภาคสนามแล้ว เทียบค่า E1/E2 ที่หาได้จาก สื่อหรือชุดการสอนกับ E1/E2 ที่ตั้งเกณฑ์ไว้ เพื่อดูว่า เราจะยอมรับประสิทธิภาพหรือไม่ การยอมรับ ประสิทธิภาพให้ถือค่าแปรปรวน 25 – 5% อาทิ นั่นคือประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนไม่ควร ต่ากว่าเกณฑ์เกิน 5% แต่โดยปกติเราจะกาหนดไว้ 2.5%อาทิ เราตั้งเกณฑ์ประสิทธิภาพไว้ 90/90 เมื่อทดลอบประสิทธิภาพแบบ 1:100 แล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นมีประสิทธิผล 87.5/87.5 เราก็ สามารถยอมรับได้ว่าสื่อหรือชุดการสอน นั้นมีประสิทธิภาพ การยอมรับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนมี 3 ระดับ คือ (1) สูงกว่าเกณฑ์ (2) เท่า เกณฑ์ (3) ต่ากว่าเกณฑ์ แต่ยอมรับว่ามีประสิทธิภาพ (โปรดดูบทที่ 6 ระบบการสอนแผน จุฬา) 12. ปัญหาจากการทดสอบประสิทธิภาพ การประเมินประสิทธิภาพตามระบบการสอน “แผนจุฬา” ที่ยึดแนวทางประเมินแบบสาม มิติ คือ (1) การหาพัฒนาการทางการเรียนคือผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ (2) การหา ประสิทธิภาพทวิผลคือ กระบวนการควบคู่ผลลัพธ์โดยกาหนดค่าประสิทธิภาพเป็น E1/E2 (Efficiency of Process/Efficiency of Products) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนที่เป็น กระบวนการและผลการเรียนที่เป็นผลลัพธ์ และ (3) การหาความพึงพอใจของครูและผู้เรียน โดย
  • 16. 16 การประเมินคุณภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้สอนและผู้เรียน หลังจาก เวลาผ่านไปมากกว่า 30 ปี พบปัญหาที่พอสรุปได้ ประการ 1) นักวิชาการรุ่นหลังนาแนวคิดทดสอบประสิทธิภาพที่พัฒนาโดย ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ เมื่อพ.ศ. 2516 และได้เผยแพร่อย่างต่อมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520 มาเป็น ของตนเอง โดยเขียนเป็นบทความหรือตาราแล้วไม่มีการอ้างอิง มีจานวนมากกว่า ร้อยรายการ ทาให้นิสิตนักศึกษารุ่นหลังไม่ทราบที่มาของการทดสอบประสิทธิภาพ จึงทาให้มี เป็นจานวนมากที่อ้างว่าเป็นตนเจ้าของทฤษฎี E1/E2 บางสานักพิมพ์ได้นา ความรู้เรื่องการสอนแบบศูนย์การเรียน ของ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ไป พิมพ์เผยแพร่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2539 และมีรายได้มหาศาล โดยไม่อ้างว่า ศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ เป็นผู้พัฒนาขึ้น 2) นักวิชาการนา E1/E2 ไปเป็นของฝรั่ง เช่น ระบุว่า การหาประสิทธิภาพ E1/E2 เกิดจาก แนวคิด Mastery Learning ของ Bloom 3) นักวิชาการไม่เข้าใจหลักการของการตั้งเกณฑ์ประสิทธิภาพ เช่น เสนอแนะให้ตั้ง เกณฑ์ไว้ต่า (เช่น E1/E2 =70/70) หลังจากตั้งเกณฑ์ไว้ต่าแล้ว เมื่อหาค่า E1/E2 ได้ สูง กว่า ก็ประกาศด้วยความภาคภูมิใจว่า สื่อหรือชุดการสอนของตนมีประสิทธิภาพ มากกว่าเกณฑ์ ซึ่งที่จริงเป็นเพราะตนเองตั้งเกณฑ์ไว้ต่าไปแทนที่จะ ปรับเกณฑ์ให้ สูงขึ้นอันเป็นผลจากคุณภาพของสื่อหรือชุดการสอน 4) ไม่เข้าใจความสัมพันธ์ของ E1 และ E2 ทั้งสองค่าควรได้ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ แปรปรวนหรือแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (แตกต่างกันได้ไม่เกิน ±2.5 ของค่า E1 และ E2 ซึ่งจะมีผลทาให้ค่ากระบวนการ E1ไม่สูงกว่าค่าผลลัพธ์E2 เกินร้อยละ 5 5) บางคนเขียนเผยแพร่ในเว้ปว่า ค่า E1 ควรมากกว่า E2 เพราะการทาแบบฝึกหัดหรือ กิจกรรมปรกติจะง่ายกว่าการสอบ ถือเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง หากค่า E1 สูง แสดงว่า กิจกรรมที่ให้นักเรียนทาง่ายไป หากค่า E2 สูงก็แสดงว่า ข้อสอบอาจจะง่าย เพราะเป็นการวัดความรู้ความจามากกว่า ดังนั้น ครูต้องปรับกิจกรรมให้ตรงตาม ระดับพฤติกรรมที่ตั้งไว้ในวัตถุประสงค์ 6) บางคนเปลี่ยน E1/E2 เป็น P1/P2 หรืออักษรอื่น แต่สูตรยังคงเดิม บางคนยังคงใช้ E1/E2 แต่เปลี่ยนสูตร เช่น เปลี่ยน F ในสูตรของ E2 เป็น Y แทนที่จะใช้ F และอ้างสิทธิว่า ตนเองคิดขึ้น บางขึ้นใช้ E1/E2 พัฒนาสูตรขึ้นใหม่ให้แลดูสลับซับซ้อนขึ้น บางคนนา
  • 17. 17 หา E1/E2 ไปคานวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทั้งหมดนี้ ก็หาได้พ้นจากการ ละเมิดลิขสิทธิ์ไปไม่เพราะแนวคิดการประเมินแบบทวิผลคือ E1/E2 เป็นระบบ ความคิดที่ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ พัฒนาขึ้น 7) นักวิชาการบางคนโยงการหาค่า E1/E2 ว่า นามาจากค่า Standard 90/90 ในความเป็น จริง มาตรฐาน 90/90 เป็นการหาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรม (บทเรียน สาเร็จรูป) ที่มีการพัฒนาบทเรียนแบบเป็นกรอบหรือ Frame แนวคิดคือ 90 ตัวแรก หมายถึง บทเรียน 1 Frame ต้องมีนักเรียนทาให้ถูกต้อง 90 คน ส่วน 90 ตัวหลัง นักเรียน 1 คน จะต้องทาบทเรียนได้ถูกต้อง 90 ข้อ เรียกว่า มาตรฐาน 90/90 ผู้ที่คิด ระบบการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนแบบยึด Standard 90/90 คือ นักจิตวิทยาชาวอเมริกันที่พัฒนาบทเรียนแบบโปรแกรม ชื่อ รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กุมุท เขียนไว้ในหนังสือของท่าน และอธิบาย 90/90 Standard ว่า “...90 แรกหมายถึง คะแนนเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อ สอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า ….90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละของนักเรียนทั้งหมด ได้รับ ผลสัมฤทธิ์ตามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรมนั้น….” ส่วน E1/E2 เน้นการเปรียบเทียบผลการเรียนจากพฤติกรรมต่อเนื่องคือกระบวนการ กับพฤติกรรมสุดท้ายคือ ผลลัพธ์ ดังนั้น แนวคิดของ E1/E จึงมีจุดเน้นต่างกับกัน 90/90 Standard หรือ มาตรฐาน 90/90 ที่เน้นความสัมพันธ์ของพฤติกรรมสุดท้ายของนักเรียน กับ การบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อและทุกข้อของบทเรียน แม้จะใช้ 90/90 80/80 หาก ไม่เน้นกระบวนการกับผลลัพธ์ ก็จะนาไปแทนค่า E1/E2 ไม่ได้ กิจกรรม 1. โปรดทดลอบประสิทธิภาพหาประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่ท่านสร้างขึ้น ตามลาดับ 1:1 1:10 และ 1:100 แล้วหาค่าประสิทธิภาพของการทดลอบประสิทธิภาพทั้ง 3 ครั้งเพื่อ เทียบกับเกณฑ์ พร้อมทั้งเขียนแผนภูมิแสดงความก้าวหน้าของนักเรียนหาคะแนนสอบก่อนและ หลังเรียน 2. หลังจากทดลอบประสิทธิภาพแล้ว โปรดถามความรู้สึกของนักเรียนต่อการเรียนจาก ห้องเรียนแบบศูนย์การเรียนโดยใช้คาถาม ต่อไปนี้ 1. นักเรียนชอบวิธีการเรียนแบบนี้หรือไม่ โปรดยกเหตุผล
  • 18. 18 2. หากมีการสอนแบบศูนย์การเรียนในวิชาอื่นๆ นักเรียนจะรู้อย่างไร ชอบหรือไม่ ชอบ 3. นักเรียนเห็นว่า บทบาทของนักเรียนควรปฏิบัติอย่างไร จึงจะทาให้การเรียนแบบ ศูนย์การเรียนดีขึ้น 4. ความเห็นอื่นๆ ของนักเรียน