SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ก
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องกระบวนการสร้างระบบและกลไกการใช้ประโยชน์จากกสื่อการเรียนรู้ของ
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ไทยพีบีเอส) ในการพัฒนา
การเรียนการสอนของกลุ่มวิชาทางสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลไกและวิธีการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ของ
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ โดยใช้ลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวิธีการรวบรวมข้อมูลคือ การหา
ข้อมูลทุติยภูมิ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การจัดกิจกรรมกลุ่มและการสังเกต
ประกอบเข้าด้วยกัน
จากการวิจัยพบว่า นโยบายและแนวทางปฏิบัติ วิธีการทางานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือ
ไทยพีบีเอสและภาควิชาการพัฒนาชุมชนมีความสอดคล้องกันในแง่ของผู้ต้องการให้ กระจายสื่อที่
ผลิตให้เกิดคุณค่ากับผู้ต้องการรับ รับสื่อการเรียนรู้ไปเพื่อใช้ประโยชน์ จึงเป็นการปรับยุทธศาสตร์
ให้ตรงกันเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าจากสื่อ อันทาให้เกิดการยอมรับและพยายามที่จะสร้างกลไก
การเข้าถึงสื่อสาธารณะจากกลุ่มผู้สอนในกลุ่มวิชาทางสังคมศาสตร์ ที่เดิมมีพื้นฐานทัศนคติที่ดีต่อ
การใช้สื่อจาก ไทยพีบีเอส จึงมีความเชื่อมันในการเลือกใช้ จากนั้นจึงได้คัดสรรสื่อที่จะใช้กับ
การเรียนการสอนในรายวิชาที่ผู้สอนแต่ละคนรับผิดชอบ โดยมุ่งเน้นจากความชัดเจนของ
วัตถุประสงค์ในรายวิชาต่างๆ ทาความเข้าใจรายละเอียดและวิธีการสอนของแต่รายวิชา ซึ่งผู้สอน
สามารถเข้าถึงสื่อได้จากช่องทางเทคโนโลยีใหม่คือ ยูทูบ อันเป็นช่องทางที่ สะดวกและ
มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงที่สุด โดยเมื่อทา การใช้สื่อการเรียนรู้ประกอบการสอนแล้ว ผู้เรียน
ทั้งหมดเกิดความสนใจในเนื้อหาการเรียนมากขึ้น ซึ่งกลุ่มผู้เรียนนั้นมีความรู้ในแต่ละประเด็นที่จะ
ทาการเรียนการสอนอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ให้ความสาคัญถึงการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ซึ่งสื่อยังได้ช่วยให้เกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญมากกว่าการเรียนรู้
ตามปกติ ผลสะท้อนหลักจากการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาคือการทาให้ ผู้เรียนสามารถเข้าใจความคิด
รวบยอดจากที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เกิดจินตภาพที่ตรงกันระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
นอกจากนี้ยังพบว่า สื่อที่ผู้เรียนสนใจจะต้องไม่ยาวมากเกินไป มีภาษาที่สื่อสารทาความเข้าใจได้
ง่าย มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและละเอียด อีกทั้งยังต้องการภาพหรือกิจกรรมประกอบเพื่อเสริมความ
เข้าใจ อย่างไรก็ดีผู้เรียนอยากให้มีการเพิ่มสื่อการสอนในทุกรายวิชาและให้มีการใช้อย่างต่อเนื่อง
คำสำคัญ : สื่อสาธารณะ กลไกการใช้ประโยชน์จากสื่อ พัฒนาการเรียนการสอน

More Related Content

What's hot

บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนPoppy'z Namkham
 
รายงานการขยายผลโครงการ
รายงานการขยายผลโครงการรายงานการขยายผลโครงการ
รายงานการขยายผลโครงการTawanat Ruamphan
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3oraya-s
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรมkrupornpana55
 

What's hot (9)

Chapter6
Chapter6 Chapter6
Chapter6
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโน
 
รายงานการขยายผลโครงการ
รายงานการขยายผลโครงการรายงานการขยายผลโครงการ
รายงานการขยายผลโครงการ
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
241203 chapter10
241203 chapter10241203 chapter10
241203 chapter10
 
Quanti & Quali study 2014.1.20
Quanti & Quali study 2014.1.20Quanti & Quali study 2014.1.20
Quanti & Quali study 2014.1.20
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม
 
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
 

Similar to Drl033782

1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1Prachyanun Nilsook
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้าRamkhamhaeng University
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum PlanningChompri Ch
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 

Similar to Drl033782 (20)

1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
1ปกไม่มีสีชุดกิจกรรม
 
1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม1ปกชุดกิจกรรม
1ปกชุดกิจกรรม
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
T5
T5T5
T5
 
Paper1
Paper1Paper1
Paper1
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้า
 
6
66
6
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 

More from Moohlan Ilada (9)

Spinger3
Spinger3Spinger3
Spinger3
 
Spinger2
Spinger2Spinger2
Spinger2
 
Spinger1
Spinger1Spinger1
Spinger1
 
Eric3
Eric3Eric3
Eric3
 
Eric2
Eric2Eric2
Eric2
 
Eric1
Eric1Eric1
Eric1
 
Tci33
Tci33Tci33
Tci33
 
Oganization3
Oganization3Oganization3
Oganization3
 
Prachyanunn@gmail.com
Prachyanunn@gmail.comPrachyanunn@gmail.com
Prachyanunn@gmail.com
 

Drl033782

  • 1. ก บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องกระบวนการสร้างระบบและกลไกการใช้ประโยชน์จากกสื่อการเรียนรู้ของ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ไทยพีบีเอส) ในการพัฒนา การเรียนการสอนของกลุ่มวิชาทางสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลไกและวิธีการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ของ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดยการใช้สื่อการเรียนรู้ โดยใช้ลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวิธีการรวบรวมข้อมูลคือ การหา ข้อมูลทุติยภูมิ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การจัดกิจกรรมกลุ่มและการสังเกต ประกอบเข้าด้วยกัน จากการวิจัยพบว่า นโยบายและแนวทางปฏิบัติ วิธีการทางานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือ ไทยพีบีเอสและภาควิชาการพัฒนาชุมชนมีความสอดคล้องกันในแง่ของผู้ต้องการให้ กระจายสื่อที่ ผลิตให้เกิดคุณค่ากับผู้ต้องการรับ รับสื่อการเรียนรู้ไปเพื่อใช้ประโยชน์ จึงเป็นการปรับยุทธศาสตร์ ให้ตรงกันเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าจากสื่อ อันทาให้เกิดการยอมรับและพยายามที่จะสร้างกลไก การเข้าถึงสื่อสาธารณะจากกลุ่มผู้สอนในกลุ่มวิชาทางสังคมศาสตร์ ที่เดิมมีพื้นฐานทัศนคติที่ดีต่อ การใช้สื่อจาก ไทยพีบีเอส จึงมีความเชื่อมันในการเลือกใช้ จากนั้นจึงได้คัดสรรสื่อที่จะใช้กับ การเรียนการสอนในรายวิชาที่ผู้สอนแต่ละคนรับผิดชอบ โดยมุ่งเน้นจากความชัดเจนของ วัตถุประสงค์ในรายวิชาต่างๆ ทาความเข้าใจรายละเอียดและวิธีการสอนของแต่รายวิชา ซึ่งผู้สอน สามารถเข้าถึงสื่อได้จากช่องทางเทคโนโลยีใหม่คือ ยูทูบ อันเป็นช่องทางที่ สะดวกและ มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงที่สุด โดยเมื่อทา การใช้สื่อการเรียนรู้ประกอบการสอนแล้ว ผู้เรียน ทั้งหมดเกิดความสนใจในเนื้อหาการเรียนมากขึ้น ซึ่งกลุ่มผู้เรียนนั้นมีความรู้ในแต่ละประเด็นที่จะ ทาการเรียนการสอนอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ให้ความสาคัญถึงการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน ซึ่งสื่อยังได้ช่วยให้เกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญมากกว่าการเรียนรู้ ตามปกติ ผลสะท้อนหลักจากการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาคือการทาให้ ผู้เรียนสามารถเข้าใจความคิด รวบยอดจากที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เกิดจินตภาพที่ตรงกันระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน นอกจากนี้ยังพบว่า สื่อที่ผู้เรียนสนใจจะต้องไม่ยาวมากเกินไป มีภาษาที่สื่อสารทาความเข้าใจได้ ง่าย มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและละเอียด อีกทั้งยังต้องการภาพหรือกิจกรรมประกอบเพื่อเสริมความ เข้าใจ อย่างไรก็ดีผู้เรียนอยากให้มีการเพิ่มสื่อการสอนในทุกรายวิชาและให้มีการใช้อย่างต่อเนื่อง คำสำคัญ : สื่อสาธารณะ กลไกการใช้ประโยชน์จากสื่อ พัฒนาการเรียนการสอน