SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
เหตุการณ์สําคัญทางการเมือง
โดย ครูเพ็ญลักษณ์
เหตุการณ์สําคัญทางการเมือง
รายวิชาสังคมศึกษา 3 ส22101 ชันมัธยมศึกษาปีที 2
ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
โดย ครูเพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
เหตุการณ์การเปลียนแปลงการปกครอง
ประเทศไทยมีเหตุการณ์ทางการเมืองทีนํามาซึงการเปลียนแปลงครังประเทศไทยมีเหตุการณ์ทางการเมืองทีนํามาซึงการเปลียนแปลงครัง
สําคัญของระบบการปกครองของไทย คือ
1. การเปลียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
2. เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 25162. เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
3. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
4. เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535
5. เหตุการณ์ 19 กันยายน 2549
การเปลียนแปลงการปกครอง 2475
1. สภาพการณ์ทางสังคม1. สภาพการณ์ทางสังคม
2. สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ
3. สภาพการณ์ทางการเมือง
ด้านการเมืองการปกครอง
1. สถาบันพระมหากษัตริย์ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ1. สถาบันพระมหากษัตริย์ อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
2. สภาผู้แทนราษฎร เป็นสถาบันทีประชาชนมีส่วนร่วม
3. ศาล พิจารณาคดีต่าง ๆ คํานึงถึงสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
4. รัฐธรรมนูญ เป็นกติกาทีกําหนดบทบาทและอํานาจหน้าที4. รัฐธรรมนูญ เป็นกติกาทีกําหนดบทบาทและอํานาจหน้าที
5. พรรคการเมือง เป็นทีรวมคนทีมีอุดมการณ์ทางการเมืองเดียวกัน
6. การเลือกตัง
7. การกระจายอํานาจ
ด้านสังคม
1. ด้านการศึกษา มีกระทรวงธรรมการให้ความรู้แก่ประชาชน1. ด้านการศึกษา มีกระทรวงธรรมการให้ความรู้แก่ประชาชน
2. ความเสมอภาคของประชาชน
3. ด้านวัฒนธรรม เปลียนแปลงการแต่งกายแบบสากล
ด้านเศรษฐกิจ
1. ผลกระทบจากเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม1. ผลกระทบจากเค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม
2. ผลกระทบจากการแก้ปัญหาเศรษฐกิจภายหลังการเปลียนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475
1) มีการแก้ไขปรับปรุงในเรืองภาษีอากรต่าง ๆ1) มีการแก้ไขปรับปรุงในเรืองภาษีอากรต่าง ๆ
2) มีการออกกฎหมายห้ามมิให้เจ้าของทีดินและนายทุนยึดเครืองมือ
และทีดินทํากินของชาวนา
3) ลดอัตราค่าไปรษณียากร
4) ปรับปรุงอัตราเงินเดือนของข้าราชการให้มีความเป็นธรรมมากขึน
สาเหตุการเปลียนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475
.1. ความเสือมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
2. การได้รับการศึกษาตามแนวความคิดตะวันตกของบรรดาชนชันนํา
ในสังคมไทย
3. ความเคลือนไหวของบรรดาสือมวลชน3. ความเคลือนไหวของบรรดาสือมวลชน
4. ความขัดแย้งทางความคิดเกียวกับการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย
5. สถานะการคลังของประเทศและการแก้ปัญหา
การยึดอํานาจการปกครอง
1. วิธีการดําเนินงาน1. วิธีการดําเนินงาน
2. ขันตอนการยึดอํานาจ
การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม
การทีคณะราษฎรภายใต้การนําของ พ.อ.พระยาพหลพลการทีคณะราษฎรภายใต้การนําของ พ.อ.พระยาพหลพล
พยุหเสนา ได้ทําการเปลียนแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบการ ปกครองทีมีพระมหากษัตริย์
เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ เมือวันที 24 มิถุนายน 2475 เป็นเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ เมือวันที 24 มิถุนายน 2475 เป็น
ผลสําเร็จ โดยมิต้องสูญเสียเลือดเนือแต่ประการใดนัน เป็นเพราะพระ
มหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงยอมรับ
ผลกระทบทีเกิดขึนจากการเปลียนแหลงการปกครอง พ.ศ.
2475
1.1.ผลกระทบทางด้านการเมือง
2.ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ
3.ผลกระทบทางด้านสังคม
พระราชหัตถเลขา ของ ร.7
แบบฝึกหัดครังที
1. ประเทศไทยเปลียนแปลงการปกครองจากระบอบ1. ประเทศไทยเปลียนแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยเมือใด
ก. 1 ธันวาคม 2475 ข. 15 ตุลาคม 2475
ค. 27 มิถุนายน 2475 ง. 24 มิถุนายน 2475ค. 27 มิถุนายน 2475 ง. 24 มิถุนายน 2475
2. ผู้ทีดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือใคร
ก. นายพจน์ สารสิน ข. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ค. จอมพล ป.พิบูลสงคราม ง. พลเอกเกรียงศักดิ ชมะนันทน์
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
เหตุการณ์ เริมมาจากการทีจอมพล ถนอม กิตติขจร รัฐประหารเหตุการณ์ เริมมาจากการทีจอมพล ถนอม กิตติขจร รัฐประหาร
ตัวเอง ในวันที 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ซึงนักศึกษาและ
ประชาชนมองว่า เป็นการสืบทอดอํานาจตนเองจากจอมพล สฤษดิ
ธนะรัชต์ นอกจากนี จอมพล ถนอมจะต้องเกษียณอายุราชการ
เนืองจากอายุครบ 60 ปี แต่กลับต่ออายุราชการตนเองในตําแหน่งผู้
ธนะรัชต์ นอกจากนี จอมพล ถนอมจะต้องเกษียณอายุราชการ
เนืองจากอายุครบ 60 ปี แต่กลับต่ออายุราชการตนเองในตําแหน่งผู้
บัญชาการทหารสูงสุดออกไป ทังพลเอก ประภาส จารุเสถียร บุคคล
สําคัญในรัฐบาล ทีมิได้รับการยอมรับเหมือนจอมพล ถนอม กลับจะ
ได้รับยศจอมพล และตําแหน่งผู้บัญชาการทหารบก ประกอบกับข่าว
คราวเรืองทุจริตในวงราชการ สร้างความไม่พอใจในหมู่ประชาชนอย่าง
มาก
ผลกระทบ 14 ตุลาคม ต่อสังคมไทย
1. พัฒนาระบอบประชาธิปไตย1. พัฒนาระบอบประชาธิปไตย
2. ประชาชนมีความตืนตัวทางการเมือง
3. กลุ่มประชาชนมีอํานาจต่อรองมากขึน
4. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพด้านอุดมการณ์4. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพด้านอุดมการณ์
5. การเติบโตของชนชันกลาง
วิกฤตการณ์ทางการเมือง พฤษภาคม 2535
ชนวนเหตุ
เป็นเหตุการณ์ทีเกิดขึนในสมัยรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร
เป็นเหตุการณ์ทีประชาชนออกมาต่อต้านการยึดอํานาจของคณะทหาร
(รสช) ซึงมีพลเอกสมพงษ์ คงสมพงษ์ เป็นหัวหน้าภาคประชาชนทีนํา(รสช) ซึงมีพลเอกสมพงษ์ คงสมพงษ์ เป็นหัวหน้าภาคประชาชนทีนํา
โดย พลตรี จําลอง ศรีเมือง ได้ออกมาเรียกร้องโดยการเดินขบวน
ต่อต้านรัฐบาลเป็นจํานวนมากทีเรียกว่า ม๊อบมือถือ เนืองจากไม่
ต้องการให้ รสช. สืบทอดอํานาจเกิดการปะทะกันระหว่างทหารกับ
ประชาชน ทําให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจํานวนมาก ในทีสุดพลเอกสุจิตดา
คราประยูร ลาออกจากตําแหน่งเหตุการณ์จึงสงบลง
พฤษภาทมิฬ
พลเอกสุจินดา คราประยูร พลเอกสุนทร คงสมพงษ์
พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ
พลตรีจําลอง ศรีเมือง
ผลกระทบต่อสังคมไทย
1. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพด้านการสือสารเพิมมากขึน1. ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพด้านการสือสารเพิมมากขึน
2. สือสารมวลชนถูกใช้เป็นเครืองมือทางการเมืองเพิมมากขึน
3. เกิดกระแสเรียกร้องให้มีการปฏิรูปการเมือง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กับ
การปฏิรูปการเมืองไทย
1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพมากขึน1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพมากขึน
2. เกิดองค์กรตามรัฐธรรมนูญขึน
3. ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการปกครองมากขึน
4. เกิดการปฏิรูประบบราชการ4. เกิดการปฏิรูประบบราชการ
5. การเข้าสู่ตําแหน่งทางการเมืองมีความโปร่งใสขึน
6. การตรวจสอบการทุจริตมีความเข้มงวดขึน
7. ประชาชนมีความตืนตัวทางการเมืองเพิมขึน
8. นักการเมืองขวนขวายหาความรู้เพิมมากขึน
วิกฤตการณ์ทางการเมือง 2548 - 2553
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548-2553 เป็น ชุดเหตุการณ์
ทีเกิดขึนในประเทศไทยอย่างต่อเนืองมาจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นความ
ขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมือง ซึงมีความเห็นต่อต้านและสนับสนุน
ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึงวิกฤตการณ์ดังกล่าว ทําให้เกิดทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึงวิกฤตการณ์ดังกล่าว ทําให้เกิด
ข้อสงสัยเกียวกับเสรีภาพสือ เสถียรภาพทางการเมืองในไทย ทังยัง
สะท้อนภาพความไม่เสมอภาคและความแตกแยก ระหว่างชาวเมือง
และชาวชนบท การละเมิดพระราชอํานาจ การหมินพระบรมเดชาน
ภาพ และผลประโยชน์ทับซ้อน ซึงบันทอนการเมืองไทยมาเป็นเวลาช้า
นาน
การปฏิวัติโดยคณะ คมช. ในปี พ.ศ. 2549
เป็นเหตุการณ์ทีเกิดจากการทํารัฐประหารของคณะมนตรีความมันคงเป็นเหตุการณ์ทีเกิดจากการทํารัฐประหารของคณะมนตรีความมันคง
แห่งชาติ หรือ คมช. ซึงมีพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าเกิดจาก
การกล่าวหาว่ารัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร มีการทุจริต
คอรัปชันเป็นอย่างมากอันเกิดจากการทีมีรัฐบาลพรรคเดียวทีมีเสียงข้างคอรัปชันเป็นอย่างมากอันเกิดจากการทีมีรัฐบาลพรรคเดียวทีมีเสียงข้าง
มากในสภาเป็นการเปลียนแปลงอํานาจการปกครองอย่างสันติ ไม่เสีย
เลือดเนือของประชาชนแต่อย่างใด และนําไปสู่การประกาศใช้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับที 18 ในปี พ.ศ. 2550
ผลกระทบวิกฤตการณ์ทางการเมือง 2548 – 2553
1. คนไทยมีความตืนตัวทางการเมืองมากขึน1. คนไทยมีความตืนตัวทางการเมืองมากขึน
2. คนไทยแบ่งฝักแบ่งฝ่ายกัน
3. ประเทศชาติสูญเสียความเชือมันจากนักท่องเทียวและนักลงทุน
4. ภาพลักษณ์ของประเทศไทยตกตําลง4. ภาพลักษณ์ของประเทศไทยตกตําลง
แบบฝึกหัดครังที
1. เหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” เกิดขึนในขณะทีผู้ใดดํารงตําแหน่ง1. เหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” เกิดขึนในขณะทีผู้ใดดํารงตําแหน่ง
นายกรัฐมนตรี
ก. นายควง อภัยวงศ์
ข. จอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์ข. จอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์
ค. พลเอกสุจินดา คราประยูร
ง. หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช
2. เหตุการณ์เมือวันที 14 ตุลาคม 2516 เป็นความรุนแรงทีเกิดมาจาก2. เหตุการณ์เมือวันที 14 ตุลาคม 2516 เป็นความรุนแรงทีเกิดมาจาก
สาเหตุใด
ก. เกิดปัญหาการทุจริตคอรัปชันในคณะรัฐบาล
ข. การต่อต้านอํานาจเผด็จการ
ค. ความไม่พอใจทีทหารใช้ความรุนแรงกับประชาชน
ง. เกิดปัญหาเศรษฐกิจตกตําอย่างรุนแรง

More Related Content

More from เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 

More from เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ (6)

ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
ทวีปแอฟริกา ระดับชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ศาสนาพุทธในยุครัตนโกสินทร์ ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
 

Social M.2 term1