SlideShare a Scribd company logo
กลเม็ดเคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล
21/43แฟ้ม ปี 2556
ร.พ.สัตหีบ กม.10
คือระบบข้อมูลรายงานบริการผู้ป่วยนอกและข้อมูลส่งเสริมสุขภาพ
และป้องกันโรครายบุคคล ตามงบจัดสรร P&P
วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล
1. เพื่อติดตามผลงานหน่วยบริการ
2. เป็นข้อมูลในการจัดสรรงบP&Pในปีต่อไป
ลดภาระการรายงานข้อมูลของหน่วยบริการ
รูปแบบที่ใช้คือมาตราฐานชุดข้อ 21แฟ้ม ตามที่สนย. และสปสช
ต้องการ ประกอบด้วย
ความสำาคัญของ 21แฟ้ม
datasetNSHO2556
รูปแบบข้อมูลที่ส่ง21แฟ้ม
โครงสร้าง 43 แฟ้มมาตรฐาน (OPD+IPD+PP)
แฟ้ม PERSON
แฟ้ม ADDRESS
(PERSON)
แฟ้ม HOME
แฟ้ม CARD
แฟ้ม CHRONIC
แฟ้ม DEATH
แฟ้ม DRUGALLERGY
(แฟ้มใหม่)
แฟ้ม WOMEN
แฟ้ม DISABILITY
(แฟ้มใหม่)
แฟ้ม VILLAGE (แฟ้ม
ใหม่)
แฟ้ม PROVIDER
(แฟ้มใหม่)
แฟ้ม SERVICE
แฟ้ม APPOINTMENT
แฟ้ม ACCIDENT (แฟ้ม
ใหม่)
แฟ้ม DIAGNOSIS_OPD
(DIAG)
แฟ้ม PROCEDURE_OPD
(PROCED)
แฟ้ม DRUG_OPD (DRUG)
แฟ้ม CHARGE_OPD (แฟ้ม
ใหม่)
แฟ้ม ADDMISSION (แฟ้ม
ใหม่)
แฟ้ม DIAGNOSIS_IPD
(แฟ้มใหม่)
แฟ้ม PROCEDURE_IPD
(แฟ้มใหม่)
แฟ้ม DRUG_IPD (แฟ้มใหม่)
แฟ้ม CHARGE_IPD (แฟ้ม
ใหม่)
แฟ้ม DENTAL (แฟ้มใหม่)
แฟ้ม ANC
แฟ้ม PRENATAL (MCH)
แฟ้ม LABOR (MCH)
แฟ้ม POSTNATAL (MCH)
แฟ้ม NEWBORN(PP)
แฟ้ม NEWBORNCARE (PP)
แฟ้ม EPI
แฟ้ม NUTRI
แฟ้ม FP
แฟ้ม SURVIEL
แฟ้ม NCDSCREEN
แฟ้ม LABFU
แฟ้ม CHRONICFU
แฟ้มข้อมูล
สะสม
แฟ้มข้อมูล
บริการ
แฟ้มข้อมูลส่งเสริม
ป้องกัน
สีแดงและสี
ม่วงคือ
21 แฟ้ม
มาตรฐาน
โครงสร้าง 17 แฟ้มมาตรฐาน การส่งต่อ
แฟ้ม
REFER_HISTORY
แฟ้ม
REFER_RESULT
แฟ้ม CARE_REFER
แฟ้ม
CLINICAL_REFER
แฟ้ม
INVESTIAGATIO
N_REFER
แฟ้ม DRUG_REFER
แฟ้ม
แฟ้ม PERSON
แฟ้ม ADDRESS
แฟ้ม CARD
แฟ้ม
DRUGALLERG
Y
แฟ้ม SERVICE
แฟ้ม ACCIDENT
แฟ้ม
DIAGNOSIS_O
PD
แฟ้ม
ระบบข้อมูลPPปี2555
(1)
NPP & Central
procurement (25.72
บ./คน)
(2)
PPE
(124.96 บ./คน)
(3)
PPA
(57.40 บ./คน)
(4)
สนับสนุนและส่ง
เสริม
(7.68 บ./คน)
(5)
ทันตกรรม
ส่งเสริม
(16.60
บ./คน)
CUP/สถาน
พยาบาล
CUP/สถาน
พยาบาล
P&P Capitation
( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404 ล้านคน)
คำานวณจาก
313.70 บาท/ปชก.UC
48.445 ล้านคน
หักเงินเดือน
แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556
กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่
กำาหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
กองทุนฯท้องถิ่น
(40.00 บ./คน)
จังหวัด/เขต
(17.40 บ./คน+ส่วนที่
เหลือจากจัดสรรกอง
ทุนฯท้องถิ่น)
Capitation+
Workload
(99.96 บ./คน)
Quality
Performance
(25.00 บ./คน)
จ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว
• จัดสรรตามจำานวนประชาชนทุกสิทธิ
-ตามจำานวนประชากรโดยรวม
-ตามจำานวนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
• จัดสรรตามปริมาณผลงานบริการปีที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการ
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคปีงบประมาณ 2555 ที่หน่วยบริการประจำา
และเครือข่ายจัดส่งข้อมูลผ่านชุดข้อมูลการบริการผู้ป่วยนอกและสร้าง
เสริมสุขภาพป้องกันโรครายบุคคล( OP/ PP individual record)
9
2. งบสนับสนุนและส่งเสริม
การจัดบริการ
0.35 บ./ปชก.
1. งบค่าบริการเพิ่มเติม
6.85 บ/ปชก.
1. งบค่าบริการเพิ่มเติม
6.85 บ/ปชก.
บริการแพทย์แผนไทย
7.20 บ./ปชก. สิทธิ UC
(26,465,337.0026,465,337.00 )
แผนผังการจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี56
เขต
14
จัดสรรงบเป็น Global เขต ตาม
จำานวน ปชก. และผลงานเดิม ใน
สัดส่วน 70:30 (6.60)(6.60)
25,285,325.0025,285,325.00 บาท
จัดสรรงบเป็น Global เขต ตาม
จำานวน ปชก.
(0.31)(0.31)
1,180,012.001,180,012.00 บาท
ระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปีระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปี
25562556
15
OP/PP
Individual
/Province /21 แฟ้ม
Program
TTM
Data Center
E-Claim / Paper
Programsข้อมูล
นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด
(กรณี OP)
นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด
(กรณี IP)
ยาสมุนไพร / มูลค่ายาสมุนไพร
บุคลากรแผนไทย
(ผู้ประกอบโรคศิลปะ ,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย)
การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ
(แผนไทย)
PointPoint ตั้งต้นเพื่อคิดงบฯสนับสนุนตั้งต้นเพื่อคิดงบฯสนับสนุน
ก) การให้บริการในหน่วยบริการ
- นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน
- ประคบ ครั้งละ 0.5 คะแนน
- อบไอนำ้าสมุนไพร ครั้งละ 0.5 คะแนน
- ฟื้นฟูมารดาหลังคลอด ครั้งละ 500 บาท
ข) การจ่ายยาสมุนไพร ED ตามประกาศ
- รายการต่อใบสั่งยา
รายการละ 1 คะแนน
18
ข้อมูลที่ใช้ในการติดตามประเมินผล ปีงบประมาณ 56
ลำา
ดับ
ข้อมูล
แหล่ง
ข้อมูล
แฟ้มที่ใช้ในการส่งข้อมูล
OP Package
1. บริการนวดไทย (นวด ประคบ
อบ)
21 แฟ้ม 1. PERSON
2. SERVICE
3. DIAG
4. PROCED : (หัตถการ TTM)
2. บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด 21 แฟ้ม 1. PERSON
2. SERVICE
3. DIAG
4. PROCED : (หัตถการ TTM)
3. ยาสมุนไพร 21 แฟ้ม 1. PERSON
2. SERVICE
3. DIAG
4. 4.DRUG : <DIDSTD>
4. มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร/ยาแผน
ปัจจุบัน
21 แฟ้ม 1. PERSON
2. SERVICE
3. DIAG
4. DRUG :
<DRUGPRIC>
5. บุคลากรแพทย์แผนไทย โปรแกรมTT
M
-
6. การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ
(แผนไทย 5.7, 5.8)
Data Center
-
• 1 ขึ้นทะเบียน จนท. ที่จบหลักสูตรแพทย์แผนไทย ที่เว็บไซด์ ของ
สปสช. (ระบุเลขบัตร ปชช ของ จนท นั้นด้วย)
• 2 เพิ่มรายชื่อผู้ใช้( user ) ของ จนท . ลงในฐานข้อมูล HOSXP
(ระบุเลขบัตร ปชช ของ จนท นั้นด้วย)
3 บันทึก(เพิ่ม) ข้อมูลหลักสูตรการอบรมด้านแพทย์แผนไทย ของ
จนท . ลงในฐานข้อมูล HOSXP
• 4 การจ่ายค่าตอบแทนจากงานแพทย์แผนไทย กับหน่วยบริการที่มี
ผลงานบริการนวด ประคบ อบสมุนไพรเพื่อการรักษาผู้ป่วย และเพื่อ
ฟื้นฟูร่างกายด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
โรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุในชุมชน บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังค
ลอด
และการใช้ยาจากสมุนไพร ดังนี้
แนวทางการบันทึกข้อมูลแผนไทย ปี 2556
• 4.1 หัตถการแผนไทย( รหัสหัตถการ 7 หลักตามมาตรฐาน ) ได้แก่ การ
นวดต่างๆ , อบฯ ,ประคบฯ ,ทับหม้อเกลือ ฯลฯ
• 4.2 มูลค่าการจ่ายยาแผนปัจจุบัน เทียบกับมูลค่าการจ่ายยา สมุนไพร
ต่อปี ของสถานบริการใดๆ ต้องมีสัดส่วนไม่เกิน 88 : 12 (…ถ้ามูลค่ายา
แผนปัจจุบันเกิน 88 % สถานบริการนั้นจะไม่ผ่านเกณฑ์ อันนี้) …ดังนั้น
จะต้องทำาการกำาหนดราคาทุน และราคาขาย ต่อหน่วย ของยาทุก
รายการ(ทั้งยาแผนปัจจุบันและยาสมุนไพร) ไว้ให้ครบทุกรายการ
• 4.3 การวินิจฉัยโรคแผนไทย( รหัส U ) ผู้วินิจฉัยฯควรต้องเป็นแพทย์
หรือแพทย์แผนไทย ที่ขึ้นทะเบียน และมีเลขใบประกอบวิชาชีพแผน
ไทย เท่านั้น
สถานีอนามัย/PCU
โรงพยาบาล
ช่องทางการส่งข้อมูล
21 แฟ้ม
สสจ.
Provis / Data Center
21
แฟ้ม
สนย.
21 แฟ้ม
Rep
Statement
datasetNSHO2556
datasetNSHO2556
datasetNSHO2556
datasetNSHO2556
การตรวจสอบข้อมูล
และการคิดคะแนน
•การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP)
มาตรฐาน
โครงสร้าง
แฟ้มที่ใช้ตรวจ
สอบ
ฟิลด์ที่ใช้เชื่อม
โยงข้อมูล
21 แฟ้ม SERVICE.txt*
DIAG.txt*
PROCED.txt
DRUG.txt
PID
SEQ
DATE_SERV
CLINIC
การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ
ผู้ป่วยนอก (OP)
• ข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำาหนดในแต่ละแฟ้ม
ตาม Flow การตรวจสอบโครงสร้างแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับการให้
บริการผู้ป่วยนอก
• มีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการ
ให้บริการได้
• ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย 1 รหัส
ที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2010) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์
แผนไทย
• ตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4
ของ DRG 5.0)
• ประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) มีค่าตั้งแต่ 1 – 5
แนวทางการให้รหัสโรค
1.)   ให้รหัสโรค  ตามโรคที่พบจริงเท่านั้น ห้ามให้
รหัสเกินความจำาเป็นหรือให้เผื่อไว้โดยเฉพาะ
รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ  ถ้ามาตรวจด้วย
อาการของโรค ห้ามลง รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุข
ภาพและรหัสการตรวจร่างกายต่างๆ  เช่น ตรวจ
สุขภาพ,วัดความดัน ฯลฯ เพราะเป็นงาน
Routine และไม่เป็นไปตามแนวทางในการให้
รหัสโรค
แนวทางการให้รหัสโรค
2.)   บริการที่เกิดขึ้น ณ หน่วยบริการใด ให้ถือเป็นผลงานและ
ข้อมูลของหน่วยบริการนั้น  กรณีทีม
สหวิชาชีพจากโรงพยาบาล  ลงไปให้บริการที่ PCU ให้ถือว่า
บริการและข้อมูลนั้นเป็นผลงานของ PCU ที่ลงไป  ห้ามนำามา
บันทึกเป็นผลงานของโรงพยาบาล
แนวทางการให้รหัสโรค
3.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  สามารถระบุสาเหตุของโรคได้ชัดเจนโรคเดียว 
ให้วินิจฉัยโรคที่พบ ตามมาตรฐาน ICD10 เป็นรหัสโรคหลัก (Dx Type1)
เพียงรหัสเดียว
4.)   กรณีเจ็บป่วยครั้งนี้ สามารถระบุสาเหตุของโรคได้มากกว่า 1 โรค ให้
ระบุ  โรคที่หนักที่สุด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำาให้ผู้ป่วยมาพบในครั้งนี้  เป็นโรค
หลัก  ส่วนโรคอื่นๆเป็นโรคร่วม (ให้เฉพาะที่จำาเป็น)
แนวทางการให้รหัสโรค
4.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  ไม่สามารถระบุโรคได้ชัดเจน  ให้
วินิจฉัยตามอาการ โดยให้รหัสเป็นโรคหลัก ตามอาการที่พบหนักสุด
ส่วนอาการอื่นๆที่พบให้ลง Dx Type4 other เพราะสถานีอนามัยจะ
ไม่มีกลุ่มโรคประเภท2,3 จะ มีเฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น( แต่ถ้า
สามารถระบุโรคได้ชัดเจนแล้ว การให้รหัสโรค ตามอาการ ก็ไม่มี
ความจำาเป็น ) การวินิจฉัยโรคตามอาการควรลงเฉพาะอาการหลักๆ
ที่พบก็พอ
แนวทางการให้รหัสโรค
5.)   กรณีวินิจฉัยโรค/ให้รหัสโรคในกลุ่ม
อุบัติเหตุ  ให้ลงรหัส สาเหตุของการเกิดอุบัติทุก
ครั้ง(รหัส V,W,X,Y)
·กรณีอุบัติเหตุแล้วเกิดบาดแผล  ให้ระบุ
ตำาแหน่งที่เกิดบาดแผลด้วย(เฉพาะวันแรก)
·กรณีคนไข้อุบัติเหตุแล้วมาทำาแผล/ตัดไหม ใน
วันถัดๆมา(ไม่ใช่วันแรก) ให้ลงรหัสโรคตาม
กิจกรรมที่มารับบริการเท่านั้น เช่น ทำาแผล 
 ห้าม ลงรหัสเหมือนวันแรกที่เกิดอุบัติเหตุโดย
เด็ดขาด ยกเว้น จะเกิดอุบัติเหตุซำ้าซ้อนจริงๆอีก
ครั้ง (ไม่ต้องลงรหัสโรคอุบัติเหตุ,ไม่ต้องลงรหัส
ตำาแหน่งบาดแผล,ไม่ต้องลงรหัสสาเหตุการเกิด
อุบัติเหตุ(V,W,X,Y) ลงแค่มา ทำาแผล(Z480) ก็
พอ )
6.)   กรณี ผู้ป่วยมา Follow Up หรือ มาตาม
นัด เพื่อติดตามการรักษาถ้าเป็นโรคเรื้อรัง 
เช่น เบาหวาน,ความดัน ฯลฯ ให้ลงรหัสโรค
เดิม ถ้าเป็นการนัด โรคอื่นๆ  ให้ประเมิน
ตามอาการ ในการมาครั้งนี้ หายดีแล้ว  ลง
รหัส  Z099 ดีขึ้นแต่ยังไม่หาย ลงรหัส 
Z548 คงที่เหมือนเดิม ให้ลงรหัสโรคเดิม
แต่ถ้ามาครั้งนี้พบโรคใหม่หรือป่วยเป็นโรค
ใหม่ ให้ถือว่าผู้ป่วยมารับบริการเป็นคนไข้
ตามปกติ ให้ลงโรคใหม่ที่พบ เป็นรหัสโรค
หลัก ส่วนโรคเรื้อรังเดิมให้ลงรหัสเป็นโร
คอื่นๆ(Dx Type4 other)
(เพราะสถานีอนามัยจะไม่มีกลุ่มโรค
ประเภท2,3 จะมีเฉพาะในโรงพยาบาล
เท่านั้น)
7.)   กรณี ตรวจรักษาแล้ว 
ต้องส่งต่อ(Refer)ไป รพ.แม่
ข่ายให้ลงรหัสโรคหรือรหัส
อาการที่ตรวจพบ  ตาม
แนวทางให้รหัสโรคข้างต้น
ลงรหัส Z753 เพื่อระบุว่า 
ส่งตัวไปรักษาที่อื่น ถ้าใน
โปรแกรมมีเมนูบันทึกระบบ
Refer ให้บันทึกในงาน
Refer ตามระบบปกติด้วย
8.)   กรณีไม่ได้ป่วย แต่มารับบริการอย่างอื่นๆ
เช่น รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0-72 เดือน
( Z001  ) นักเรียน(  Z108  ) ตรวจสุขภาพ
ประชาชนทั่วไป (  Z000  ) ฉีดวัคซีน(ตาม
ชนิดวัคซีน) วางแผนครอบครัว(Z30.4) ตรวจ
สุขภาพฟัน (Z012),ฝากครรภ์(ครรภ์แรก 
Z340  ,ครรภ์ต่อมา  Z348,349  ) ตรวจภาวะ
โภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ(  Z001  ) ฯลฯ
ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตาม
กิจกรรม  ที่ได้ให้บริการจริงๆ
ถ้ามารับบริการสร้างเสริมสุขภาพ แล้ว ตรวจ
พบโรค  ให้ลงรหัสโรคที่พบ เป็นโรคหลัก(Dx
Type1) ส่วนการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ
ที่มา เป็นรหัสโรคอื่นๆ(Dx Type4)
9.) ถ้าทำาหลายๆกิจกรรม  ให้
ลงกิจกรรมหลักที่มา เป็นรหัส
โรคหลัก ส่วนรหัสกิจกรรมอื่นๆ
ให้ลงเป็น รหัสอื่นๆ (Dx
Type4)  เช่น มาฝาก
ครรภ์(ครรภ์ที่2) แล้วฉีด
วัคซีน(dTANC) และ เจาะเลือด
ตรวจ VDRL มาฝาก
ครรภ์(ครรภ์ที่2)  เป็น Dx
Type1  รหัสกิจกรรม Z34.9
ฉีดวัคซีน(dTANC) เป็น Dx
Type4  รหัสกิจกรรม
Z235,Z236 รหัสเจาะเลือดไม่
10.)    กรณีบริการนอกหน่วยบริการ
เช่น  รณรงค์ตรวจสุขภาพ,ตรวจคัด
กรองความเสี่ยง,อนามัยโรงเรียน 
เยี่ยมบ้าน,หน่วยบริจาคโลหิต เหล่านี้
ไม่ถือว่าเป็น ผู้ป่วยนอก  แต่เป็น
กิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ
บริการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก และ
โดยปกติจะมีระบบการบันทึกผลงาน
เฉพาะงานนั้นๆ(หมายความว่า
กิจกรรมอะไรก็ลงบันทึกตามกิจกรรม
งานนั้นๆ)  ข้อมูลจะไม่เกี่ยวข้องกันกับ
ผู้ป่วยนอกหรือบริการในหน่วยบริการ
ตามระบบปกติ
แต่ถ้ามีการนำามาบันทึกในระบบข้อมูลผู้ป่วยนอก  ให้
บันทึกเป็น ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตาม
กิจกรรมหลักที่ทำาเพียง 1 รหัสเท่านั้น  ห้ามลงรหัส
โรคเด็ดขาด แม้จะพบโรคก็ตาม  แต่การบันทึกใน
โปรแกรมตามระบบงานของกิจกรรมนั้นๆ  ให้ลงราย
ละเอียดข้อมูลให้ครบถ้วนทุกอย่าง 
เช่น  บันทึกNCD ตรวจคัดกรองสุขภาพ ถ้าพบป่วย
เป็นโรคอะไร? ก็ลงตามนั้น  แต่การลงบันทึกข้อมูลผู้
ป่วยนอก ให้ถือว่าทำาเพียงกิจกรรมตรวจคัดกรอง
สุขภาพ จึงลงเพียงรหัส Z000 เท่านั้น
ออกอนามัยโรงเรียน จะตรวจหู,ตรวจตา,ตรวจ
เหา,ตรวจผิวหนังฯลฯ ทั้งหมดนั้น  ถือว่า เป็น
กิจกรรมอนามัยโรงเรียน  ให้ลงรหัสเพียง Z108
รหัสเดียวเท่านั้น
        - หัตถการต่างๆ  ไม่ต้องลง เพราะ
ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษาและการ
ตรวจร่างกายต่างๆ
          ไม่ถือว่าเป็นการทำาหัตถการ
ตรวจคัดกรองความเสี่ยงสารเคมีตกค้าง
ใน กลุ่มเกษตรกร ลงรหัส Z100 การ
ตรวจสุขภาพด้านอาชีวอนามัย
       - ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การ
ตรวจร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่าเป็นการทำา
หัตถการ
       - การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจ
หาสารเคมีตกค้าง ไม่ใช่หัตถการเพื่อ
การรักษา แต่เป็นกระบวนการในการ
ตรวจ เพื่อหาสาเหตุโรค เป็นงาน
Routine ของโรคนั้นๆ
ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 15 ปีขึ้น
ไป ให้ลงรหัส Z000 ตรวจสุขภาพทั่วไป
ระวังข้อมูล Over ตรวจสุขภาพเกิน
จริง(1ปี/ครั้ง)  ถ้าคนป่วยรับการตรวจ
รักษาโรคห้ามลงว่ามาตรวจสุขภาพโดย
เด็ดขาด การตรวจสุขภาพร่างกายทั่วไป
ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การตรวจ
ร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่าเป็นการทำา
หัตถการ การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อ
ตรวจหาเบาหวาน ไม่ใช่หัตถการเพื่อการ
รักษา แต่เป็นกระบวนการในการตรวจ
เพื่อหาพยาธิสภาพของโรค เป็นงาน
Routine ของโรคนั้นๆ
การติดตามเยี่ยมบ้านคนไข้ ถือ
เป็นการติดตามผลการรักษาและ
ประเมินสภาพสิ่งแวดล้อมคนไข้     
   ให้ลงรหัส  Z099 (การตรวจ
ติดตามผลหลังการรักษาภาวะอื่นที่
ไม่ระบุรายละเอียด)เป็นโรค
หลัก(Dx   Type1) เพียง 1 รหัส
โรคเท่านั้น(แม้จะป่วยเป็นโรคอะไร
ก็ตาม)
** ไม่ต้องลงรหัสโรคเรื้อรัง หรือ
โรคร่วมอื่น แต่สามารถลงรายการ
จ่ายยาหรือกิจกรรมฟื้นฟูหรือ
หัตถการที่มีการให้บริการแก่คนไข้
จริงๆได้ (ถ้ามี)
11.) งานทันตกรรม  ถือเป็น
บริการข้อมูลผู้ป่วยนอก ซึ่งจะ
มีทั้งกิจกรรม ทันตส่งเสริมสุข
ภาพ เช่น  ตรวจสุขภาพ
ฟัน(Z012) และ ผู้ป่วยทาง
ทันตกรรม แนวทางการให้
รหัสทางทันตกรรม ยึดตาม
แนวทางการให้รหัสโรคตาม
ICD10 เช่นเดียวกับบริการ
ของผู้ป่วยนอกทั่วไป
12.) งานบริการแพทย์แผนไทย 
ถือว่า เป็นบริการพิเศษ ที่เพิ่มเข้า
มาในระบบของหน่วยบริการ 
บริการแพทย์แผนไทย  มีทั้ง
บริการในหน่วยบริการและบริการ
เชิงรุกในชุมชน  ซึ่งผู้ที่จะให้การ
วินิจฉัยโรคแพทย์แผนไทยและให้
บริการแพทย์แผนไทยจะต้องเป็น 
ผู้ผ่านการอบรมหรือจบหลักสูตร
ทางด้านนี้โดยเฉพาะ แนวทาง
การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย มี
หลักการเช่นเดียวกันกับการให้
รหัสโรคแผนปัจจุบัน    แต่ใช้รหัส
ที่ต่างกันเท่านั้น
การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย 
อ้างอิงจากศูนย์รหัสมาตรฐาน
กลางเว็บ http://thcc.or.th   ซึ่ง
จะขึ้นต้นด้วยอักษร U  ซึ่งผู้จะให้
รหัสโรคนี้ต้องเป็นผู้ผ่านการอบรม
หรือจบหลักสูตรทางด้านแพทย์
แผนไทยโดยเฉพาะ งานบริการ
แพทย์แผนไทยเชิงรุก นอกหน่วย
บริการ ให้ลงเหมือนกับการติดตาม
เยี่ยมบ้าน       (รหัส Z099) แล้ว
จึงลงรหัส หัตถการ ของแพทย์
แผนไทยตามปกติ
13.) บริการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด  โดยนัก
กายภาพ เป็นบริการเพิ่มสำาหรับบางหน่วยบริการที่มีนัก
กายภาพบำาบัด  ซึ่ง ลักษณะบริการจะคล้ายๆกับแพทย์
แผนไทย  ซึ่งมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการเชิง
รุกในชุมชน ส่วนใหญ่ บริการของกายภาพบำาบัด จะ
เป็นกิจกรรมหรือหัตถการ เพื่อการฟื้นฟูสภาพและเพื่อ
การรักษา การให้รหัสโรค ควรเป็นเจ้าหน้าหน้าที่ผู้
ตรวจรักษาโรคทั่วไป เป็นคนลงวินิจฉัยโรค แล้วส่งต่อ
คนไข้ให้ นักกายภาพบำาบัดช่วยตรวจเพิ่มเติมเพื่อ ให้
บริการตามแนวทางของนักกายภาพบำาบัด  งานบริการฟู
สภาพและกายภาพบำาบัด นอกหน่วยบริการ ให้ลง
เหมือนกับการติดตามเยี่ยมบ้าน (รหัส Z099) แล้วจึงลง
รหัส หัตถการ ของกิจกรรมฟื้นฟูสภาพ/กายภาพบำาบัด
ตามปกติ
•หัตถการ หมายถึง การใช้เครื่องมือหรือ
วัสดุ อุปกรณ์การแพทย์ กระทำาต่ออวัยวะ
หรือร่างกายผู้ป่วย โดยอาศัยทักษะที่ได้รับ
การฝึกฝนทางการแพทย์ พยาบาล
ทันตแพทย์ หรือผู้ปฏิบัติวิชาชีพด้านบริการ
สุขภาพ
•หัตถการเพื่อการรักษา หมายถึง การใช้
เครื่องมือหรือวัสดุ อุปกรณ์การแพทย์
กระทำาต่ออวัยวะ หรือร่างกายผู้ป่วย โดย
อาศัยทักษะที่ได้รับการฝึกฝนทางการแพทย์
พยาบาล ทันตแพทย์ หรือผู้ปฏิบัติวิชาชีพ
ด้านบริการสุขภาพ และโดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อบำาบัดรักษาอาการเจ็บป่วย จากโรคต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
แนวทางการให้รหัสหัตถการ
1.)    ให้ลงรหัสหัตถการตามจริง ที่ให้
บริการจริงเท่านั้น  ห้ามให้หัตถการเกิน
จำาเป็นหรือเผื่อไว้
2.)    ให้หัตถการเพื่อการรักษาหรือฟื้นฟู
สภาพ  ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับการ
วินิจฉัยของโรคเท่านั้น
3.)   หัตถการผู้ป่วยนอก ลงเฉพาะ
หัตถการเพื่อการรักษาเท่านั้น  เช่น 
ล้างตา,ฉีดยา ,เย็บแผล,ทำาแผล ,เจาะ
เลือด,ผ่าฝี, ตัดไหม,ถอนฟัน,อุดฟัน,การ
สวนปัสสาวะ,การให้นำ้าเกลือ ฯลฯ ICD
10Tm เท่านั้น ( 7 หลัก )
การทำาหัตถการเพื่อการรักษาในที่นี้ ไม่รวม
1.การผ่าตัด
2.การตรวจอวัยวะ หรือ การตรวจส่วนต่างๆของ
ร่างกาย โดยมิได้ใช้เครื่องมือทางการแพทย์ รวมทั้ง
การตรวจร่างกาย Routine เช่น วัดความดัน,วัด
ปรอท, ชั่งนำ้าหนัก,วัดส่วนสูง ฯลฯ
3.การตรวจทางรังสี
4.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
5.การดูแล และทำาความสะอาดส่วนต่างๆของ
ร่างกาย  การตรวจร่างกาย ทุกชนิด,การตรวจ
สุขภาพ,การตรวจภาวะโภชนาการ,การตรวจเต้านม,
การตรวจวัดสายตา,การตรวจอื่นๆ ,การให้คำา
ปรึกษา,การเยี่ยมบ้าน,ค่าบริการต่างๆ ฯลฯสิ่งเหล่านี้ 
ไม่ใช่การทำาหัตถการ
แนวทางการให้รหัสหัตถการ
4.)หัตถการงานสร้างเสริมสุขภาพ เช่น  มาฉีด
วัคซีน,ฉีดยาคุมกำาเนิด  จะมีหัตถการฉีดยา
(หยอดยาโปลิโอไม่ถือว่าเป็นหัตถการ),
หัตถการใส่ห่วงอนามัย  เป็นต้น
5.)   หัตถการแพทย์แผนไทย ผู้ที่จะทำาหัตถการ
แพทย์แผนไทยต้องเป็นผู้ผ่านการอบรมหรือจบ
หลักสูตรทางด้าน แพทย์แผนไทยโดยเฉพาะ 
ดังนั้น  การลงรหัสหัตถการแพทย์แผนไทย ทุก
ครั้ง จะต้องระบุเลขบัตรประจำาตัว
ประชาชน(13หลัก) ของผู้ให้บริการแพทย์แผน
ไทยด้วยทุกครั้ง
การให้รหัสหัตถการแพทย์แผนไทย ต้องอิงตาม
ศูนย์รหัสมาตรฐานกลางเว็บ http://thcc.or.th
แนวทางการให้รหัสหัตถการ
6.)    หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและ
กายภาพบำาบัด ผู้ที่จะให้บริการ จะต้อง
เป็นนักกายภาพบำาบัดเท่านั้น รหัส
หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและ
กายภาพบำาบัด ให้อ้างอิงตาม ICD9CM
และ ICD10TM การลงรหัสหัตถการ
เพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด
ทุกครั้ง จะต้องระบุเลขบัตร ประจำาตัว
ประชาชน(13หลัก) ของนัก
กายภาพบำาบัด ที่ให้บริการด้วยทุกครั้ง
แนวทางการให้รหัสหัตถการ
ICD10ที่พบบ่อย
ICD10ที่พบบ่อย
ตัวอย่างหัตถการที่พบบ่อยในผู้ป่วยนอก
ICD1
0T
M ICD-10-TM หัตถการ
238
72
14
Gross pulpal
debridement,
-permanent
การกำาจัดโพรงประสาทฟันออก
อย่างคร่าวๆ (ฟันแท้)
237
72
11
Gross pulpal
debridement,
-primary
การกำาจัดโพรงประสาทฟันออก
อย่างคร่าวๆ (ฟันนำ้านม)
238
71
S6 Enamel microabrasion
การขัดผิวเคลือบฟัน(enamel
abrasion)
237
70
10 Prophylaxis-child การขูดและขัดฟันในเด็ก
ตัวอย่างรหัสหัตการ งาน
ทันตกรรม
รหัส ICD10 กลุ่ม Z ที่เป็นการให้บริการ OP และ PP
กิจกรรม / การวินิจฉัย รหัส ICD 10
การประเมินพัฒนาการในเด็ก
(ตามแนวทางของกรมอนามัย)
Z 001
Pre DM
(ค่า FBS ระหว่าง 100 -125 mg/dl หรือ
Postpandial blood glucose ระหว่าง 140-199
mg/dl )
R 730 / R731
/ R739
Pre HT
(Pre HT คือค่า Systolic BP ระหว่าง 120-
139 mmHg หรือ Diastolic BP ระหว่าง
80-89 mmHg )
R 030
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Z 713
แนวทางการรายงานข้อมูลบริการ P&P ใน
แฟ้ม OP
ปีงบประมาณ 2556

More Related Content

What's hot

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2Techin Pha-In
 

What's hot (20)

Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
OPD System with ZK Grails
OPD System with ZK GrailsOPD System with ZK Grails
OPD System with ZK Grails
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 

Similar to การบันทึกข้อมูล21แฟ้ม56

PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)Sakarin Habusaya
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...JibPo Po
 
Simple simple ha for unit suradet sri
Simple simple ha for unit   suradet sriSimple simple ha for unit   suradet sri
Simple simple ha for unit suradet sriSuradet Sriangkoon
 
Hdc cigarette alcohol harm 62
Hdc cigarette alcohol harm 62Hdc cigarette alcohol harm 62
Hdc cigarette alcohol harm 62Sakarin Habusaya
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพWanchana Pontongmak
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง” Peerasak C.
 

Similar to การบันทึกข้อมูล21แฟ้ม56 (20)

Oppp57 richmond
Oppp57 richmondOppp57 richmond
Oppp57 richmond
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
 
Simple simple ha for unit suradet sri
Simple simple ha for unit   suradet sriSimple simple ha for unit   suradet sri
Simple simple ha for unit suradet sri
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Hdc cigarette alcohol harm 62
Hdc cigarette alcohol harm 62Hdc cigarette alcohol harm 62
Hdc cigarette alcohol harm 62
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 

More from Komen Chawarit

นำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวง
นำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวงนำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวง
นำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวงKomen Chawarit
 
วันที่3 opd@seasun
วันที่3 opd@seasunวันที่3 opd@seasun
วันที่3 opd@seasunKomen Chawarit
 
วันที่2 pp@4 seasun
วันที่2 pp@4 seasunวันที่2 pp@4 seasun
วันที่2 pp@4 seasunKomen Chawarit
 
วันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
วันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐานวันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
วันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐานKomen Chawarit
 
Presentation ท่าหลวง260656
Presentation ท่าหลวง260656Presentation ท่าหลวง260656
Presentation ท่าหลวง260656Komen Chawarit
 

More from Komen Chawarit (6)

นำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวง
นำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวงนำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวง
นำเสนอผู้ตรวจ2556อ.ท่าหลวง
 
วันที่3 opd@seasun
วันที่3 opd@seasunวันที่3 opd@seasun
วันที่3 opd@seasun
 
วันที่2 pp@4 seasun
วันที่2 pp@4 seasunวันที่2 pp@4 seasun
วันที่2 pp@4 seasun
 
วันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
วันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐานวันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
วันที่1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
 
Presentation ท่าหลวง260656
Presentation ท่าหลวง260656Presentation ท่าหลวง260656
Presentation ท่าหลวง260656
 
Taluang 56
Taluang 56Taluang 56
Taluang 56
 

การบันทึกข้อมูล21แฟ้ม56

  • 2. คือระบบข้อมูลรายงานบริการผู้ป่วยนอกและข้อมูลส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรครายบุคคล ตามงบจัดสรร P&P วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล 1. เพื่อติดตามผลงานหน่วยบริการ 2. เป็นข้อมูลในการจัดสรรงบP&Pในปีต่อไป ลดภาระการรายงานข้อมูลของหน่วยบริการ รูปแบบที่ใช้คือมาตราฐานชุดข้อ 21แฟ้ม ตามที่สนย. และสปสช ต้องการ ประกอบด้วย ความสำาคัญของ 21แฟ้ม
  • 5. โครงสร้าง 43 แฟ้มมาตรฐาน (OPD+IPD+PP) แฟ้ม PERSON แฟ้ม ADDRESS (PERSON) แฟ้ม HOME แฟ้ม CARD แฟ้ม CHRONIC แฟ้ม DEATH แฟ้ม DRUGALLERGY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม WOMEN แฟ้ม DISABILITY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม VILLAGE (แฟ้ม ใหม่) แฟ้ม PROVIDER (แฟ้มใหม่) แฟ้ม SERVICE แฟ้ม APPOINTMENT แฟ้ม ACCIDENT (แฟ้ม ใหม่) แฟ้ม DIAGNOSIS_OPD (DIAG) แฟ้ม PROCEDURE_OPD (PROCED) แฟ้ม DRUG_OPD (DRUG) แฟ้ม CHARGE_OPD (แฟ้ม ใหม่) แฟ้ม ADDMISSION (แฟ้ม ใหม่) แฟ้ม DIAGNOSIS_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม PROCEDURE_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม DRUG_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม CHARGE_IPD (แฟ้ม ใหม่) แฟ้ม DENTAL (แฟ้มใหม่) แฟ้ม ANC แฟ้ม PRENATAL (MCH) แฟ้ม LABOR (MCH) แฟ้ม POSTNATAL (MCH) แฟ้ม NEWBORN(PP) แฟ้ม NEWBORNCARE (PP) แฟ้ม EPI แฟ้ม NUTRI แฟ้ม FP แฟ้ม SURVIEL แฟ้ม NCDSCREEN แฟ้ม LABFU แฟ้ม CHRONICFU แฟ้มข้อมูล สะสม แฟ้มข้อมูล บริการ แฟ้มข้อมูลส่งเสริม ป้องกัน สีแดงและสี ม่วงคือ 21 แฟ้ม มาตรฐาน
  • 6. โครงสร้าง 17 แฟ้มมาตรฐาน การส่งต่อ แฟ้ม REFER_HISTORY แฟ้ม REFER_RESULT แฟ้ม CARE_REFER แฟ้ม CLINICAL_REFER แฟ้ม INVESTIAGATIO N_REFER แฟ้ม DRUG_REFER แฟ้ม แฟ้ม PERSON แฟ้ม ADDRESS แฟ้ม CARD แฟ้ม DRUGALLERG Y แฟ้ม SERVICE แฟ้ม ACCIDENT แฟ้ม DIAGNOSIS_O PD แฟ้ม
  • 8. (1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่ง เสริม (7.68 บ./คน) (5) ทันตกรรม ส่งเสริม (16.60 บ./คน) CUP/สถาน พยาบาล CUP/สถาน พยาบาล P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404 ล้านคน) คำานวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน หักเงินเดือน แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556 กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่ กำาหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่ เหลือจากจัดสรรกอง ทุนฯท้องถิ่น) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน)
  • 9. จ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว • จัดสรรตามจำานวนประชาชนทุกสิทธิ -ตามจำานวนประชากรโดยรวม -ตามจำานวนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ • จัดสรรตามปริมาณผลงานบริการปีที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคปีงบประมาณ 2555 ที่หน่วยบริการประจำา และเครือข่ายจัดส่งข้อมูลผ่านชุดข้อมูลการบริการผู้ป่วยนอกและสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรครายบุคคล( OP/ PP individual record) 9
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. 2. งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ 0.35 บ./ปชก. 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 6.85 บ/ปชก. 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 6.85 บ/ปชก. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 บ./ปชก. สิทธิ UC (26,465,337.0026,465,337.00 ) แผนผังการจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี56 เขต 14 จัดสรรงบเป็น Global เขต ตาม จำานวน ปชก. และผลงานเดิม ใน สัดส่วน 70:30 (6.60)(6.60) 25,285,325.0025,285,325.00 บาท จัดสรรงบเป็น Global เขต ตาม จำานวน ปชก. (0.31)(0.31) 1,180,012.001,180,012.00 บาท
  • 15. ระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปีระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปี 25562556 15 OP/PP Individual /Province /21 แฟ้ม Program TTM Data Center E-Claim / Paper Programsข้อมูล นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด (กรณี OP) นวด , อบ , ประคบ , แม่หลังคลอด (กรณี IP) ยาสมุนไพร / มูลค่ายาสมุนไพร บุคลากรแผนไทย (ผู้ประกอบโรคศิลปะ ,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (แผนไทย)
  • 16. PointPoint ตั้งต้นเพื่อคิดงบฯสนับสนุนตั้งต้นเพื่อคิดงบฯสนับสนุน ก) การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 0.5 คะแนน - อบไอนำ้าสมุนไพร ครั้งละ 0.5 คะแนน - ฟื้นฟูมารดาหลังคลอด ครั้งละ 500 บาท ข) การจ่ายยาสมุนไพร ED ตามประกาศ - รายการต่อใบสั่งยา รายการละ 1 คะแนน
  • 17.
  • 18. 18 ข้อมูลที่ใช้ในการติดตามประเมินผล ปีงบประมาณ 56 ลำา ดับ ข้อมูล แหล่ง ข้อมูล แฟ้มที่ใช้ในการส่งข้อมูล OP Package 1. บริการนวดไทย (นวด ประคบ อบ) 21 แฟ้ม 1. PERSON 2. SERVICE 3. DIAG 4. PROCED : (หัตถการ TTM) 2. บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด 21 แฟ้ม 1. PERSON 2. SERVICE 3. DIAG 4. PROCED : (หัตถการ TTM) 3. ยาสมุนไพร 21 แฟ้ม 1. PERSON 2. SERVICE 3. DIAG 4. 4.DRUG : <DIDSTD> 4. มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร/ยาแผน ปัจจุบัน 21 แฟ้ม 1. PERSON 2. SERVICE 3. DIAG 4. DRUG : <DRUGPRIC> 5. บุคลากรแพทย์แผนไทย โปรแกรมTT M - 6. การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ (แผนไทย 5.7, 5.8) Data Center -
  • 19. • 1 ขึ้นทะเบียน จนท. ที่จบหลักสูตรแพทย์แผนไทย ที่เว็บไซด์ ของ สปสช. (ระบุเลขบัตร ปชช ของ จนท นั้นด้วย) • 2 เพิ่มรายชื่อผู้ใช้( user ) ของ จนท . ลงในฐานข้อมูล HOSXP (ระบุเลขบัตร ปชช ของ จนท นั้นด้วย) 3 บันทึก(เพิ่ม) ข้อมูลหลักสูตรการอบรมด้านแพทย์แผนไทย ของ จนท . ลงในฐานข้อมูล HOSXP • 4 การจ่ายค่าตอบแทนจากงานแพทย์แผนไทย กับหน่วยบริการที่มี ผลงานบริการนวด ประคบ อบสมุนไพรเพื่อการรักษาผู้ป่วย และเพื่อ ฟื้นฟูร่างกายด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุในชุมชน บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังค ลอด และการใช้ยาจากสมุนไพร ดังนี้ แนวทางการบันทึกข้อมูลแผนไทย ปี 2556
  • 20. • 4.1 หัตถการแผนไทย( รหัสหัตถการ 7 หลักตามมาตรฐาน ) ได้แก่ การ นวดต่างๆ , อบฯ ,ประคบฯ ,ทับหม้อเกลือ ฯลฯ • 4.2 มูลค่าการจ่ายยาแผนปัจจุบัน เทียบกับมูลค่าการจ่ายยา สมุนไพร ต่อปี ของสถานบริการใดๆ ต้องมีสัดส่วนไม่เกิน 88 : 12 (…ถ้ามูลค่ายา แผนปัจจุบันเกิน 88 % สถานบริการนั้นจะไม่ผ่านเกณฑ์ อันนี้) …ดังนั้น จะต้องทำาการกำาหนดราคาทุน และราคาขาย ต่อหน่วย ของยาทุก รายการ(ทั้งยาแผนปัจจุบันและยาสมุนไพร) ไว้ให้ครบทุกรายการ • 4.3 การวินิจฉัยโรคแผนไทย( รหัส U ) ผู้วินิจฉัยฯควรต้องเป็นแพทย์ หรือแพทย์แผนไทย ที่ขึ้นทะเบียน และมีเลขใบประกอบวิชาชีพแผน ไทย เท่านั้น
  • 27. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP) • ข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำาหนดในแต่ละแฟ้ม ตาม Flow การตรวจสอบโครงสร้างแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับการให้ บริการผู้ป่วยนอก • มีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการ ให้บริการได้ • ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย 1 รหัส ที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2010) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์ แผนไทย • ตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0) • ประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) มีค่าตั้งแต่ 1 – 5
  • 28. แนวทางการให้รหัสโรค 1.)   ให้รหัสโรค  ตามโรคที่พบจริงเท่านั้น ห้ามให้ รหัสเกินความจำาเป็นหรือให้เผื่อไว้โดยเฉพาะ รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ  ถ้ามาตรวจด้วย อาการของโรค ห้ามลง รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุข ภาพและรหัสการตรวจร่างกายต่างๆ  เช่น ตรวจ สุขภาพ,วัดความดัน ฯลฯ เพราะเป็นงาน Routine และไม่เป็นไปตามแนวทางในการให้ รหัสโรค
  • 29. แนวทางการให้รหัสโรค 2.)   บริการที่เกิดขึ้น ณ หน่วยบริการใด ให้ถือเป็นผลงานและ ข้อมูลของหน่วยบริการนั้น  กรณีทีม สหวิชาชีพจากโรงพยาบาล  ลงไปให้บริการที่ PCU ให้ถือว่า บริการและข้อมูลนั้นเป็นผลงานของ PCU ที่ลงไป  ห้ามนำามา บันทึกเป็นผลงานของโรงพยาบาล
  • 30. แนวทางการให้รหัสโรค 3.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  สามารถระบุสาเหตุของโรคได้ชัดเจนโรคเดียว  ให้วินิจฉัยโรคที่พบ ตามมาตรฐาน ICD10 เป็นรหัสโรคหลัก (Dx Type1) เพียงรหัสเดียว 4.)   กรณีเจ็บป่วยครั้งนี้ สามารถระบุสาเหตุของโรคได้มากกว่า 1 โรค ให้ ระบุ  โรคที่หนักที่สุด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำาให้ผู้ป่วยมาพบในครั้งนี้  เป็นโรค หลัก  ส่วนโรคอื่นๆเป็นโรคร่วม (ให้เฉพาะที่จำาเป็น)
  • 31. แนวทางการให้รหัสโรค 4.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้  ไม่สามารถระบุโรคได้ชัดเจน  ให้ วินิจฉัยตามอาการ โดยให้รหัสเป็นโรคหลัก ตามอาการที่พบหนักสุด ส่วนอาการอื่นๆที่พบให้ลง Dx Type4 other เพราะสถานีอนามัยจะ ไม่มีกลุ่มโรคประเภท2,3 จะ มีเฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น( แต่ถ้า สามารถระบุโรคได้ชัดเจนแล้ว การให้รหัสโรค ตามอาการ ก็ไม่มี ความจำาเป็น ) การวินิจฉัยโรคตามอาการควรลงเฉพาะอาการหลักๆ ที่พบก็พอ
  • 32. แนวทางการให้รหัสโรค 5.)   กรณีวินิจฉัยโรค/ให้รหัสโรคในกลุ่ม อุบัติเหตุ  ให้ลงรหัส สาเหตุของการเกิดอุบัติทุก ครั้ง(รหัส V,W,X,Y) ·กรณีอุบัติเหตุแล้วเกิดบาดแผล  ให้ระบุ ตำาแหน่งที่เกิดบาดแผลด้วย(เฉพาะวันแรก) ·กรณีคนไข้อุบัติเหตุแล้วมาทำาแผล/ตัดไหม ใน วันถัดๆมา(ไม่ใช่วันแรก) ให้ลงรหัสโรคตาม กิจกรรมที่มารับบริการเท่านั้น เช่น ทำาแผล   ห้าม ลงรหัสเหมือนวันแรกที่เกิดอุบัติเหตุโดย เด็ดขาด ยกเว้น จะเกิดอุบัติเหตุซำ้าซ้อนจริงๆอีก ครั้ง (ไม่ต้องลงรหัสโรคอุบัติเหตุ,ไม่ต้องลงรหัส ตำาแหน่งบาดแผล,ไม่ต้องลงรหัสสาเหตุการเกิด อุบัติเหตุ(V,W,X,Y) ลงแค่มา ทำาแผล(Z480) ก็ พอ )
  • 33. 6.)   กรณี ผู้ป่วยมา Follow Up หรือ มาตาม นัด เพื่อติดตามการรักษาถ้าเป็นโรคเรื้อรัง  เช่น เบาหวาน,ความดัน ฯลฯ ให้ลงรหัสโรค เดิม ถ้าเป็นการนัด โรคอื่นๆ  ให้ประเมิน ตามอาการ ในการมาครั้งนี้ หายดีแล้ว  ลง รหัส  Z099 ดีขึ้นแต่ยังไม่หาย ลงรหัส  Z548 คงที่เหมือนเดิม ให้ลงรหัสโรคเดิม แต่ถ้ามาครั้งนี้พบโรคใหม่หรือป่วยเป็นโรค ใหม่ ให้ถือว่าผู้ป่วยมารับบริการเป็นคนไข้ ตามปกติ ให้ลงโรคใหม่ที่พบ เป็นรหัสโรค หลัก ส่วนโรคเรื้อรังเดิมให้ลงรหัสเป็นโร คอื่นๆ(Dx Type4 other) (เพราะสถานีอนามัยจะไม่มีกลุ่มโรค ประเภท2,3 จะมีเฉพาะในโรงพยาบาล เท่านั้น)
  • 34. 7.)   กรณี ตรวจรักษาแล้ว  ต้องส่งต่อ(Refer)ไป รพ.แม่ ข่ายให้ลงรหัสโรคหรือรหัส อาการที่ตรวจพบ  ตาม แนวทางให้รหัสโรคข้างต้น ลงรหัส Z753 เพื่อระบุว่า  ส่งตัวไปรักษาที่อื่น ถ้าใน โปรแกรมมีเมนูบันทึกระบบ Refer ให้บันทึกในงาน Refer ตามระบบปกติด้วย
  • 35. 8.)   กรณีไม่ได้ป่วย แต่มารับบริการอย่างอื่นๆ เช่น รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0-72 เดือน ( Z001  ) นักเรียน(  Z108  ) ตรวจสุขภาพ ประชาชนทั่วไป (  Z000  ) ฉีดวัคซีน(ตาม ชนิดวัคซีน) วางแผนครอบครัว(Z30.4) ตรวจ สุขภาพฟัน (Z012),ฝากครรภ์(ครรภ์แรก  Z340  ,ครรภ์ต่อมา  Z348,349  ) ตรวจภาวะ โภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ(  Z001  ) ฯลฯ ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตาม กิจกรรม  ที่ได้ให้บริการจริงๆ ถ้ามารับบริการสร้างเสริมสุขภาพ แล้ว ตรวจ พบโรค  ให้ลงรหัสโรคที่พบ เป็นโรคหลัก(Dx Type1) ส่วนการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ที่มา เป็นรหัสโรคอื่นๆ(Dx Type4)
  • 36. 9.) ถ้าทำาหลายๆกิจกรรม  ให้ ลงกิจกรรมหลักที่มา เป็นรหัส โรคหลัก ส่วนรหัสกิจกรรมอื่นๆ ให้ลงเป็น รหัสอื่นๆ (Dx Type4)  เช่น มาฝาก ครรภ์(ครรภ์ที่2) แล้วฉีด วัคซีน(dTANC) และ เจาะเลือด ตรวจ VDRL มาฝาก ครรภ์(ครรภ์ที่2)  เป็น Dx Type1  รหัสกิจกรรม Z34.9 ฉีดวัคซีน(dTANC) เป็น Dx Type4  รหัสกิจกรรม Z235,Z236 รหัสเจาะเลือดไม่
  • 37. 10.)    กรณีบริการนอกหน่วยบริการ เช่น  รณรงค์ตรวจสุขภาพ,ตรวจคัด กรองความเสี่ยง,อนามัยโรงเรียน  เยี่ยมบ้าน,หน่วยบริจาคโลหิต เหล่านี้ ไม่ถือว่าเป็น ผู้ป่วยนอก  แต่เป็น กิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ บริการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก และ โดยปกติจะมีระบบการบันทึกผลงาน เฉพาะงานนั้นๆ(หมายความว่า กิจกรรมอะไรก็ลงบันทึกตามกิจกรรม งานนั้นๆ)  ข้อมูลจะไม่เกี่ยวข้องกันกับ ผู้ป่วยนอกหรือบริการในหน่วยบริการ ตามระบบปกติ
  • 38. แต่ถ้ามีการนำามาบันทึกในระบบข้อมูลผู้ป่วยนอก  ให้ บันทึกเป็น ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตาม กิจกรรมหลักที่ทำาเพียง 1 รหัสเท่านั้น  ห้ามลงรหัส โรคเด็ดขาด แม้จะพบโรคก็ตาม  แต่การบันทึกใน โปรแกรมตามระบบงานของกิจกรรมนั้นๆ  ให้ลงราย ละเอียดข้อมูลให้ครบถ้วนทุกอย่าง  เช่น  บันทึกNCD ตรวจคัดกรองสุขภาพ ถ้าพบป่วย เป็นโรคอะไร? ก็ลงตามนั้น  แต่การลงบันทึกข้อมูลผู้ ป่วยนอก ให้ถือว่าทำาเพียงกิจกรรมตรวจคัดกรอง สุขภาพ จึงลงเพียงรหัส Z000 เท่านั้น ออกอนามัยโรงเรียน จะตรวจหู,ตรวจตา,ตรวจ เหา,ตรวจผิวหนังฯลฯ ทั้งหมดนั้น  ถือว่า เป็น กิจกรรมอนามัยโรงเรียน  ให้ลงรหัสเพียง Z108 รหัสเดียวเท่านั้น
  • 39.         - หัตถการต่างๆ  ไม่ต้องลง เพราะ ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษาและการ ตรวจร่างกายต่างๆ           ไม่ถือว่าเป็นการทำาหัตถการ ตรวจคัดกรองความเสี่ยงสารเคมีตกค้าง ใน กลุ่มเกษตรกร ลงรหัส Z100 การ ตรวจสุขภาพด้านอาชีวอนามัย        - ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การ ตรวจร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่าเป็นการทำา หัตถการ        - การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจ หาสารเคมีตกค้าง ไม่ใช่หัตถการเพื่อ การรักษา แต่เป็นกระบวนการในการ ตรวจ เพื่อหาสาเหตุโรค เป็นงาน Routine ของโรคนั้นๆ
  • 40. ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 15 ปีขึ้น ไป ให้ลงรหัส Z000 ตรวจสุขภาพทั่วไป ระวังข้อมูล Over ตรวจสุขภาพเกิน จริง(1ปี/ครั้ง)  ถ้าคนป่วยรับการตรวจ รักษาโรคห้ามลงว่ามาตรวจสุขภาพโดย เด็ดขาด การตรวจสุขภาพร่างกายทั่วไป ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การตรวจ ร่างกายต่างๆ  ไม่ถือว่าเป็นการทำา หัตถการ การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อ ตรวจหาเบาหวาน ไม่ใช่หัตถการเพื่อการ รักษา แต่เป็นกระบวนการในการตรวจ เพื่อหาพยาธิสภาพของโรค เป็นงาน Routine ของโรคนั้นๆ
  • 41. การติดตามเยี่ยมบ้านคนไข้ ถือ เป็นการติดตามผลการรักษาและ ประเมินสภาพสิ่งแวดล้อมคนไข้         ให้ลงรหัส  Z099 (การตรวจ ติดตามผลหลังการรักษาภาวะอื่นที่ ไม่ระบุรายละเอียด)เป็นโรค หลัก(Dx   Type1) เพียง 1 รหัส โรคเท่านั้น(แม้จะป่วยเป็นโรคอะไร ก็ตาม) ** ไม่ต้องลงรหัสโรคเรื้อรัง หรือ โรคร่วมอื่น แต่สามารถลงรายการ จ่ายยาหรือกิจกรรมฟื้นฟูหรือ หัตถการที่มีการให้บริการแก่คนไข้ จริงๆได้ (ถ้ามี)
  • 42. 11.) งานทันตกรรม  ถือเป็น บริการข้อมูลผู้ป่วยนอก ซึ่งจะ มีทั้งกิจกรรม ทันตส่งเสริมสุข ภาพ เช่น  ตรวจสุขภาพ ฟัน(Z012) และ ผู้ป่วยทาง ทันตกรรม แนวทางการให้ รหัสทางทันตกรรม ยึดตาม แนวทางการให้รหัสโรคตาม ICD10 เช่นเดียวกับบริการ ของผู้ป่วยนอกทั่วไป
  • 43. 12.) งานบริการแพทย์แผนไทย  ถือว่า เป็นบริการพิเศษ ที่เพิ่มเข้า มาในระบบของหน่วยบริการ  บริการแพทย์แผนไทย  มีทั้ง บริการในหน่วยบริการและบริการ เชิงรุกในชุมชน  ซึ่งผู้ที่จะให้การ วินิจฉัยโรคแพทย์แผนไทยและให้ บริการแพทย์แผนไทยจะต้องเป็น  ผู้ผ่านการอบรมหรือจบหลักสูตร ทางด้านนี้โดยเฉพาะ แนวทาง การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย มี หลักการเช่นเดียวกันกับการให้ รหัสโรคแผนปัจจุบัน    แต่ใช้รหัส ที่ต่างกันเท่านั้น
  • 44. การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย  อ้างอิงจากศูนย์รหัสมาตรฐาน กลางเว็บ http://thcc.or.th   ซึ่ง จะขึ้นต้นด้วยอักษร U  ซึ่งผู้จะให้ รหัสโรคนี้ต้องเป็นผู้ผ่านการอบรม หรือจบหลักสูตรทางด้านแพทย์ แผนไทยโดยเฉพาะ งานบริการ แพทย์แผนไทยเชิงรุก นอกหน่วย บริการ ให้ลงเหมือนกับการติดตาม เยี่ยมบ้าน       (รหัส Z099) แล้ว จึงลงรหัส หัตถการ ของแพทย์ แผนไทยตามปกติ
  • 45. 13.) บริการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด  โดยนัก กายภาพ เป็นบริการเพิ่มสำาหรับบางหน่วยบริการที่มีนัก กายภาพบำาบัด  ซึ่ง ลักษณะบริการจะคล้ายๆกับแพทย์ แผนไทย  ซึ่งมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการเชิง รุกในชุมชน ส่วนใหญ่ บริการของกายภาพบำาบัด จะ เป็นกิจกรรมหรือหัตถการ เพื่อการฟื้นฟูสภาพและเพื่อ การรักษา การให้รหัสโรค ควรเป็นเจ้าหน้าหน้าที่ผู้ ตรวจรักษาโรคทั่วไป เป็นคนลงวินิจฉัยโรค แล้วส่งต่อ คนไข้ให้ นักกายภาพบำาบัดช่วยตรวจเพิ่มเติมเพื่อ ให้ บริการตามแนวทางของนักกายภาพบำาบัด  งานบริการฟู สภาพและกายภาพบำาบัด นอกหน่วยบริการ ให้ลง เหมือนกับการติดตามเยี่ยมบ้าน (รหัส Z099) แล้วจึงลง รหัส หัตถการ ของกิจกรรมฟื้นฟูสภาพ/กายภาพบำาบัด ตามปกติ
  • 46. •หัตถการ หมายถึง การใช้เครื่องมือหรือ วัสดุ อุปกรณ์การแพทย์ กระทำาต่ออวัยวะ หรือร่างกายผู้ป่วย โดยอาศัยทักษะที่ได้รับ การฝึกฝนทางการแพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ หรือผู้ปฏิบัติวิชาชีพด้านบริการ สุขภาพ •หัตถการเพื่อการรักษา หมายถึง การใช้ เครื่องมือหรือวัสดุ อุปกรณ์การแพทย์ กระทำาต่ออวัยวะ หรือร่างกายผู้ป่วย โดย อาศัยทักษะที่ได้รับการฝึกฝนทางการแพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ หรือผู้ปฏิบัติวิชาชีพ ด้านบริการสุขภาพ และโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อบำาบัดรักษาอาการเจ็บป่วย จากโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
  • 47. แนวทางการให้รหัสหัตถการ 1.)    ให้ลงรหัสหัตถการตามจริง ที่ให้ บริการจริงเท่านั้น  ห้ามให้หัตถการเกิน จำาเป็นหรือเผื่อไว้ 2.)    ให้หัตถการเพื่อการรักษาหรือฟื้นฟู สภาพ  ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับการ วินิจฉัยของโรคเท่านั้น 3.)   หัตถการผู้ป่วยนอก ลงเฉพาะ หัตถการเพื่อการรักษาเท่านั้น  เช่น  ล้างตา,ฉีดยา ,เย็บแผล,ทำาแผล ,เจาะ เลือด,ผ่าฝี, ตัดไหม,ถอนฟัน,อุดฟัน,การ สวนปัสสาวะ,การให้นำ้าเกลือ ฯลฯ ICD 10Tm เท่านั้น ( 7 หลัก )
  • 48. การทำาหัตถการเพื่อการรักษาในที่นี้ ไม่รวม 1.การผ่าตัด 2.การตรวจอวัยวะ หรือ การตรวจส่วนต่างๆของ ร่างกาย โดยมิได้ใช้เครื่องมือทางการแพทย์ รวมทั้ง การตรวจร่างกาย Routine เช่น วัดความดัน,วัด ปรอท, ชั่งนำ้าหนัก,วัดส่วนสูง ฯลฯ 3.การตรวจทางรังสี 4.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 5.การดูแล และทำาความสะอาดส่วนต่างๆของ ร่างกาย  การตรวจร่างกาย ทุกชนิด,การตรวจ สุขภาพ,การตรวจภาวะโภชนาการ,การตรวจเต้านม, การตรวจวัดสายตา,การตรวจอื่นๆ ,การให้คำา ปรึกษา,การเยี่ยมบ้าน,ค่าบริการต่างๆ ฯลฯสิ่งเหล่านี้  ไม่ใช่การทำาหัตถการ แนวทางการให้รหัสหัตถการ
  • 49. 4.)หัตถการงานสร้างเสริมสุขภาพ เช่น  มาฉีด วัคซีน,ฉีดยาคุมกำาเนิด  จะมีหัตถการฉีดยา (หยอดยาโปลิโอไม่ถือว่าเป็นหัตถการ), หัตถการใส่ห่วงอนามัย  เป็นต้น 5.)   หัตถการแพทย์แผนไทย ผู้ที่จะทำาหัตถการ แพทย์แผนไทยต้องเป็นผู้ผ่านการอบรมหรือจบ หลักสูตรทางด้าน แพทย์แผนไทยโดยเฉพาะ  ดังนั้น  การลงรหัสหัตถการแพทย์แผนไทย ทุก ครั้ง จะต้องระบุเลขบัตรประจำาตัว ประชาชน(13หลัก) ของผู้ให้บริการแพทย์แผน ไทยด้วยทุกครั้ง การให้รหัสหัตถการแพทย์แผนไทย ต้องอิงตาม ศูนย์รหัสมาตรฐานกลางเว็บ http://thcc.or.th แนวทางการให้รหัสหัตถการ
  • 50. 6.)    หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและ กายภาพบำาบัด ผู้ที่จะให้บริการ จะต้อง เป็นนักกายภาพบำาบัดเท่านั้น รหัส หัตถการเพื่อการฟื้นฟูสภาพและ กายภาพบำาบัด ให้อ้างอิงตาม ICD9CM และ ICD10TM การลงรหัสหัตถการ เพื่อการฟื้นฟูสภาพและกายภาพบำาบัด ทุกครั้ง จะต้องระบุเลขบัตร ประจำาตัว ประชาชน(13หลัก) ของนัก กายภาพบำาบัด ที่ให้บริการด้วยทุกครั้ง แนวทางการให้รหัสหัตถการ
  • 54. ICD1 0T M ICD-10-TM หัตถการ 238 72 14 Gross pulpal debridement, -permanent การกำาจัดโพรงประสาทฟันออก อย่างคร่าวๆ (ฟันแท้) 237 72 11 Gross pulpal debridement, -primary การกำาจัดโพรงประสาทฟันออก อย่างคร่าวๆ (ฟันนำ้านม) 238 71 S6 Enamel microabrasion การขัดผิวเคลือบฟัน(enamel abrasion) 237 70 10 Prophylaxis-child การขูดและขัดฟันในเด็ก ตัวอย่างรหัสหัตการ งาน ทันตกรรม
  • 55. รหัส ICD10 กลุ่ม Z ที่เป็นการให้บริการ OP และ PP
  • 56. กิจกรรม / การวินิจฉัย รหัส ICD 10 การประเมินพัฒนาการในเด็ก (ตามแนวทางของกรมอนามัย) Z 001 Pre DM (ค่า FBS ระหว่าง 100 -125 mg/dl หรือ Postpandial blood glucose ระหว่าง 140-199 mg/dl ) R 730 / R731 / R739 Pre HT (Pre HT คือค่า Systolic BP ระหว่าง 120- 139 mmHg หรือ Diastolic BP ระหว่าง 80-89 mmHg ) R 030 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Z 713 แนวทางการรายงานข้อมูลบริการ P&P ใน แฟ้ม OP ปีงบประมาณ 2556

Editor's Notes

  1. * 07/16/96 * ##
  2. เสนอรวม 1.1 + 1.2 + 1.3