SlideShare a Scribd company logo
ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
สานักงาน : ตึก สูติกรรม ชั้น 1 และ ชั้น 5 โทรศัพท์ สายใน 4114, 4552, 3422 ต่อ 101-109
โทรสาร 02-256-4401
ระเบียบการในการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่ วยใน ในใบ Summary
สถิติผู้ป่วยในของโรงพยาบาล ได้รวบรวมข้อมูลจากประวัติผู้ป่วยในที่จาหน่ายออก จาก
โรงพยาบาล รวมทั้งผู้ป่วยถึงแก่กรรมในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยใน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ผู้ป่วยทั่วไปและผู้ป่วยคลอดบุตร
ความหมายของคาที่ใช้
ผู้ป่ วยใน หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์รับไว้เพื่อให้การรักษาในโรงพยาบาล โดยลง ทะเบียนเป็น
ผู้ป่วยใน
ผู้ป่ วยทั่วไป หมายถึง ผู้ป่ วยของฝ่ ายอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ และ
นรีเวชวิทยา จักษุวิทยา โสต ศอ นาสิกวิทยา รังสีวิทยา ออร์โธปิ ดิกส์ และจิตเวช *ยกเว้นผู้ป่ วย
คลอดบุตร
ผู้ป่ วยคลอดบุตร หมายถึง ผู้ป่วยสูติกรรมที่รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อคลอดบุตร
ทารกแรกคลอด หมายถึง ทารกที่มารดาคลอดในโรงพยาบาล หรือคลอดในระหว่างเดินทางมา
โรงพยาบาล ทั้งทารกที่เกิดมีชีวิตและทารกตายคลอด (stillbirth)
ทารกแรกคลอดปกติ (normal infant) หมายถึง ทารกเกิดมีชีวิตที่แพทย์ตรวจไม่พบสิ่ง
ผิดปกติและไม่ได้เจ็บป่วย
ทารกแรกคลอดผิดปกติ (abnormal infant) หมายถึง ทารกเกิดมีชีวิตที่แพทย์ตรวจพบความ
ผิดปกติหรือมีการเจ็บป่วย หรือตายในขณะที่อยู่ในโรงพยาบาลและทารกที่คลอดก่อนครบกาหนด
ทารกตายคลอด (stillbirth) หมายถึง ทารกที่คลอดจากครรภ์มารดาที่ตั้งครรภ์
ตั้งแต่ 22 สัปดาห์ หรือน้าหนักตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไป และไม่มีชีวิต
ผู้ป่ วยถึงแก่กรรม หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์รับไว้เพื่อให้การรักษาในโรงพยาบาลและถึงแก่
กรรมในขณะที่พักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล
ที่อยู่ หมายถึง ที่อยู่ปัจจุบันของผู้ป่วยตามที่แจ้งไว้กับศูนย์บรรจุผู้ป่วย
รหัสโรค ใช้รหัสโรคจากหนังสือ International Statistical Classification of Diseases and
Related Health Problems (ICD 10) ขององค์การอนามัยโลก และรหัสหัตถการ ICD – 9 CM
จานวนวันที่อยู่ในโรงพยาบาล (length of stay) หมายถึง จานวนวันที่ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่ใน
โรงพยาบาล นับตั้งแต่วันที่รับไว้แต่ไม่นับวันจาหน่าย แต่ในกรณีที่รับผู้ป่วยไว้และจาหน่ายในวันเดียวกันให้
นับเป็น 1 วัน
การจาหน่าย หมายถึง การที่แพทย์อนุญาตให้ผู้ป่วยในออกจากโรงพยาบาล รวมทั้งการที่
ผู้ป่วยถึงแก่กรรมในโรงพยาบาล
เมื่อแพทย์จาหน่ายผู้ป่ วย หรือกรณีผู้ป่ วยถึงแก่กรรมแล้ว แพทย์ผู้รักษาต้องทาการ
ลงรหัสการวินิจฉัยโรคและหัตถการในคอมพิวเตอร์ระบบ On - Line ตามแบบฟอร์มเวชระเบียน
ให้ครบทุกประการ
การสรุปเวชระเบียนผู้ป่ วยใน เมื่อจาหน่ายผู้ป่ วยแล้ว
แพทย์จะต้องทาการบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้
1. Principal Diagnosis ตามหนังสือ ICD –10
2. Comorbidity
3. Complications
4. Other Diagnosis
5. ถ้าผู้ป่วยมีการทาหัตถการ ให้บันทึกการทาหัตการนั้นๆ ตามหนังสือ ICD-9 CM
6. ในกรณีผู้ป่วยถึงแก่กรรม จะต้องระบุสาเหตุการตายทุกราย
7. กรณีผู้ป่วยจากการบาดเจ็บ (กลุ่มรหัส S,T) จะต้องบันทึกสาเหตุการได้รับบาดเจ็บตาม ICD-10 ใน
หมวด External Cause of Morbidity and mortality เสมอ
เวชระเบียนคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร
เวชระเบียน คือ บันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงข้อมูลของผู้ป่วย และกระบวนการดูแลผู้ป่วย
ตั้งแต่แรกรับจนสิ้นสุดการรักษา
ประโยชน์ของเวชระเบียน
1. เป็นสื่อในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ของผู้ให้บริการหลายคน และหลายอาชีพ
2. เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล
3. เป็นหลักฐานทางกฎหมาย
การนาข้อมูลจากเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์
1. ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล การวางแผน การจัดสรรทรัพยากร และการ
กาหนดอัตราค่าบริการของโรงพยาบาล
2. ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุข ที่จะนาไปสู่การวางแผนสาธารณสุข การจัดสรรด้านการเงิน
ทรัพยากร และการปรับปรุงระบบสาธารณสุขของประเทศ
ข้อมูลจากเวชระเบียน ที่ถูกต้อง ครบถ้วน จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ คือ
1. การให้รหัส การบันทึกรหัส และการนาไปทาสถิติต่าง มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
2. เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในประเภทผู้ป่วยเงินเชื่อ
เวชระเบียนไม่มีคุณภาพ
ลักษณะเวชระเบียนที่ไม่มีคุณภาพ
1. ไม่มีการบันทึกข้อมูลที่สาคัญ
2. บันทึกข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์ ไม่ตอบสนองความต้องการของทีมดูแลผู้ป่วย
3. แบบฟอร์มไม่ได้มาตรฐาน
4. ไม่มีลายเซ็นแพทย์
5. อ่านลายมือผู้บันทึกไม่ออก
6. ใช้คาย่อไม่มาตรฐาน
ระเบียบการให้บริการและยืมเวชระเบียนผู้ป่ วยใน
กองโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
สภากาชาดไทย
บันทึกข้อความ
ปึก เรื่อง ฉบับ
ฝ่ ายเวชระเบียนและสถิติ วันที่ เดือน พ.ศ. ..
เรื่อง ข้อปฏิบัติในการยืมเวชระเบียนผู้ป่วยใน
ความเห็นเจ้าหน้าที่
เรียน ผู้รับบริการเวชระเบียนผู้ป่วยใน
เนื่องจากข้อมูลในเวชระเบียน เป็ นความลับส่วนตัวของผู้ป่ วยแต่ละคน ดังนั้น เมื่อท่านยืม
เวชระเบียนผู้ป่ วยใน ในรูปแผ่น CD ไปเพื่อการรักษาต่อเนื่องที่หอผู้ป่ วย หรือเพื่อการศึกษาวิจัยทางการแพทย์
ท่านจะต้องรักษาความลับของผู้ป่ วย ต้องไม่นาข้อมูลในเวชระเบียนไปเผยแพร่ในลักษณะที่เปิ ดเผยตัวบุคคล
หรือเปิ ดเผยเลขรหัสใดๆ ที่สามารถสืบสาวไปถึงตัวผู้ป่ วยได้ และท่านจะต้องดูแลรักษาเวชระเบียนในแผ่น CD
ให้อยู่ในสภาพเดิมก่อนส่งคืน
ในกรณีที่ท่านได้ข้อมูลในรูป CD จะต้องปฏิบัติดังนี้
1. กรณีที่ไม่ใช้ข้อมูลในแผ่น CD แล้วต้องทาลายแผ่น CD นั้นทิ้ง
2. กรณีต้องการเก็บแผ่น CD ไว้จะต้องเก็บแผ่น CD ดังกล่าวไว้ในที่ปลอดภัย
3. กรณีข้อมูลในแผ่น CD ดังกล่าว ไปปรากฏที่อื่นๆ ท่านจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย
4. หากผู้ป่วยกลับบ้านขอให้นาแผ่น CD ส่งคืนฝ่ายเวชระเบียนและสถิติ
(นางสาวปราณี พิทยวรนารถ)
หัวหน้าฝ่ายเวชระเบียนและสถิติ
รับทราบ
ลงชื่อ..........................................................................
โปรดเขียนตัวบรรจง (..............................................................................)
วันที่............เดือน................................พ.ศ.......................
รหัสแพทย์.....................สังกัดหน่วยงานสาชาวิชา (หน่วย)..............................ฝ่าย..................................
บัตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ หรือบัตรประชาชนหมายเลข.................................................
หมดอายุวันที่..........................................................
แบบฟอร์มการยืมเวชระเบียนผู้ป่ วยใน
ชื่อผู้ยืม ...................................................................................
ตาแหน่ง .........................................................................................................รหัสแพทย์.....................................
ตึก/ฝ่ าย....................................................................................โทรศัพท์................................................................
ชื่อโรค........................................................................ รหัสโรค................................................................................
ปี พ.ศ. .............................................................................
ชื่อ-สกุล ผู้ป่วย เลขที่ภายนอก เลขที่ภายใน ระยะเวลาที่ค้นพบ
“เวชระเบียนผู้ป่ วยใน ถือเป็นความลับของผู้ป่ วย ห้ามเปิดเผย”
ชื่อผู้รับมอบฉันทะ................................................ตึก / ฝ่าย...........................................โทรศัพท์...........................
ลงชื่อ....................................................................................................รหัสแพทย์................................................
(ตัวบรรจง) (....................................................................................)
รวมจานวนเวชระเบียนที่ยืม........... .เล่ม วันที่................เดือน...................................พ.ศ......................
ลงชื่อ.............................................................................. ผู้ขอรับบริการ
ชื่อผู้รับแผ่น CD …………………………………………วันที่................เดือน.............................พ.ศ..................
รับแบบฟอร์มวันที่.................................เวลา................
พบเวชระเบียนวันที่...............................เวลา................
ส่งสแกนเวชระเบียน.............................เวลา.................
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน

More Related Content

What's hot

SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
Utai Sukviwatsirikul
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
Sakarin Habusaya
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
piyarat wongnai
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
noppadolbunnum
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
mutod
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 

What's hot (20)

SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
 
22
2222
22
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 

Similar to 2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน

6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
Suthee Saritsiri
 
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
Suthee Saritsiri
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
Wanchana Pontongmak
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
Proparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionProparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infection
klanarong ratidech
 
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 

Similar to 2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน (20)

4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
KMทันตกรรมกับงานเวชระเบียน
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
Proparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionProparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infection
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
IT and Data Management in ER
IT and Data Management in ERIT and Data Management in ER
IT and Data Management in ER
 

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา9.ภาควิชารังสิวิทยา

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (20)

6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 
9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา
 

2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน

  • 1. ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน สานักงาน : ตึก สูติกรรม ชั้น 1 และ ชั้น 5 โทรศัพท์ สายใน 4114, 4552, 3422 ต่อ 101-109 โทรสาร 02-256-4401 ระเบียบการในการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่ วยใน ในใบ Summary สถิติผู้ป่วยในของโรงพยาบาล ได้รวบรวมข้อมูลจากประวัติผู้ป่วยในที่จาหน่ายออก จาก โรงพยาบาล รวมทั้งผู้ป่วยถึงแก่กรรมในโรงพยาบาล ผู้ป่วยใน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ผู้ป่วยทั่วไปและผู้ป่วยคลอดบุตร ความหมายของคาที่ใช้ ผู้ป่ วยใน หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์รับไว้เพื่อให้การรักษาในโรงพยาบาล โดยลง ทะเบียนเป็น ผู้ป่วยใน ผู้ป่ วยทั่วไป หมายถึง ผู้ป่ วยของฝ่ ายอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ และ นรีเวชวิทยา จักษุวิทยา โสต ศอ นาสิกวิทยา รังสีวิทยา ออร์โธปิ ดิกส์ และจิตเวช *ยกเว้นผู้ป่ วย คลอดบุตร ผู้ป่ วยคลอดบุตร หมายถึง ผู้ป่วยสูติกรรมที่รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อคลอดบุตร ทารกแรกคลอด หมายถึง ทารกที่มารดาคลอดในโรงพยาบาล หรือคลอดในระหว่างเดินทางมา โรงพยาบาล ทั้งทารกที่เกิดมีชีวิตและทารกตายคลอด (stillbirth) ทารกแรกคลอดปกติ (normal infant) หมายถึง ทารกเกิดมีชีวิตที่แพทย์ตรวจไม่พบสิ่ง ผิดปกติและไม่ได้เจ็บป่วย ทารกแรกคลอดผิดปกติ (abnormal infant) หมายถึง ทารกเกิดมีชีวิตที่แพทย์ตรวจพบความ ผิดปกติหรือมีการเจ็บป่วย หรือตายในขณะที่อยู่ในโรงพยาบาลและทารกที่คลอดก่อนครบกาหนด ทารกตายคลอด (stillbirth) หมายถึง ทารกที่คลอดจากครรภ์มารดาที่ตั้งครรภ์ ตั้งแต่ 22 สัปดาห์ หรือน้าหนักตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไป และไม่มีชีวิต ผู้ป่ วยถึงแก่กรรม หมายถึง ผู้ป่วยที่แพทย์รับไว้เพื่อให้การรักษาในโรงพยาบาลและถึงแก่ กรรมในขณะที่พักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล ที่อยู่ หมายถึง ที่อยู่ปัจจุบันของผู้ป่วยตามที่แจ้งไว้กับศูนย์บรรจุผู้ป่วย
  • 2. รหัสโรค ใช้รหัสโรคจากหนังสือ International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems (ICD 10) ขององค์การอนามัยโลก และรหัสหัตถการ ICD – 9 CM จานวนวันที่อยู่ในโรงพยาบาล (length of stay) หมายถึง จานวนวันที่ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่ใน โรงพยาบาล นับตั้งแต่วันที่รับไว้แต่ไม่นับวันจาหน่าย แต่ในกรณีที่รับผู้ป่วยไว้และจาหน่ายในวันเดียวกันให้ นับเป็น 1 วัน การจาหน่าย หมายถึง การที่แพทย์อนุญาตให้ผู้ป่วยในออกจากโรงพยาบาล รวมทั้งการที่ ผู้ป่วยถึงแก่กรรมในโรงพยาบาล เมื่อแพทย์จาหน่ายผู้ป่ วย หรือกรณีผู้ป่ วยถึงแก่กรรมแล้ว แพทย์ผู้รักษาต้องทาการ ลงรหัสการวินิจฉัยโรคและหัตถการในคอมพิวเตอร์ระบบ On - Line ตามแบบฟอร์มเวชระเบียน ให้ครบทุกประการ การสรุปเวชระเบียนผู้ป่ วยใน เมื่อจาหน่ายผู้ป่ วยแล้ว แพทย์จะต้องทาการบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้ 1. Principal Diagnosis ตามหนังสือ ICD –10 2. Comorbidity 3. Complications 4. Other Diagnosis 5. ถ้าผู้ป่วยมีการทาหัตถการ ให้บันทึกการทาหัตการนั้นๆ ตามหนังสือ ICD-9 CM 6. ในกรณีผู้ป่วยถึงแก่กรรม จะต้องระบุสาเหตุการตายทุกราย 7. กรณีผู้ป่วยจากการบาดเจ็บ (กลุ่มรหัส S,T) จะต้องบันทึกสาเหตุการได้รับบาดเจ็บตาม ICD-10 ใน หมวด External Cause of Morbidity and mortality เสมอ เวชระเบียนคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร เวชระเบียน คือ บันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงข้อมูลของผู้ป่วย และกระบวนการดูแลผู้ป่วย ตั้งแต่แรกรับจนสิ้นสุดการรักษา ประโยชน์ของเวชระเบียน 1. เป็นสื่อในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ของผู้ให้บริการหลายคน และหลายอาชีพ 2. เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล 3. เป็นหลักฐานทางกฎหมาย
  • 3. การนาข้อมูลจากเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ 1. ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล การวางแผน การจัดสรรทรัพยากร และการ กาหนดอัตราค่าบริการของโรงพยาบาล 2. ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุข ที่จะนาไปสู่การวางแผนสาธารณสุข การจัดสรรด้านการเงิน ทรัพยากร และการปรับปรุงระบบสาธารณสุขของประเทศ ข้อมูลจากเวชระเบียน ที่ถูกต้อง ครบถ้วน จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ คือ 1. การให้รหัส การบันทึกรหัส และการนาไปทาสถิติต่าง มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ 2. เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในประเภทผู้ป่วยเงินเชื่อ เวชระเบียนไม่มีคุณภาพ ลักษณะเวชระเบียนที่ไม่มีคุณภาพ 1. ไม่มีการบันทึกข้อมูลที่สาคัญ 2. บันทึกข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์ ไม่ตอบสนองความต้องการของทีมดูแลผู้ป่วย 3. แบบฟอร์มไม่ได้มาตรฐาน 4. ไม่มีลายเซ็นแพทย์ 5. อ่านลายมือผู้บันทึกไม่ออก 6. ใช้คาย่อไม่มาตรฐาน ระเบียบการให้บริการและยืมเวชระเบียนผู้ป่ วยใน
  • 4.
  • 5.
  • 6. กองโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สภากาชาดไทย บันทึกข้อความ ปึก เรื่อง ฉบับ ฝ่ ายเวชระเบียนและสถิติ วันที่ เดือน พ.ศ. .. เรื่อง ข้อปฏิบัติในการยืมเวชระเบียนผู้ป่วยใน ความเห็นเจ้าหน้าที่ เรียน ผู้รับบริการเวชระเบียนผู้ป่วยใน เนื่องจากข้อมูลในเวชระเบียน เป็ นความลับส่วนตัวของผู้ป่ วยแต่ละคน ดังนั้น เมื่อท่านยืม เวชระเบียนผู้ป่ วยใน ในรูปแผ่น CD ไปเพื่อการรักษาต่อเนื่องที่หอผู้ป่ วย หรือเพื่อการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ ท่านจะต้องรักษาความลับของผู้ป่ วย ต้องไม่นาข้อมูลในเวชระเบียนไปเผยแพร่ในลักษณะที่เปิ ดเผยตัวบุคคล หรือเปิ ดเผยเลขรหัสใดๆ ที่สามารถสืบสาวไปถึงตัวผู้ป่ วยได้ และท่านจะต้องดูแลรักษาเวชระเบียนในแผ่น CD ให้อยู่ในสภาพเดิมก่อนส่งคืน ในกรณีที่ท่านได้ข้อมูลในรูป CD จะต้องปฏิบัติดังนี้ 1. กรณีที่ไม่ใช้ข้อมูลในแผ่น CD แล้วต้องทาลายแผ่น CD นั้นทิ้ง 2. กรณีต้องการเก็บแผ่น CD ไว้จะต้องเก็บแผ่น CD ดังกล่าวไว้ในที่ปลอดภัย 3. กรณีข้อมูลในแผ่น CD ดังกล่าว ไปปรากฏที่อื่นๆ ท่านจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย 4. หากผู้ป่วยกลับบ้านขอให้นาแผ่น CD ส่งคืนฝ่ายเวชระเบียนและสถิติ (นางสาวปราณี พิทยวรนารถ) หัวหน้าฝ่ายเวชระเบียนและสถิติ รับทราบ ลงชื่อ.......................................................................... โปรดเขียนตัวบรรจง (..............................................................................) วันที่............เดือน................................พ.ศ....................... รหัสแพทย์.....................สังกัดหน่วยงานสาชาวิชา (หน่วย)..............................ฝ่าย.................................. บัตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ หรือบัตรประชาชนหมายเลข................................................. หมดอายุวันที่..........................................................
  • 7. แบบฟอร์มการยืมเวชระเบียนผู้ป่ วยใน ชื่อผู้ยืม ................................................................................... ตาแหน่ง .........................................................................................................รหัสแพทย์..................................... ตึก/ฝ่ าย....................................................................................โทรศัพท์................................................................ ชื่อโรค........................................................................ รหัสโรค................................................................................ ปี พ.ศ. ............................................................................. ชื่อ-สกุล ผู้ป่วย เลขที่ภายนอก เลขที่ภายใน ระยะเวลาที่ค้นพบ “เวชระเบียนผู้ป่ วยใน ถือเป็นความลับของผู้ป่ วย ห้ามเปิดเผย” ชื่อผู้รับมอบฉันทะ................................................ตึก / ฝ่าย...........................................โทรศัพท์........................... ลงชื่อ....................................................................................................รหัสแพทย์................................................ (ตัวบรรจง) (....................................................................................) รวมจานวนเวชระเบียนที่ยืม........... .เล่ม วันที่................เดือน...................................พ.ศ...................... ลงชื่อ.............................................................................. ผู้ขอรับบริการ ชื่อผู้รับแผ่น CD …………………………………………วันที่................เดือน.............................พ.ศ.................. รับแบบฟอร์มวันที่.................................เวลา................ พบเวชระเบียนวันที่...............................เวลา................ ส่งสแกนเวชระเบียน.............................เวลา.................