SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
Download to read offline
หน้าที ๑
พระราชดําริของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก
เรื่อง การศึกษา
๑. การศึกษา เปนงานที่มี “คน” เปนหัวใจ หรือปจจัยสําคัญ การจัดการศึกษาจึง
ตองเนนคุณคาของความเปนคน ใหเปนคนกอนที่จะเขาสูอาชีพ ซึ่งจะทําใหเขา
ผูนั้น “ดี” ในดานอาชีพตามมา ดวยผานการศึกษาอาชีพที่จัดไวอยางดีแลว
๒. ในการสอนคนตองสอนดวยคนเปนหลัก ประสบการณเปนสําคัญ และ
เครื่องมือเปนสวนประกอบ เพราะคนเปนแบบอยาง เปนครูที่ดีที่สุด
๓. การศึกษาสิ่งใดๆก็ตาม จะตองศึกษาใหรูจริงถึงแกนแท ดวยการฝกหัดและ
ปฏิบัติ จึงจะถือวาเปนการศึกษาที่แทจริง
๔. การจัดการศึกษาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นตอเนื่องกันอยูตลอดเวลา จะตองวางรากฐาน
ใหดี ถารากฐานดีแลว จะมีผลดีตอการดําเนินการในขั้นตอๆไปดวย
หน้าที ๒
รายนามคณะกรรมการบริหาร ปอมท. ป พ.ศ. ๒๕๕๑
ที่ปรึกษา ปอมท. ดร.สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ผอ.สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.)
ศ.ดร. อานนท บุณยรัตเวช เลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติ
รศ.ดร. คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ศ.อมร จันทรสมบูรณ อดีตเลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา
คุณ ณรงค โชควัฒนา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ
คุณโสภณ สุภาพงษ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ
ประธาน ปอมท. (๒๙) รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร
ประธาน ปอมท. (๓๐) ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว.
รองประธานปอมท.คนที่ ๑ รศ.มัลลิกา คณานุรักษ ประธานสภาอาจารย ม.สงขลานครินทร (ปตตานี)
รองประธานปอมท.คนที่ ๒ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ประธานสภาอาจารย ม.ธรรมศาสตร
เลขาธิการ ปอมท. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง รองประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มจพ.
รองเลขาธิการ ปอมท. อ.ประสิทธิ์ บุญไทย รองประธานสภาคณาจารย ม.รามคําแหง
ผอ. ฝายประชาสัมพันธ ผศ.วันชัย ลีลากวีวงศ ประธานสภาคณาจารย ม.ศิลปากร
ผอ.ฝายวิเคราะหนโยบายฯ รศ.ดร.พอพันธ วัชจิตพันธ ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผอ.ฝายการเงิน รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ ประธานสภาคณาจารย ม.แมโจ
ผอ.ฝายการกิจการสังคม ผศ.เจริญ คุวินทรพันธุ ประธานสภาคณาจารย นิดา
ผอ.ฝายสวัสดิการ ผศ.ดร.จุฑามาศ จิตตเจริญ ประธานสภาอาจารย ม.อุบลราชธานี
ผอ.ฝายวิชาการ อ.พงศทิพย อินทรแกว ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน สจล.
ผอ. ฝายกิจการพิเศษ อ.ชัยนรินท จันทวงษโส ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มจธ.
ผอ.ฝายพัฒนาบุคลากรฯ ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ ประธานสภาพนักงาน ม.เชียงใหม
เลขานุการ ปอมท นางกองเพ็ชร สุนทรภักดิ์ หัวหนางานสภาคณาจารยและพนักงาน มจพ.
ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาว ทิพากร ดิษโต เจาหนาที่งานสภาอาจารย ม.นเรศวร
ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาวกรองแกว เรืองพุม เจาหนาที่งานสภาคณาจารยและพนักงาน มจพ.
ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นายยุทธศาสตร อิสระวงศสกุล เจาหนาที่งานสภาคณาจารย ม.รามคําแหง
หน้าที ๓
รายนามประธานสภาฯ ป พ.ศ. ๒๕๕๑
รศ.ดร. พอพันธ วัชจิตพันธ ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผศ.ดร. นพพร ลีปรีชานนท ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รศ.ดร. กัมปนาท ภักดีกุล ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ. ปฐม ปฐมธนพงศ ประธานสภาพนักงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ผศ. วิโรจน เวชชะ ประธานสภาขาราชการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ผศ.ดร. ประสิทธิ์ โนรี ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยแมโจ
ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผศ. วันชัย ลีลากวีวงศ ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยศิลปากร
รศ.ดร. ธงชัย สมบูรณ ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ผศ. พรรณวดี ตันติศิรินทร ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยขอนแกน
รศ. ชัยพร วงศพิศาล ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน (ครบวาระ ก.ค. ๕๑)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ
รศ. ธานินทร ศิลปจารุ ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ
อาจารย พงศทิพย อินทรแกว ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหาร ลาดกระบัง
อาจารย ชัยนรินทร จันทวงษโส ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน (ครบวาระ พ.ค. ๕๑)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี
รศ. อดิศักดิ์ พงษพูลผลศักดิ์ ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี
ผศ. เจริญ คุวินทรพันธ ประธานสภาคณาจารย (ครบวาระ มิ.ย. ๕๑)
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
รศ.ดร. พาชิตชนัต ศิริพานิช ประธานสภาคณาจารย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
อาจารย วีระพันธุ มุสิกสาร ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ
รศ. มัลลิกา คณานุรักษ ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี
(ครบวาระ ก.ย. ๕๑)
อาจารย พงศศักดิ์ ศรีพงศพันธุ ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี
รศ. อัฌชา ก.บัวเกษร ประธานสภาพนักงาน มหาวิทยาลัยบูรพา
รศ.ดร. วิทยา จันทรศิลา ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผศ. สุดสาคร สิงหทอง ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยทักษิณ
ผศ.ดร.จุฑามาศ จิตตเจริญ ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
อาจารย ดร. ศุภพงษ ปนเวหา ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อาจารย เรืองชัย วงษอุระ ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยนครพนม (ครบวาระ พ.ค. ๕๑)
อาจารย สุรพงษ ทุมประเสน ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยนครพนม
หน้าที ๔
สารจากประธาน ปอมท. ทานที่ ๒๙
องคกรที่มีนามวา”ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัย
แหงประเทศไทย(ปอมท.)” เปนองคกรที่มีบทบาทสําคัญอยางมากตอ
คณาจารยในมหาวิทยาลัยกลาวคือ เปนแหลงขอมูล แหลงการแลกเปลี่ยน
เรียนรูในดานตางๆทั้งวิชาการและทั่วไป เปนผูพิทักษสิทธิผลประโยชนของ
คณาจารยและอีกหลายบทบาท ซึ่งอาชีพอาจารยมีความเจริญกาวหนามาชา
นานก็ตองยอมรับวา ปอมท. เขามามีสวนรวมสงเสริมและสนับสนุนใหอาชีพ
นี้มีความกาวหนา มีเกียรติและมีความมั่นคงจนทุกวันนี้
คณะกรรมการ ปอมท.เปนคณะบุคคลที่มีความรู ความสามารถ ความเสียสละและความ
ตั้งใจในการประชุมเพื่อระดมความคิด หรือทํากิจกรรมที่เกี่ยวของเพื่อใหคณาจารยในมหาวิทยาลัยทั้งมวล
ไดรับผลประโยชนรวมกันโดยมิไดคํานึงถึงผลประโยชนของสถาบันหรือมหาวิทยาลัยแหงใดแหงหนึ่งเปนหลัก
ดังนั้นองคกรนี้จึงไดรับการยกยองและยอมรับอยางกวางดวยดีตลอดมา
ดิฉันมีความภาคภูมิใจที่ไดมีโอกาสเขามาเปนสวนหนึ่งของคณะกรรมการ ปอมท. ชุดนี้ ซึ่งมี
การจัดกิจกรรมหลากหลายที่สงเสริมใหเกิดการพัฒนาศักยภาพของทั้งคณะกรรมการ ปอมท. และบุคลากรที่
เกี่ยวของในมหาวิทยาลัย ทําใหพบเพื่อนที่ดีรวมอาชีพจากมหาวิทยาลัยตางๆ รวมทั้งทําใหเกิดการเรียนรูใน
ศาสตรอื่นอยางมาก อาทิเชนนิติศาสตรและรัฐศาสตร เปนตน ดังนั้นดิฉันจึงอยากให ปอมท. เปนองคกรที่ยืน
ยงคงอยูคูกับสถาบัน/มหาวิทยาลัยตราบนานเทานาน
รองศาสตราจารย ดร.รัตนา สนั่นเมือง
(ประธานที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย)
หน้าที ๕
สารจากประธาน ปอมท. ทานที่ ๓๐
ผมไดมีโอกาสทําหนาที่ประธาน ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัย
แหงประเทศไทย (ปอมท.) ในชวงระยะเวลาสั้น ๆ เพียง ๖ เดือน (กรกฎาคม – ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๑) มีเวลาทํางานที่จํากัด มีความคิดในการทํางานอีกบางประการ ที่ยังไมมี
โอกาสนําเสนอเพื่อใหเพื่อนสมาชิกไดชวยกันพิจารณาและดําเนินการ อยางไรก็ตาม
งานของ ปอมท. เปนการทํางานในลักษณะของคณะกรรมการ เปนทีมงานที่มี
ความตอเนื่อง ถึงแมวาจะมีการเปลี่ยนแปลงบุคคลที่รับผิดชอบเขามาทํางาน ดังนั้น
ดวยความผูกพันของผมที่มีตอองคกร จึงใครขอฝากแนวคิดบางประการไวใหเพื่อนสมาชิกที่ยังคงมีโอกาสทํางาน
กันตอไปใน ปอมท. ไดพิจารณา แนวคิดใดทานมีความเห็นสอดคลองก็โปรดไดชวยกันขับเคลื่อนดําเนินการเพื่อ
ผลสัมฤทธิ์ตอไป
ประการแรก ปอมท. เปนองคกรที่สรางโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเพื่อนสมาชิก เปนองคกรทางปญญา
หาก ปอมท. ไดนําหลักเกณฑ เครื่องมือ ตัวแบบขององคกรแหงการเรียนรูมาใชอยางเปนระบบ ผมเชื่อวา
ผลสัมฤทธิ์ของงานจะเกิดประสิทธิภาพและมีคุณคายิ่ง
ประการที่สอง บทบาทหนาที่ของ ปอมท. ควรจะเปดกวางสามารถคิดและสรางงานที่เกิดประโยชนตอสังคมได
เพื่อใหสอดคลองกับพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา พึงดําเนินการ
ประการที่สาม การทํางานของ ปอมท. จะมีความตอเนื่อง การดําเนินงานเปนไปอยางรวดเร็ว ทันการณ มี
ประสิทธิภาพ และบังเกิดผลเชิงสัมฤทธิ์ ปจจัยสําคัญคือการที่ ปอมท. มีแนวทาง กรอบความคิดในการทํางานที่
ชัดเจน ดังนั้น ปอมท. จะตองมีธรรมนูญขอบังคับที่มีไวเปนตัวแบบขององคกรที่จะใชเปนแนวทางในการ
ดําเนินงาน
ประการที่สี่ ผมอยากจะเห็น ปอมท. ไดเปนผูนําในการสรางเครือขายขององคกรตัวแทน ในปจจุบันไดมีมหาวิทยาลัย
เกิดขึ้นจํานวนมาก ไมวาจะเปนกลุมมหาวิทยาลัยราชภัฎ หรือมหาวิทยาลัยราชมงคล และแตละมหาวิทยาลัยได
มีสภาคณาจารยของตัวเอง การสรางเครือขายกับมหาวิทยาลัยเหลานี้ ยอมทําใหเกิดความรวมมือที่ขยายวงกวาง
ขึ้น ยอมสงผลใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาดานอุดมศึกษามากขึ้น
แนวความคิดทั้งสี่ประการขางตน เปนแนวความคิดที่เกิดขึ้นจากการที่ไดมีโอกาสเขามาทํางานใน ปอมท.
ไดเรียนรูจากขอเท็จจริงและประสบการณในการทํางาน เพื่อนสมาชิกเห็นพองในแนวคิดใด ก็ขอไดโปรดชวยกัน
ขับเคลื่อนดําเนินงาน แตถาเพื่อนสมาชิกมีความคิดเห็นเปนอยางอื่น ผมเองขอเรียนวาผมเคารพความคิดเห็นของ
ทุกทาน ทายสุดนี้ ผมเองตองขอขอบคุณเพื่อนสมาชิกทุกทานที่ไดใหการสนับสนุน และรวมมือการทํางาน
ดวยกันมาตลอดระยะเวลาที่ผมไดมีโอกาสทํางานในฐานะสมาชิกคนหนึ่งและในฐานะประธาน ปอมท.
ดวยความรักและนับถือ
(ดร.ไชยา กุฎาคาร)
หน้าที ๖
เลขาธิการ แถลง
หนังสือสรุปผลการดําเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท) เลมนี้
ถูกจัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมผลการดําเนินระหวางวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๐ ถึง ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๑ ซึ่งมี ประธาน ปอมท.
สองทาน คือ รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง และ ดร.ไชยา กุฎาคาร เปนผูบริหารการดําเนินงานของ ที่ประชุม ปอมท. ในหวง
ระยะเวลาดังกลาว ไดมีการดําเนินกิจกรรมมากมายในระหวางรอบปที่ผานมา อาทิ การจัดการประชุมสมัยสามัญ การจัด
ประชุมวิสามัญ การดําเนินการคัดเลือกอาจารยดีเดนแหงชาติ การพัฒนาคุณภาพสมาชิก ปอมท. การเดินทางไปศึกษาดู
งานดานกลไกธรรมาภิบาล ในอุดมศึกษาของประเทศออสเตรเลีย การจัดสัมมนาวิชาการ “กอบกูสังคมดวยอุดม ศึกษา”
ในวันที่ ๑ – ๒ กันยายน ๒๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยรามคําแหง การจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเจาหนาที่งานสภา
คณาจารย ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ตลอดไปจนถึงการรวมกับเครือขายทางปญญาในสังคมกลุมอื่นๆ แสวงหา
ทางออกในการแกไขวิกฤตการณตางๆ นานา ในบานเมือง
กิจกรรมทั้งหลายทั้งปวงที่ไดกลาวมานี้ สําเร็จลุลวงลงไดดวยดี ลวนตองอาศัยความรวมไมรวมมือจากทุกภาค
สวนที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนบรรดาประธาน สภาฯ ทั้งหลายที่มารวมกันเปนที่ประชุม ปอมท. กรรมการบริหารที่เปนหัว
จักรสําคัญในการผลักดันใหมติและ แนวนโยบายของที่ประชุมไดรับการปฏิบัติใหเห็นผลไดในทางรูปธรรม เจาหนาที่งานสภา
ฯ ทุกทาน มหาวิทยาลัยอันเปนตนสังกัดของบุคคลเหลานั้น ตลอดไปจนถึงบรรดาบุคลากรอื่นๆ ในสังคม อันไดแก
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือขายของที่ประชุมอธิการบดีฯ เครือขายสภาคณาจารยและขาราชการของ
มหาวิทยาลัยราชภัฎ เครือขายสภาคณาจารยและขาราชการของมหาวิทยาลัยราชมงคล ที่ประชุมประธานสภาขาราชการ
และลูกจางมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย สื่อมวลชนที่ใหการสนับสนุนเผยแพรผลงานของ ปอมท. ฯลฯ เพราะโดยลําพังตัว
ปอมท. เองแลว คงยากที่จะผลักดันใหกิจกรรมทั้งหลายปรากฏลุลวงไปดวยตนเองได แมวาจะมีลักษณะเปนสถาบันแหง
ปญญามานานกวา ๒๘ ป แตดวยลักษณะของการเปนงานอาสา ไมมีผลประโยชนในรูปอื่น นอกจากการไดสัมผัสกับมิตรภาพ
จากเพื่อนรวมงานที่มาจากตางสถาบัน และความอิ่มเอมใจอันเนื่องจากการไดกระทําความดีตอบแทนสูสังคม ก็ทําให ปอมท.
มีลักษณะเปนสถาบันที่มีการจัดตั้งแบบหลวมๆ
อายุที่กําลังจะกาวลวงผานปที่ ๒๙ ของที่ประชุม ปอมท. นาจะถือวาเปนสถาบันอันเกาแกแหงหนึ่ง ยิ่งได
พิจารณาถึงความจริงในทางประวัติศาสตรวา แนวคิดเรื่องการจัดตั้งสภาเสเนตนี้ มีมาตั้งแตครั้งแรกตั้งมหาวิทยาลัยแหงแรก
ขึ้นในประเทศสยามภายใตพระราชดําริ ขององคพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว ลนเกลารัชกาลที่ ๖ ดังปรากฏใน
รายงานเรื่อง “โครงการมหาวิทยาลัย” ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผูทรงมีพระมหา
กรุณาธิคุณอันลนพน แกแวดวงอุดมศึกษาไทย จนอาจกลาวไดวาทรงเปนประหนึ่ง “พระบิดาแหงการอุดมศึกษาไทย” ก็
นาจะจัด ปอมท. เปนสถาบันเกาแกที่อยูควบคูกับการอุดมศึกษาไทยมาตั้งแตตนไดเชนเดียวกัน จึงควรไดมีการจารึก
หลักฐานการทํางานไวเพื่อประโยชนในการอางอิงตอไปในภายภาคหนา
รศ.สุรพล ศรีบุญทรง
เลขาธิการ ปอมท.
หน้าที ๗
สารบัญ
รายนามที่ปรึกษา กรรมการบริหาร และประธานสภาฯ ๑
สารจากประธาน ปอมท. ๔
เลขาธิการแถลง ๖
ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย
๘๐ ป แหงการตามรอยพระราชดําริ ...... ๒๘ ป แหงการกอตั้ง
๙
ความเปนมาของสภาคณาจารยในประเทศไทย ๙
“ความเปนตัวแทนบุคลากร” คือ บทบาทที่แทจริง ๑๑
ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท) ๑๒
กรรมการบริหาร ปอมท. ๑๓
กรรมการบริหาร ปอมท. ป ๒๕๕๑ ๑๕
การมอบงานระหวางคณะกรรมการบริหาร ปอมท. ชุด ป ๒๕๕๐ และชุดปจจุบัน ๑๘
การทํางานในรอบป ๒๕๕๑ ของ ปอมท. ๑๙
๑ การเปนศูนยกลางแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นในดานวิชาการ และเผยแพรความรูสู
สาธารณชน
๑๙
 การจัดการประชุมสมัยสามัญ ๒๐
 การเชิญบรรยายพิเศษ ๒๑
 การแลกเปลี่ยนประสบการณ ๒๒
 การดําเนินงานวิจัยรวม ๒๗
 การจัดการประชุมวิชาการประจําป ๒๘
 การรับสมัคร มหาวิทยาลัยนครพนมเขาเปนสมาชิกใหมของ ปอมท. ๓๖
 การเผยแพรประชาสัมพันธภารกิจของ ปอมท. ๓๗
๒ การเปนตัวแทนใหกับบุคลากรมหาวิทยาลัย
(เนนการสื่อสารสองทางยอนกลับไปยังผูบริหารระดับสูงระดับประเทศ และ
สาธารณชน)
๓๘
 การรวมถวายสักการะพระศพ สมเด็จพระพี่นางเธอกรมหลวงนราธิวาสราช
นครินทร
๓๘
 แนวทางการดําเนินงานของ ปอมท. ภายใตนโยบายการศึกษาของรัฐบาล
ใหม
๓๘
 การกําหนดบทบาทภายใตสภาพอุดมศึกษาปจจุบัน ๔๑
o แนวทางรางธรรมนูญที่ประชุม ปอมท. ๒๕๕๑ ๔๓
หน้าที ๘
สารบัญ
 บทบาทในสวนสัมพันธกับ สกอ.
๔๗
o การนําเสนอขอมูลยอนกลับ (Bottom Up) สู สกอ. ในมุมมอง
ของประชาคม
๔๗
o การนําเสนอโครงการพัฒนาศักยภาพประธานสภาฯ ๕๖
o เกี่ยวกับเรื่องสถานที่ทําการของ ปอมท. ๕๖
o เรื่องงบประมาณสนับสนุนการประชุมวิชาการประจําป ๒๕๕๑ ๕๖
 บทบาทเรื่อง มหาวิทยาลัยในกํากับ ๕๖
 การสงเสริมและรักษาสิทธิของบุคลากรอุดมศึกษาภายใตสภาพอุดมศึกษา
ปจจุบัน
๕๗
 การประสานความรวมมือกับที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทย (ทปอ.) ๕๘
๓ การรวมพัฒนาประเทศชาติ และแสวงหาทางออกของประเทศชาติในยามวิกฤติ ๕๙
๔ การสืบสานแนวพระราชดําริของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรม
ราชชนก
๖๑
๕ การสงเสริมธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทย โดยเฉพาะสวนที่วาดวยความโปรงใส การมี
สวนรวม และความเปนประชาธิปไตย
๗๒
 การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษา ไทย-ออสเตรเลีย ๗๒
๖ การสมานสามัคคี เกื้อกูล สนับสนุน สงเสริมและพัฒนาวิชาชีพอาจารยไทย ๗๖
 แนวทางการสรางเครือขายในรูปสมาพันธ ๗๖
 การสัมมนา เจาหนาที่งานสภาคณาจารย/สภาอาจารย/สภาขาราชการ ๗๘
 การเขาเยี่ยมคารวะแสดงกตเวฑิตาคุณแก ประธาน ปอมท. ทานแรก ๘๓
๗ การสงเสริมจรรยาแหงวิชาชีพใหเปนที่ไววางใจแกประชาชน และเปนหลักประกันของ
คุณภาพอุดมศึกษา
๘๓
 การคัดเลือกอาจารยดีเดนแหงชาติของ ปอมท. ประจําป ๒๕๕๑ ๘๔
 การนิมนตพระธรรมโกศาจารย อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย บรรยายธรรม
๘๕
ภาคผนวก
 รายนามและสถานที่ติดตอของสภาคณาจารย/สภาพนักงาน/ สภาขาราชการ ๘๙
หน้าที ๙
ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย
๘๐ ป แหงการตามรอยพระราชดําริ ...... ๒๘ ป แหงการกอตั้ง
สภาคณาจารย คือ องคกรตัวแทนของบรรดาบุคลากรทั้งหลายภายในมหาวิทยาลัย ทําหนาที่เปน
ปากเปนเสียงแทนบุคลากร แสดงออกเชิงพฤติกรรมในลักษณะที่สะทอนถึงมาตรฐานทางความรู คุณธรรม
และจริยธรรมของบุคลากรทางการศึกษาภายในมหาวิทยาลัย มีบทบาทและสวนรวมในการกําหนดทิศ
ทางการพัฒนาการศึกษาในลักษณะของการเสนอแนะใหขอคิดเห็น
ความเปนมาของสภาคณาจารยในประเทศไทย
แนวคิดเรื่อง สภาคณาจารยในประเทศไทย
ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรก ในป พศ. ๒๔๗๑ โดยพระ
ดําริของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระ
บรมราชชนก ผูทรงมีบทบาทสําคัญ อยางยิ่ง ในการ
กําหนดรูปแบบ แนวคิด และ การพัฒนามหาวิทยาลัย
ขึ้นในประเทศไทย และปรากฏเปนลายลักษณอักษร
ชัดเจนขึ้นในป พ.ศ.๒๔๗๔ โดยสมเด็จพระเจาพี่ยา
เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร องคประธาน
คณะกรรมการดําริรูปการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
และอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ในขณะนั้น ไดทรงดําริ
ใหมี “สภา Senate ” ขึ้นดวยนอกเหนือจากการมี
สภามหาวิทยาลัย (Board of Council) โดยทรงมี
พระประสงคใหสภา senate มีหนาที่รับทราบกิจการ
เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยทุกอยาง ทั้งทางธุรการ และ
วิชาการ
แตเปนเรื่องที่นาเสียดายวา สภาพสังคมและการเมือง
ในยุคเปลี่ยนแปลงการปกครอง อันนํามาซึ่งความ
ขัดแยงรุนแรงระหวางเชื้อพระวงศ และกลุมผูกอการ
คณะราษฎร ไดมีผลกระทบตอทิศทางการพัฒนาของ
อุดมศึกษาไทยเปนอยางมาก ถึงขนาดสมเด็จพระเจาพี่
ยาเธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทรถูกจับกุมคุมขังตองโทษ
ถึงขั้นประหารชีวิตอันเปนผลสืบเนื่องจากกรณีกบฏบวร
เดช ถูกถอดฐานันดรศักดิ์ และเรียกคืนเครื่องราชอิสริ
ยาภรณทั้งหมด โดยใหเรียกชื่อวา “นักโทษชายรังสิต”
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
หน้าที ๑๐
ภายใตการปกครองแบบเผด็จการนั้น ทาง
รัฐบาลทหารยังไดสงนายทหารและนักการเมืองสําคัญๆ
มากํากับดูแลจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอยางใกลชิด
ไมวาจะเปน จอมพล ป.พิบูลสงคราม (อธิการบดี
๒๔๘๗ และ ๒๔๙๒) จอมพล ประภาส จารุเสถียร
(อธิการบดี ๒๕๐๖ – ๒๕๑๒) จอมพล สฤษ ธนะรัชต
(นายกสภามหาวิทยาลัย ๒๕๐๒ – ๒๕๐๖) หรือ จอม
พลถนอม กิตติขจร (นายกสภามหาวิทยาลัย ๒๕๐๖ –
๒๕๑๔) ฯลฯ
อยางไรก็ตาม สภาพเศรษฐกิจและสังคมไทย
หลังจากนั้นไดพัฒนาไปอยางมากตามแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม จนถึงจุดอิ่มตัวที่สังคมตองการ
สิทธิและเสรีภาพ โดยเฉพาะในแวดวงวิชาการนั้น
ความตองการเสรีภาพทางวิชาการไดทําใหมีการพบปะ
พูดคุยกันเกี่ยวกับบทบาทของมหาวิทยาลัยในประเทศ
ไทยระหวางกลุมอาจารยของจุฬาฯ และธรรมศาสตร
เกิดขึ้นเปนระยะๆ นับแตป พ.ศ.๒๕๐๖ เปนตนมา
(การประชุมที่ปรากฏเปนหลักฐานชัดเจนครั้งแรกเกิดที่
คณะรัฐศาสตรจุฬาฯ ระหวางวันที่ ๑ – ๕ มิถุนายน
๒๕๐๗) ทําใหเกิดเปนแนวคิดเกี่ยวกับการจัดตั้ง “สภา
คณาจารย” ขึ้นเพื่อเปดโอกาสใหบรรดาอาจารยไดมี
สวนรวมในการบริหารมหาวิทยาลัย
ผลของการพบปะพูดคุยกัน ของหมูอาจารย
นําไปสูแนวทางปฏิบติที่ชัดเจนขึ้นในป พ.ศ. ๒๕๐๘
เมื่อจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทดลองจัดตั้งสภา
ศาสตรา จารยเลียนแบบแนวคิด Faculty Senate ขึ้น
เปนครั้งแรก โดยกําหนดใหผูมีตําแหนงศาสตราจารย
เปนสมาชิกของสภานี้ แตปรากฏวาสภาดังกลาวตอง
สลายตัวไปในระยะเวลาตอมาเพราะลําพัง
ศาสตราจารย ไมนาจะเถือเปนตัวแทนของบรรดา
อาจารยทั้งมหาวิทยาลัยได (การกําหนด ใหมีเฉพาะผูมี
ตําแหนงทางวิชาการสูงๆ ในสภาคณาจารยนั้น เปน
การกลาวอางวาทําตามอยางสากลและมักใชเปนเหตุใน
การพยายาม ยุบสภาคณาจารยลงใหเหลือเพียงแคสภา
วิชาการ แตก็เปนที่ทราบกันดีวาผูที่จะเปนอาจารยใน
ตาง ประเทศได มักมีตําแหนงเปนศาสตราจารยอยูแลว
เหตุการณสําคัญเกี่ยวกับงานสภาคณาจารย
๒๔๗๑ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรม
ราชชนก มีพระราชดําริวาควรมีการจัดตั้ง Faculty
Senate ขึ้นในจุฬาฯ
๒๔๗๓ สมเด็จพระเจาพี่ยาเธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร
องคประธานคณะกรรมการดําริรูปการจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย มีพระราชดําริวาควรมีการจัดตั้ง
Faculty Senate ควบคูไปกับสภามหาวิทยาลัยของ
จุฬาฯ
๒๕๐๖ กลุมอาจารยมหาวิทยาลัยจาก จุฬาฯ และ
ธรรมศาสตร มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เกี่ยวกับบทบาทของมหาวิทยาลัยไทย
๒๕๐๗ มีการสัมนาที่คณะรัฐศาสตร จุฬาฯ เกี่ยวกับการ
จัดตั้ง “สภาคณาจารย” เพื่อเปดโอกาสใหอาจารย
มหาวิทยาลัยในการบริหารมหาวิทยาลัย
๒๕๐๘ มีการทดลองตั้ง “สภาศาสตราจารย” ขึ้นในจุฬาลง
กรณมหาวิทยาลัย
๒๕๑๒ คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุง พรบ. จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย เสนอใหมีการจัดทํา “ขอบังคับสภา
คณาจารย “ เปนกฎหมายลูกประกอบ พรบ.
๒๕๑๔ สโมสรอาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดย
ประธานสโมสร “ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล” มีสวน
รวมผลักดันขอบังคับสภาคณาจารย มีการเลือกตั้ง
สภาคณาจารยขึ้นเปนครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย มี ดร.สปนนท เกตุทัต เปน
ประธานสภาคณาจารย ดร.วิจิตร ศรีสะอาน เปน
เลขาธิการสภาคณาจารย
๒๕๒๓ มีการประชุมสภาคณาจารยมหาวิทยาลัยครั้งแรกที่
เกษตรศาสตร โดยตัวแทน ๓๒ คน จาก ๙
มหาวิทยาลัย และตกลงมีมติรวมกันในการใชชื่อ
“ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยทั่ว
ประเทศ “ ยอวา “ปอมท” และใชชื่อภาษาอังกฤษ
วา Council of University Faculty Senate
of Thailand (CUSFT)” และควรไดบันทึกไวเปน
เกียรติประวัติแก ปอมท ไวดวยวา ทานประธาน ปอ
มท. คนแรกคือ ศ.ระพี สาคริก
หน้าที ๑๑
ในขณะที่ บางมหาวิทยาลัยในประเทศไทยอาจจะไมมี
ศาสตราจารยเลยก็ได)
ดวยสภาพลุมๆ ดอนๆ ของระบบการบริหาร
อุดมศึกษาของไทย ทําใหสภาคณาจารยไดรับการ
กอตั้งขึ้นเปนตัวเปนตนจริงๆ ในยุคที่ประชาธิปไตยเริ่ม
เบงบาน (๒๕๑๔) เติบโตจนเริ่มสรางเครือขายของ
สภาคณาจารยขึ้นในลําดับตอมา และกลับซบเซาลงไป
ถึงขนาดมีผูเสนอแนะใหยุบสภาคณาจารยในทุก
มหาวิทยาลัยทิ้งเสียในยุครัฐบาลธานินท กรัยวิเชียร
(๒๕๒๐) สภาคณาจารยกลับมาเติบโตไดอยางมั่นคง
อีกครั้ง เมื่อมีการจัดตั้งที่ประชุมประธานสภาอาจารย
มหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย หรือ ปอมท. ใน ป
พ.ศ.๒๕๒๓ มีบุคลากรคุณภาพจํานวนมากเขามารวม
พัฒนาสภาคณาจารย และที่ประชุม ปอมท ไมวาจะ
เปน ศ.ดร.สิปนนท เกตุทัต ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอาน ศ.
ระพี สาคริก ศ.นพ.รุงธรรม ลัดพลี ศ.นพ. ประดิษฐ
เจริญไทยทวี รศ.ดร.มนตรี เจนวิทยการ ศ.ดร.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน ศ.ดร.คุณหญิง สุชาดา กีระนันท
ฯลฯ สรางความเข็มแข็งใหกับองคกรสภาคณาจารย
และเปนหลักเปนฐานใหบรรดาคณาจารยรุนหลังไดใช
เปนแบบอยางในการดําเนินการมาจนถึงปจจุบัน
“ความเปนตัวแทนบุคลากร” คือ บทบาทที่แทจริง
ขอบังคับวาดวยสภาคณาจารย และ พรบ.ของ
แตละมหาวิทยาลัยมักกําหนดบทบาทหนาที่ของสภา
คณาจารยไวในฐานะ “ที่ปรึกษาของอธิการบดี” และ
พูดถึงบทบาทหนาที่ในฐานะ “ตัวแทนของบุคลากร
ทั้งหมดภายในมหาวิทยาลัย” ไวอยางผิวเผิน ทั้งที่ใน
ความถูกตองแลว ควรจะระบุบทบาทการเปนตัวแทน
คณาจารยเปนเรื่องสําคัญ และใหเรื่องของการเปนที่
ปรึกษาเปนเรื่องรองลงไป เพราะการที่สภาคณาจารย
จะใหคําแนะนําใดๆ แกผูบริหาร ก็จะตองเปนไปใน
ฐานะตัวแทนของบุคลากรเปนหลัก ดังจะเห็นไดจาก
การที่ทุกมหาวิทยาลัยกําหนดใหการไดมาซึ่งกรรมการ
สภาคณาจารย นั้นมาจากการเลือกตั้ง แทนที่จะเปน
การสรรหา หรือหยั่งเสียงเชนผูบริหาร
ผูบริหารที่ชาญฉลาดและมีจิตใจเปนประชาธิปไตย
จึงไดประโยชนจากสภาคณาจารยในฐานะของ
แหลงขอมูลที่เปนกลาง เปนอิสระ ปลอดจาก
ผลประโยชน แสดงออกถึงทัศนคติของบุคลากรที่มีตอ
นโยบายหรือแผนการดําเนินการตางๆ เพราะถึงแม
ผูบริหารจะสามารถเขาถึงผูใตบังคับบัญชาของตนได
ตามปรกติตามลําดับชั้นการบังคับบัญชา แตกลไก
อํานาจในการพิจารณาความดีความชอบและการใหคุณ
ใหโทษก็มักปดโอกาสที่ผูบริหารจะไดรับฟงขอมูล
ขาวสารยอนกลับ (feed back) ที่แทจริงจากภาคสวน
ตางๆ ที่อยูใตการบังคับบัญชาของตน เนื่องจาก
ผูบังคับบัญชาระดับกลางและระดับลางๆ ที่รับคําสั่ง
หรือนโยบายไปปฏิบัติมักเลี่ยงที่จะโตแยงคําสั่งหรือ
นโยบายที่เบื้องบนกําหนดลงมาแมจะเห็นถึงความไม
ถูกตอง
การมีสภาคณาจารย จึงเปนชองทางใหบรรดา
ผูใตบังคับบัญชา ไดสงผานสัญญาณยอน กลับไปสู
ผูบริหารในลักษณะของการสื่อสาร ๒ ทาง (Two
ways communications) โดยไมจําเปนตองพูด
ออกไปดวยตนเอง เปรียบเหมือนระบบควบคุมทาง
อุตสาหกรรม หรือระบบควบคุมทางวิศวกรรม ที่อาศัย
เพียงอุปกรณตรวจจับสัญญาณเล็กๆ ปอน กลับ
สัญญาณเขาสูระบบควบคุม ก็จะชวยใหการบริหาร
ระบบเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เสถียร และเติบโต
ไดอยางมั่นคง (Feedback control system)
มหาวิทยาลัยที่ประกอบไปดวยทรัพยากรมหาศาลทั้ง
บุคคล สถานที่ ตัวเงิน ก็พึงอาศัยกลไกสภา
คณาจารยซึ่งตองการทรัพยากรรองรับเพียงเล็กนอย
มากนี่แหละ เปนตัวสงผานสัญญาณปอนกลับเขาสู
ระบบบริหาร (อธิการบดี) หรือระบบควบคุมกํากับ
(สภามหาวิทยาลัย)
นอกจากนั้น การที่สภาคณาจารยสวนใหญมัก
มีชองทางสื่อสารกับบรรดาบุคลากรซึ่งเลือกตั้งพวกตน
หน้าที ๑๒
เขามาไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนชองทางการ
สื่อสารที่ไมมุงเนนเรื่องการประชาสัมพันธ หรือการ
โฆษณาชวนเชื่อ มีความนาเชื่อถือ มีความจริงใจ ไมมุง
แสวงหาผลประโยชน (หากกรรมการสภาคณาจารย
แสดงออกถึงความไมจริงใจยอมไมไดรับการเลือกตั้ง
กลับเขามาในสมัยหนา) การสื่อสารผานสภาคณาจารย
จึงเปนการสื่อสารทางเลือก (Alternative
communications) อีกชองทางหนึ่งที่ผูบริหาร
สามารถผลักดัน หรือสรางความเขาใจกับประชาคมใน
เรื่องนโยบายที่มีลักษณะซับซอน หรือนโยบายที่ตองมี
การเสียสละประโยชนระยะสั้นไดเปนอยางดี
กลาวไดวา การใหคําแนะนําปรึกษาแกผูบริหาร
นั้นเปนเพียงสวนหนึ่งของหนาที่สภาคณาจารย ซึ่งตาม
ความเปนจริงแลว ผูบริหารที่ไมสนใจความมีสวนรวม
ของบุคลากรก็อาจจะไมสนใจรับฟงคําแนะนําจากสภา
คณาจารยเลยเสียดวยซ้ํา แตในฐานะตัวแทนของ
บุคลากร สภาคณาจารยยังถูกกําหนดใหตองเขาไปมี
สวนรวมในการสรรหาผูบริหารดวยเสมอ เปรียบได
กับคณะกรรมการกลางการเลือกตั้ง (กกต.) ที่มีสวน
รับผิดชอบในการไดมาซึ่ง สมาชิกวุฒิสภา (สว.) และ
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (สส.) ที่เขาไปทําหนาที่
บริหารบานเมือง ตลอดจนอาจเขาไปมีสวนรวมใน
การรางกฏหมายสําคัญๆ ซึ่งมีผลบังคับใชกับบุคลากร
ทั้งสถาบัน
ที่สําคัญ ดวยสถานะที่เปนกลางปลอดจาก
ผลประโยชน สภาคณาจารยจึงอาจถูกกําหนดใหทํา
หนาที่อื่นๆ อันเปรียบเหมือนองคกรอิสระ องคกร
กลาง เชน ทําหนาที่รับฟงความคิดเห็นของประชาคม
การลงประชามติ ฯลฯ หรือหาทางยุติประเด็น
ขัดแยงภายในองคกร เพราะความเปนตัวแทนจากการ
เลือกตั้ง เปดโอกาสใหสภาคณาจารยเขาไปมีสวนรวม
รับทราบปญหา ในฐานะของกรรมการสอบสวนหา
ขอเท็จจริง หรือมีสวนไกลเกลี่ยขอพิพาทประดุจเปน
อนุญาโตตุลาการ และดวยการมีฐานะเปนตัวแทน
ของบุคลากรทั้งมหาวิทยาลัย จึงทําใหสภาคณาจารย
ตองมีภาระในการรักษาผลประโยชนของสวนรวม (ทั้ง
ในระดับองคกร และในระดับชาติ) ไปดวยอยาง
หลีกเลี่ยงไมได ตองเขาไปเกี่ยวของกับเกณฑการ
พิจารณาผลการปฏิบัติงาน การพิจารณาผลงาน
วิชาการ และเรื่องของมาตรฐานทางวิชาการ การให
ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายและแผนการดําเนินงาน
ของมหาวิทยาลัย ตลอดไปจนถึงเรื่องอนาคตและ
ความมั่นคงในอาชีพของบุคลากร และอนาคตของ
มหาวิทยาลัย ทําใหสภาคณาจารยตองเรียกรองความ
ชัดเจนในการเตรียมความพรอมเรื่องมหาวิทยาลัยใน
กํากับ แผนการดําเนินการ สวัสดิการ และ
ความกาวหนาของบุคลากรหลังจากปรับเปลี่ยน
สถานภาพไปเปนมหาวิทยาลัยในกํากับแลว
หน้าที ๑๓
ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท)
ที่ประชุมประธานสภามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) ไดเริ่มดําเนินการมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๓ ในการ
ประชุมครั้งที่ ๑ ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มีผูเขารวมประชุมจากบรรดาประธาน สภาคณาจารย และผูแทน
สภาคณาจารยของมหาวิทยาลัย ๙ แหง จํานวน ๓๒ คน โดยที่ประชุมมีมติใหใชชื่อเรียกองคกรของตนวา “ที่ประชุม
ประธานสภาคณาจารยมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ (ปอมท)” ทําหนาที่ในการปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนประสบการณ และ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ บทบาทและปญหาของสภาอาจารยและสถาบัน อุดมศึกษาตาง ๆ รวมทั้งการเสนอแนะแนวทาง
ในการแกปญหาของชาติ และสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาตอผูมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง มุงประสานความ
รวมมือในการพัฒนาวิชาชีพและจรรยาบรรณ ตลอดจนปกปองสิทธิ เสรีภาพและสวัสดิการของคณาจารย
ในการจัดตั้งที่ประชุมประธานสภาคณาจารย
มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ (ปอมท)” ในครั้งนั้น บรรดา
ผูรวมกอตั้งยังไดรวมกันพิจารณาหาทางปรับปรุงระบบ
บริหารงานบุคคลของทบวงมหา วิทยาลัยรวมกัน
ตลอดจนกําหนดใหมีการประชุมสมัยสามัญเปนประจํา
ในชวงระยะเวลา ๑ ถึง ๒ เดือน โดยอาจจัดการ
ประชุมทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด เพื่อให
บุคลากรของสภาคณาจารยไดมีโอกาสเรียนรูและสัมผัส
กับสภาพการทํางานของเพื่อนรวมวิชาชีพในสถาบัน
อื่นๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพความพรอมของ
มหาวิทยาลัยที่เสนอตัวเปนเจาภาพจัดประชุม สวน
คาใชจายในการดําเนินกิจกรรมอยางเชน การประชุม
การทําจดหมายขาว การทําวิจัย ฯลฯ นั้น อาศัย
ความกรุณาจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในการใหการ
สนับสนุนดานการเงิน
การดําเนินงานของ ปอมท นั้นสวนใหญเปนไป
ตามขอบังคับวาดวยการบริหารงานของที่ประชุม
ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย
(เริ่มจากเจตนารมยที่กําหนดไวตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๓ มี
การปรับปรุงขอบังคับและรูปแบบองคกรของที่ประชุม
ฯ เปนระยะๆ ตลอดมา และปรับเปลี่ยนรูปแบบการ
ประชุมจากแบบไมเปนทางการไปสูระบบการประชุมที่
มีระเบียบ ขอบังคับที่แนนอน ตลอดจนมีการปรับปรุง
แกไขเพิ่มเติมขอบังคับครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๓๑ และครั้ง
ที่สอง พ.ศ. ๒๕๓๖) โดยขอบังคับวาดวยการ
บริหารงานของที่ประชุม ปอมท. นั้น กําหนดให
ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยภายใตสังกัดเดิมของ
ทบวง มหาวิทยาลัยจํานวน ๒๐ แหง มาประชุม
รวมกันตามวาระที่กําหนดขึ้น แลวเลือกตั้งกันเองใหได
ประธาน ๑ คน รองประธาน ๒ คน และเลขาธิการอีก
๑ คน มีวาระการดํารงตําแหนง ๑ ป
หน้าที ๑๔
กรรมการบริหาร ปอมท.
เพื่อการทํางานเปนไปอยางราบรื่นมีประสิทธิ
ภาพ ยังไดกําหนดใหที่ประชุมประธานสภาอาจารย
สามารถแตงตั้ง คณะกรรมการบริหาร ขึ้นชุดหนึ่งจากผู
ที่เปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือกรรมการสภาอาจารย
มหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการ บริหาร มีวาระการ
ดํารงตําแหนงคราวละ ๑ ปนับตามวาระของประธาน
รองประธาน และ เลขาธิการ ซึ่งทั้งหมดนี้เรียกรวมกัน
วา “คณะกรรมการบริหาร” อันประกอบดวย ประธาน
รองประธาน เลขาธิการ รองเลขาธิการ ผูอํานวยการ
ฝายวิชาการ ผูอํานวยการฝายประชา สัมพันธ
ผูอํานวยการฝายวิเคราะหนโยบายและแผน
ผูอํานวยการฝายการเงิน และที่ ปรึกษาอีกจํานวนหนึ่ง
ซึ่งไมเกิน ๗ คน
ฝายอํานวยการตางๆ ของ ปอมท มีบทบาท
และหนาที่ดังตอไปนี้
ฝายวิชาการ มีหนาที่และความรับผิดชอบในการผลิต
และเผยแพรเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับการ
บริหารงานบุคคล และการพัฒนาการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาโดยทั่งไปรวมทั้งการจัดหา
ผูทรงคุณวุฒิไปเปนวิทยากรตามคํารองของสภา
อาจารยมหาวิทยาลัย
 ฝายวิเคราะหนโยบายและแผน มีหนาที่และความ
รับผิดชอบในการวิเคราะหปญหาการบริหารงาน
บุคคล และการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของ
ประเทศ เสนอแนะทางแลือกของนโยบายเพื่อ
แกปญหาและประเมินความเปนไปไดของทางเลือก
ตางๆ รวมตลอดจนถึงการวางแผนดําเนินงานเพื่อให
ขอเสนอของที่ประชุมประธานสภาอาจารยบรรลุผล
สําเร็จ
 ฝายประชาสัมพันธ มีหนาที่และความรับผิดชอบ
เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ บทบาทของที่ประชุม
การวิเคราะหและการประเมินขาวรวมตลอดถึงการ
สื่อสารสัมพันธกับสื่อมวลชนและฝายประชาสัมพันธ
ของมหาวิทยาลัยตางๆ
อุปสรรคสําคัญในการดําเนินงานของ ปอมท.
ถึงแมวา ที่ประชุม ปอมท. จะผานรอนผานหนาวมา
เกือบ ๓๐ ปแลวก็ตาม แตดวยสภาวะที่เปนองคกรซึ่งเกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติของอาจารยมหาวิทยาลัย จึงยังคงมีปญหา
อุปสรรคในการดําเนิน งานหลายๆ อยางอันยากจะแกไขให
ลุลวงไปได ยก ตัวอยางเชน
๑.สถานะของที่ประชุม ปอมท. อันมีที่มาจากอาจารยหลายๆ
มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ทําใหการติดตอประสานงานทํา
ไดคอนขางลําบาก เพราะตองมีการเดินทางไปๆ มาๆ จึง
ทําใหการบริหารจัดการไมคลองตัว
๒.ความสนใจเรื่องบทบาทของสภาคณาจารยในหมูอาจารย/
ประชาชนยังมีนอย หลายๆ คนไมเคยรับทราบเลยดวยซ้ํา
วามีองคกรที่เปนตัวแทนของอาจารยมหาวิทยาลัยเชนนี้อยู
หรือแมจะรูวามีองคกรสภาคณาจารยอยู ก็ไมทราบถึง
บทบาทหนาที่
๓.การครบวาระของประธานสภาอาจารยแตละแหงไมพรอม
กัน ทําใหเปนอุปสรรคตอการดําเนินงาน และเกิด
ขอจํากัดในการคัดเลือกบุคลากรเขามาดํารงตําแหนง
บริหารของ ปอมท. เชน การที่ ประธานสภาคณาจารย
ของจุฬาฯ และธรรมศาสตรมีวาระการดํารงตําแหนงเพียง
๑ ป นั้นไมเอื้อตอการมาดํารงตําแหนงเปน ประธาน ปอ
มท.
๔.การไมมีสํานักงานและเจาหนาที่ประจําที่แนนอน
เคลื่อนยายไปตามตนสังกัดของประธาน และเลขาธิการ ก็
สงผลใหการดําเนินกิจกรรมทางดานธุรการไมตอเนื่อง
เทาที่ควร เอกสารสําคัญๆ กระจัดกระจายไปในที่ตางๆ
และมีโอกาสสูญหาย ที่สําคัญคือขาดความตอเนื่องของ
ผูดําเนินการ เชนบางครั้งบุคลากรอาจตองเรียนรูงานใหม
แทบทั้งหมด และไมมีแหลงที่อยูแนนอนใหอางอิงไดใน
การติดตอกับองคกรภายนอก
๕.งบประมาณที่มีอยูคอนขางนอยของ ปอมท. ทําให ตอง
จํากัดรูปแบบกิจกรรมไวเฉพาะ ที่ไมตองมีคาใชจายมากนัก
อีกทั้งยังทําใหการเดินทางเพื่อมารวมประชุมของบุคลากร
ตองอาศัยการสนับสนุนจากตนสังกัดเปนหลัก
หน้าที ๑๕
 ฝายการเงิน มีหนาที่และความรับผิดชอบในการรับ
จาย เก็บและรักษางบประมาณ จัดทํารายงานการรับ
จายงบประมาณประจําปเสนอตอที่ประชุม
ประธานสภาอาจารย รวมทั้งเสนอแนะตอที่ประชุม
เกี่ยวกับเหลงและวิธีการ
 ฝายพัฒนาบุคลากร มีหนาที่และความรับผิดชอบ
ในการอบรม พัฒนา และอื่นๆ ตามที่ประธาน
มอบหมาย
 ฝายกิจการพิเศษ มีหนาที่และความรับผิดชอบใน
การจัดกิจกรรมพิเศษ การศึกษาดูงานในและ
ตางประเทศ หรือลักษณะงานที่ชวยเหลืองานฝาย
อื่นๆ และชวยเหลือในการจัดประชุมสัมนาประจําป
รมทั้งงานอื่นๆ ตามที่ประธานมอบหมาย
 ฝายกิจการสังคม มีหนาที่และความรับผิดชอบใน
การติดตอประสานงานกับฝายการเมือง นักการเมือง
พรรคตางๆ หนวยงานของรัฐ และเอกชน
ตลอดจนประชาชน องคกรอิสระตางๆ ใหคําแนะนํา
ปรึกษา เกี่ยวกับการดําเนินงานของที่ประชุม ปอมท.
ในดานกิจกรรมสังคม และงานอื่นๆ ตามที่ประชุม
ปอมท. มอบหมาย
 ฝายสวัสดิการ มีหนาที่และความรับผิดชอบใน
การติดตอประสานงานกับหนวยงานของรัฐ และ
เอกชน ตลอดจนประชาชน มูลนิธิ องคกรอิสระ
ตางๆ เพื่อขอความสนับสนุนดานการเงิน และขอรับ
ความสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ของ ปอมท. ให
คําแนะนําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินงานของที่
ประชุม ปอมท. ในดานสวัสดิการตางๆ สงเสริมและ
พัฒนา จัดหาผลประโยชนตางๆ ใหกับที่ประชุม ปอ
มท. จัดทําและเสนอรายงานเกี่ยวกับการดําเนินงาน
ของฝายตอที่ประชุม ปอมท. และงานอื่นๆ ตามที่
ประชุม ปอมท. มอบหมาย
กรรมการบริหาร ปอมท. ป ๒๕๕๑
คณะกรรมการบริหาร ปอมท ป พ.ศ. ๒๕๕๑ นี้ นับวามีลักษณะพิเศษแตกตางจาก กรรมการบริหาร ปอมท.
ชุดที่ผานๆ มา เนื่องจากประกอบไปดวย กรรมการบริหารถึง ๒ ชุด คือ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๒๙ ซึ่งมี
รศ.ดร. รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนงตั้งแต
วันที่ ๒๓ ธค. ๒๕๕๐ ถึง ๑ กค. ๒๕๕๑ และ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๓๐ ซึ่งมี ดร. ไชยา กุฎาคาร
ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว. ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนงตั้งแต วันที่ ๑ กค.
๒๕๕๑ ถึง ๒๓ ธค. ๒๕๕๑
ทั้งนี้ สืบเนื่องจากการประชุมที่ประชุม
ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย
สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๐ วันอาทิตยที่ ๙
ธันวาคม ๒๕๕๐ ณ หองประชุมรัชดา ๔ โรงแรม
เจาพระยาปารค รัชดา กทม ระเบียบวาระที่ ๒.
เรื่องการเลือกตั้งประธาน และรองประธาน ที่
ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศ
ไทย (ปอมท.) ซึ่งมีกรรมการ ปอมท. ผูมีสิทธิออกเสียง
จากมหาวิทยาลัยตางๆ เขารวมประชุม ๑๘ ทานนั้น
ไดมีการเสนอชื่อผูสมควรไดรับการเลือกเปน ประธาน
ปอมท. โดยมีผูใหการรับรอง ตามขอบังคับฯ จํานวน
๔ รายชื่อ ดังนี้
 ดร. ไชยา กุฎาคาร
 ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ
 รศ.รัตนา สนั่นเมือง
 ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท
หน้าที ๑๖
ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ หนึ่งในผูไดรับการเสนอ
ชื่อฯ ไดขอสละสิทธิ์ในการไดรับเลือกเปนประธาน ปอ
มท. ที่ประชุมไดลงคะแนนโดยวิธีลับ โดยมีผูมีสิทธิ
ออกเสียงในที่ประชุมรวม ๑๘ ทาน ผลการลงคะแนน
ทั้ง ๔ ครั้ง ปรากฏวาทั้ง ดร.ไชยา กุฎาคาร และ
รศ.รัตนา สนั่นเมือง ตางมีคะแนนใกลเคียงกึ่งหนึ่ง แต
ไมเกินกึ่งหนึ่ง ซึ่งถือเปนอันสิ้นสุดตามขอบังคับ ปอ
มท. ผูถูกเสนอชื่อทั้งสองทานจึงไดตกลงที่จะทํางาน
รวมกัน โดยใหดํารงตําแหนงคราวละ ๖ เดือน และ
มอบให รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ดํารงตําแหนง ๖ เดือน
แรก และ ดร. ไชยา กุฎาคาร ดํารงตําแหนงในรอบ
๖ เดือนหลัง มติที่ประชุม เห็นชอบ โดยระหวาง ๖
เดือนที่ประธานทานหนึ่งดํารงตําแหนง ใหอีกทาน
ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษาประธาน ปอมท. ซึ่งเปน
ตําแหนงเฉพาะกิจ
หลังจากนั้น ไดมีการการเลือกตั้งรองประธาน
ปอมท. คนที่ ๑ และคนที่ ๒ ตามขอบังคับของ ปอมท.
ใชวิธีการเดียวกับการเลือกตั้งประธาน ปอมท. ที่
ประชุมไดเสนอชื่อ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท และ
รศ.มัลลิกา คณานุรักษ หลังจากนั้น ที่ประชุมได
ลงคะแนนโดยวิธีลับ ปรากฏผลการลงคะแนน ทั้งสอง
ทานตางมีคะแนนใกลเคียงกึ่งหนึ่ง แตไมเกินกึ่งหนึ่งทั้ง
๔ ครั้ง ตามขอบังคับ ปอมท. ถือเปนอันสิ้นสุดโดยไมมี
ขอตัดสินวาใครจะไดดํารงตําแหนง รองประธาน ปอ
มท. คนที่ ๑ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท จึงไดสละ
สิทธิ์ ให รศ.มัลลิกา คณานุรักษ เปนรองประธานปอ
มท. คนที่ ๑ มติที่ประชุมเห็นชอบมอบ รศ.มัลลิกา
คณานุรักษ เปนรองประธาน ปอมท. คนที่ ๑
ตอมา ที่ประชุมไดเสนอชื่อ ผศ.ดร.นพพร ลี
ปรีชานนท และ อาจารยพงศทิพย อินทรแกว เปนผู
สมควรดํารงตําแหนงรองประธานปอมท. คนที่ ๒ ที่
ประชุมไดมีการลงคะแนนโดยวิธีลับ จํานวน ๑ ครั้ง
ปรากฎผลคะแนน ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ได
คะแนน ๑๓ อาจารยพงทิพย อินทรแกว ไดคะแนน ๔
และงดออกเสียง ๑ คะแนน มติที่ประชุม เห็นชอบ
มอบ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท เปนรองประธาน ปอ
มท. คนที่ ๒
แมวา กรรมการบริหาร ปอมท. ป ๒๕๕๑
จะประกอบไปดวย กรรมการบริหารถึง ๒ ชุด คือ
คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๒๙ ซึ่งมี รศ.ดร.
รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร
ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนง
ตั้งแต วันที่ ๒๓ ธค. ๒๕๕๐ ถึง ๑ กค. ๒๕๕๑ และ
คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๓๐ ซึ่งมี ดร. ไชยา
กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว.
ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนง
ตั้งแต วันที่ ๑ กค. ๒๕๕๑ ถึง ๒๓ ธค. ๒๕๕๑ แต
ดวยเจตนาที่จะใหเกิดความตอเนื่องในการดําเนินงาน
ของ ปอมท. ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธาน ปอมท.
ทานที่ ๓๐ จึงเลือกที่จะยังคงใช กรรมการบริหารที่มา
จากชุดเดิม ดังมีรายนามดังตอไปนี้
หน้าที ๑๗
คณะกรรมการบริหาร ปอมท. ชุดปจจุบัน
ที่ปรึกษา ปอมท. ๗ ทาน ดร.สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ผอ.สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.)
ศ.ดร. อานนท บุณยรัตเวช เลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติ
รศ.ดร.คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ศ.อมร จันทรสมบูรณ อดีตเลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา
คุณ ณรงค โชควัฒนา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ
คุณโสภณ สุภาพงษ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ
ประธาน ปอมท . คนที่ ๒๙ รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร
ประธาน ปอมท . คนที่ ๓๐ ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว.
รองประธานปอมท.คนที่ ๑ รศ.มัลลิกา คณานุรักษ ประธานสภาอาจารย ม.สงขลานครินทร
(ปตตานี)
รองประธาน ปอมท. คนที่ ๒ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ประธานสภาอาจารย ม.ธรรมศาสตร
เลขาธิการ ปอมท. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง รองประธานสภาคณาจารย มจพ.
รองเลขาธิการ ปอมท. อ.ประสิทธิ์ บุญไทย รองประธานสภาคณาจารย ม.รามคําแหง
ผอ. ฝายประชาสัมพันธ ผศ.วันชัย ลีลากวีวงศ ประธานสภาคณาจารย ม.ศิลปากร
ผอ.ฝายวิเคราะหนโยบายฯ รศ.ดร.พอพันธ วัชจิตพันธ ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
ผอ.ฝายการเงิน รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ ประธานสภาคณาจารย ม.แมโจ
ผอ.ฝายการกิจการสังคม ผศ.เจริญ คุวินทรพันธุ ประธานสภาคณาจารย นิดา
ผอ.ฝายสวัสดิการ ผศ.ดร.จุฑามาศ จิตเจริญ ประธานสภาคณาจารย ม.อุบลราชธานี
ผอ.ฝายวิชาการ อ.พงศทิพย อินทรแกว ประธานสภาคณาจารย สจล.
ผอ. ฝายกิจการพิเศษ อ.ชัยนรินท จันทวงษโส ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มจธ.
ผอ.ฝายพัฒนาบุคลากรฯ ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ ประธานสภาคณาจารย ม.เชียงใหม
เลขานุการ ปอมท นางกองเพ็ชร สุนทรภักดิ์ หัวหนาสํานักงาน สภาคณาจารย มจพ.
ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาว ทิพากร ดิษโต เจาหนาที่สํานักงานสภาคณาจารย มน.
ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาวกรองแกว เรืองพุม เจาหนาที่สํานักงานสภาคณาจารย มจพ.
ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นายยุทธศาสตร อิสระวงศสกุล เจาหนาที่สํานักงานสภาคณาจารย มร.
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท)  เล่มน

More Related Content

Viewers also liked

ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
Aprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en ProyectosAprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en ProyectosReichel96
 
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016ELISE STALLWORTH
 
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...IAEME Publication
 
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-ImaginedA Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-ImaginedMX Publishing
 
Comparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y BloggerComparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y BloggerMelissa Leòn
 
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADOGENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADOEla Zambrano
 
School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14Scott McLeod
 

Viewers also liked (9)

ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
Aprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en ProyectosAprendizaje Basado en Proyectos
Aprendizaje Basado en Proyectos
 
Congresso
CongressoCongresso
Congresso
 
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
REVISED RESUME SEPTEMBER 2016
 
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
INVESTIGATION AND OPTIMIZATION OF TURNING PROCESS PARAMETER IN WET AND MQL SY...
 
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-ImaginedA Scandal In Bohemia - Re-Imagined
A Scandal In Bohemia - Re-Imagined
 
Comparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y BloggerComparación de Wikispace y Blogger
Comparación de Wikispace y Blogger
 
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADOGENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
GENERALIDADES DEL PRESUPUESTO GENERAL DEL ESTADO
 
School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14School & Society PowerPoint - Nov 14
School & Society PowerPoint - Nov 14
 

Similar to หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท) เล่มน

Similar to หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท) เล่มน (20)

V 300
V 300V 300
V 300
 
V 290
V 290V 290
V 290
 
V 254
V 254V 254
V 254
 
2557-6
2557-62557-6
2557-6
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
V 269
V 269V 269
V 269
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญาเหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
 
V 278
V 278V 278
V 278
 
แนวทางการทำวิจัย วันแรก (ดร.ดนัย เทียนพุฒ)
แนวทางการทำวิจัย วันแรก (ดร.ดนัย เทียนพุฒ)แนวทางการทำวิจัย วันแรก (ดร.ดนัย เทียนพุฒ)
แนวทางการทำวิจัย วันแรก (ดร.ดนัย เทียนพุฒ)
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
V 277
V 277V 277
V 277
 
V 259
V 259V 259
V 259
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
V 276
V 276V 276
V 276
 
V 261
V 261V 261
V 261
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท) เล่มน

  • 1. หน้าที ๑ พระราชดําริของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก เรื่อง การศึกษา ๑. การศึกษา เปนงานที่มี “คน” เปนหัวใจ หรือปจจัยสําคัญ การจัดการศึกษาจึง ตองเนนคุณคาของความเปนคน ใหเปนคนกอนที่จะเขาสูอาชีพ ซึ่งจะทําใหเขา ผูนั้น “ดี” ในดานอาชีพตามมา ดวยผานการศึกษาอาชีพที่จัดไวอยางดีแลว ๒. ในการสอนคนตองสอนดวยคนเปนหลัก ประสบการณเปนสําคัญ และ เครื่องมือเปนสวนประกอบ เพราะคนเปนแบบอยาง เปนครูที่ดีที่สุด ๓. การศึกษาสิ่งใดๆก็ตาม จะตองศึกษาใหรูจริงถึงแกนแท ดวยการฝกหัดและ ปฏิบัติ จึงจะถือวาเปนการศึกษาที่แทจริง ๔. การจัดการศึกษาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นตอเนื่องกันอยูตลอดเวลา จะตองวางรากฐาน ใหดี ถารากฐานดีแลว จะมีผลดีตอการดําเนินการในขั้นตอๆไปดวย
  • 2. หน้าที ๒ รายนามคณะกรรมการบริหาร ปอมท. ป พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ปรึกษา ปอมท. ดร.สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ผอ.สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ศ.ดร. อานนท บุณยรัตเวช เลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติ รศ.ดร. คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศ.อมร จันทรสมบูรณ อดีตเลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา คุณ ณรงค โชควัฒนา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ คุณโสภณ สุภาพงษ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ประธาน ปอมท. (๒๙) รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร ประธาน ปอมท. (๓๐) ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว. รองประธานปอมท.คนที่ ๑ รศ.มัลลิกา คณานุรักษ ประธานสภาอาจารย ม.สงขลานครินทร (ปตตานี) รองประธานปอมท.คนที่ ๒ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ประธานสภาอาจารย ม.ธรรมศาสตร เลขาธิการ ปอมท. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง รองประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มจพ. รองเลขาธิการ ปอมท. อ.ประสิทธิ์ บุญไทย รองประธานสภาคณาจารย ม.รามคําแหง ผอ. ฝายประชาสัมพันธ ผศ.วันชัย ลีลากวีวงศ ประธานสภาคณาจารย ม.ศิลปากร ผอ.ฝายวิเคราะหนโยบายฯ รศ.ดร.พอพันธ วัชจิตพันธ ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผอ.ฝายการเงิน รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ ประธานสภาคณาจารย ม.แมโจ ผอ.ฝายการกิจการสังคม ผศ.เจริญ คุวินทรพันธุ ประธานสภาคณาจารย นิดา ผอ.ฝายสวัสดิการ ผศ.ดร.จุฑามาศ จิตตเจริญ ประธานสภาอาจารย ม.อุบลราชธานี ผอ.ฝายวิชาการ อ.พงศทิพย อินทรแกว ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน สจล. ผอ. ฝายกิจการพิเศษ อ.ชัยนรินท จันทวงษโส ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มจธ. ผอ.ฝายพัฒนาบุคลากรฯ ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ ประธานสภาพนักงาน ม.เชียงใหม เลขานุการ ปอมท นางกองเพ็ชร สุนทรภักดิ์ หัวหนางานสภาคณาจารยและพนักงาน มจพ. ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาว ทิพากร ดิษโต เจาหนาที่งานสภาอาจารย ม.นเรศวร ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาวกรองแกว เรืองพุม เจาหนาที่งานสภาคณาจารยและพนักงาน มจพ. ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นายยุทธศาสตร อิสระวงศสกุล เจาหนาที่งานสภาคณาจารย ม.รามคําแหง
  • 3. หน้าที ๓ รายนามประธานสภาฯ ป พ.ศ. ๒๕๕๑ รศ.ดร. พอพันธ วัชจิตพันธ ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผศ.ดร. นพพร ลีปรีชานนท ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รศ.ดร. กัมปนาท ภักดีกุล ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยมหิดล ผศ. ปฐม ปฐมธนพงศ ประธานสภาพนักงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผศ. วิโรจน เวชชะ ประธานสภาขาราชการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผศ.ดร. ประสิทธิ์ โนรี ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยแมโจ ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผศ. วันชัย ลีลากวีวงศ ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยศิลปากร รศ.ดร. ธงชัย สมบูรณ ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผศ. พรรณวดี ตันติศิรินทร ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยขอนแกน รศ. ชัยพร วงศพิศาล ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน (ครบวาระ ก.ค. ๕๑) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ รศ. ธานินทร ศิลปจารุ ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ อาจารย พงศทิพย อินทรแกว ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหาร ลาดกระบัง อาจารย ชัยนรินทร จันทวงษโส ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน (ครบวาระ พ.ค. ๕๑) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี รศ. อดิศักดิ์ พงษพูลผลศักดิ์ ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี ผศ. เจริญ คุวินทรพันธ ประธานสภาคณาจารย (ครบวาระ มิ.ย. ๕๑) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร รศ.ดร. พาชิตชนัต ศิริพานิช ประธานสภาคณาจารย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร อาจารย วีระพันธุ มุสิกสาร ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ รศ. มัลลิกา คณานุรักษ ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี (ครบวาระ ก.ย. ๕๑) อาจารย พงศศักดิ์ ศรีพงศพันธุ ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี รศ. อัฌชา ก.บัวเกษร ประธานสภาพนักงาน มหาวิทยาลัยบูรพา รศ.ดร. วิทยา จันทรศิลา ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยนเรศวร ผศ. สุดสาคร สิงหทอง ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยทักษิณ ผศ.ดร.จุฑามาศ จิตตเจริญ ประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาจารย ดร. ศุภพงษ ปนเวหา ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย เรืองชัย วงษอุระ ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยนครพนม (ครบวาระ พ.ค. ๕๑) อาจารย สุรพงษ ทุมประเสน ประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยนครพนม
  • 4. หน้าที ๔ สารจากประธาน ปอมท. ทานที่ ๒๙ องคกรที่มีนามวา”ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัย แหงประเทศไทย(ปอมท.)” เปนองคกรที่มีบทบาทสําคัญอยางมากตอ คณาจารยในมหาวิทยาลัยกลาวคือ เปนแหลงขอมูล แหลงการแลกเปลี่ยน เรียนรูในดานตางๆทั้งวิชาการและทั่วไป เปนผูพิทักษสิทธิผลประโยชนของ คณาจารยและอีกหลายบทบาท ซึ่งอาชีพอาจารยมีความเจริญกาวหนามาชา นานก็ตองยอมรับวา ปอมท. เขามามีสวนรวมสงเสริมและสนับสนุนใหอาชีพ นี้มีความกาวหนา มีเกียรติและมีความมั่นคงจนทุกวันนี้ คณะกรรมการ ปอมท.เปนคณะบุคคลที่มีความรู ความสามารถ ความเสียสละและความ ตั้งใจในการประชุมเพื่อระดมความคิด หรือทํากิจกรรมที่เกี่ยวของเพื่อใหคณาจารยในมหาวิทยาลัยทั้งมวล ไดรับผลประโยชนรวมกันโดยมิไดคํานึงถึงผลประโยชนของสถาบันหรือมหาวิทยาลัยแหงใดแหงหนึ่งเปนหลัก ดังนั้นองคกรนี้จึงไดรับการยกยองและยอมรับอยางกวางดวยดีตลอดมา ดิฉันมีความภาคภูมิใจที่ไดมีโอกาสเขามาเปนสวนหนึ่งของคณะกรรมการ ปอมท. ชุดนี้ ซึ่งมี การจัดกิจกรรมหลากหลายที่สงเสริมใหเกิดการพัฒนาศักยภาพของทั้งคณะกรรมการ ปอมท. และบุคลากรที่ เกี่ยวของในมหาวิทยาลัย ทําใหพบเพื่อนที่ดีรวมอาชีพจากมหาวิทยาลัยตางๆ รวมทั้งทําใหเกิดการเรียนรูใน ศาสตรอื่นอยางมาก อาทิเชนนิติศาสตรและรัฐศาสตร เปนตน ดังนั้นดิฉันจึงอยากให ปอมท. เปนองคกรที่ยืน ยงคงอยูคูกับสถาบัน/มหาวิทยาลัยตราบนานเทานาน รองศาสตราจารย ดร.รัตนา สนั่นเมือง (ประธานที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย)
  • 5. หน้าที ๕ สารจากประธาน ปอมท. ทานที่ ๓๐ ผมไดมีโอกาสทําหนาที่ประธาน ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัย แหงประเทศไทย (ปอมท.) ในชวงระยะเวลาสั้น ๆ เพียง ๖ เดือน (กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑) มีเวลาทํางานที่จํากัด มีความคิดในการทํางานอีกบางประการ ที่ยังไมมี โอกาสนําเสนอเพื่อใหเพื่อนสมาชิกไดชวยกันพิจารณาและดําเนินการ อยางไรก็ตาม งานของ ปอมท. เปนการทํางานในลักษณะของคณะกรรมการ เปนทีมงานที่มี ความตอเนื่อง ถึงแมวาจะมีการเปลี่ยนแปลงบุคคลที่รับผิดชอบเขามาทํางาน ดังนั้น ดวยความผูกพันของผมที่มีตอองคกร จึงใครขอฝากแนวคิดบางประการไวใหเพื่อนสมาชิกที่ยังคงมีโอกาสทํางาน กันตอไปใน ปอมท. ไดพิจารณา แนวคิดใดทานมีความเห็นสอดคลองก็โปรดไดชวยกันขับเคลื่อนดําเนินการเพื่อ ผลสัมฤทธิ์ตอไป ประการแรก ปอมท. เปนองคกรที่สรางโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเพื่อนสมาชิก เปนองคกรทางปญญา หาก ปอมท. ไดนําหลักเกณฑ เครื่องมือ ตัวแบบขององคกรแหงการเรียนรูมาใชอยางเปนระบบ ผมเชื่อวา ผลสัมฤทธิ์ของงานจะเกิดประสิทธิภาพและมีคุณคายิ่ง ประการที่สอง บทบาทหนาที่ของ ปอมท. ควรจะเปดกวางสามารถคิดและสรางงานที่เกิดประโยชนตอสังคมได เพื่อใหสอดคลองกับพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา พึงดําเนินการ ประการที่สาม การทํางานของ ปอมท. จะมีความตอเนื่อง การดําเนินงานเปนไปอยางรวดเร็ว ทันการณ มี ประสิทธิภาพ และบังเกิดผลเชิงสัมฤทธิ์ ปจจัยสําคัญคือการที่ ปอมท. มีแนวทาง กรอบความคิดในการทํางานที่ ชัดเจน ดังนั้น ปอมท. จะตองมีธรรมนูญขอบังคับที่มีไวเปนตัวแบบขององคกรที่จะใชเปนแนวทางในการ ดําเนินงาน ประการที่สี่ ผมอยากจะเห็น ปอมท. ไดเปนผูนําในการสรางเครือขายขององคกรตัวแทน ในปจจุบันไดมีมหาวิทยาลัย เกิดขึ้นจํานวนมาก ไมวาจะเปนกลุมมหาวิทยาลัยราชภัฎ หรือมหาวิทยาลัยราชมงคล และแตละมหาวิทยาลัยได มีสภาคณาจารยของตัวเอง การสรางเครือขายกับมหาวิทยาลัยเหลานี้ ยอมทําใหเกิดความรวมมือที่ขยายวงกวาง ขึ้น ยอมสงผลใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาดานอุดมศึกษามากขึ้น แนวความคิดทั้งสี่ประการขางตน เปนแนวความคิดที่เกิดขึ้นจากการที่ไดมีโอกาสเขามาทํางานใน ปอมท. ไดเรียนรูจากขอเท็จจริงและประสบการณในการทํางาน เพื่อนสมาชิกเห็นพองในแนวคิดใด ก็ขอไดโปรดชวยกัน ขับเคลื่อนดําเนินงาน แตถาเพื่อนสมาชิกมีความคิดเห็นเปนอยางอื่น ผมเองขอเรียนวาผมเคารพความคิดเห็นของ ทุกทาน ทายสุดนี้ ผมเองตองขอขอบคุณเพื่อนสมาชิกทุกทานที่ไดใหการสนับสนุน และรวมมือการทํางาน ดวยกันมาตลอดระยะเวลาที่ผมไดมีโอกาสทํางานในฐานะสมาชิกคนหนึ่งและในฐานะประธาน ปอมท. ดวยความรักและนับถือ (ดร.ไชยา กุฎาคาร)
  • 6. หน้าที ๖ เลขาธิการ แถลง หนังสือสรุปผลการดําเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท) เลมนี้ ถูกจัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมผลการดําเนินระหวางวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๐ ถึง ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๑ ซึ่งมี ประธาน ปอมท. สองทาน คือ รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง และ ดร.ไชยา กุฎาคาร เปนผูบริหารการดําเนินงานของ ที่ประชุม ปอมท. ในหวง ระยะเวลาดังกลาว ไดมีการดําเนินกิจกรรมมากมายในระหวางรอบปที่ผานมา อาทิ การจัดการประชุมสมัยสามัญ การจัด ประชุมวิสามัญ การดําเนินการคัดเลือกอาจารยดีเดนแหงชาติ การพัฒนาคุณภาพสมาชิก ปอมท. การเดินทางไปศึกษาดู งานดานกลไกธรรมาภิบาล ในอุดมศึกษาของประเทศออสเตรเลีย การจัดสัมมนาวิชาการ “กอบกูสังคมดวยอุดม ศึกษา” ในวันที่ ๑ – ๒ กันยายน ๒๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยรามคําแหง การจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเจาหนาที่งานสภา คณาจารย ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ตลอดไปจนถึงการรวมกับเครือขายทางปญญาในสังคมกลุมอื่นๆ แสวงหา ทางออกในการแกไขวิกฤตการณตางๆ นานา ในบานเมือง กิจกรรมทั้งหลายทั้งปวงที่ไดกลาวมานี้ สําเร็จลุลวงลงไดดวยดี ลวนตองอาศัยความรวมไมรวมมือจากทุกภาค สวนที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนบรรดาประธาน สภาฯ ทั้งหลายที่มารวมกันเปนที่ประชุม ปอมท. กรรมการบริหารที่เปนหัว จักรสําคัญในการผลักดันใหมติและ แนวนโยบายของที่ประชุมไดรับการปฏิบัติใหเห็นผลไดในทางรูปธรรม เจาหนาที่งานสภา ฯ ทุกทาน มหาวิทยาลัยอันเปนตนสังกัดของบุคคลเหลานั้น ตลอดไปจนถึงบรรดาบุคลากรอื่นๆ ในสังคม อันไดแก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือขายของที่ประชุมอธิการบดีฯ เครือขายสภาคณาจารยและขาราชการของ มหาวิทยาลัยราชภัฎ เครือขายสภาคณาจารยและขาราชการของมหาวิทยาลัยราชมงคล ที่ประชุมประธานสภาขาราชการ และลูกจางมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย สื่อมวลชนที่ใหการสนับสนุนเผยแพรผลงานของ ปอมท. ฯลฯ เพราะโดยลําพังตัว ปอมท. เองแลว คงยากที่จะผลักดันใหกิจกรรมทั้งหลายปรากฏลุลวงไปดวยตนเองได แมวาจะมีลักษณะเปนสถาบันแหง ปญญามานานกวา ๒๘ ป แตดวยลักษณะของการเปนงานอาสา ไมมีผลประโยชนในรูปอื่น นอกจากการไดสัมผัสกับมิตรภาพ จากเพื่อนรวมงานที่มาจากตางสถาบัน และความอิ่มเอมใจอันเนื่องจากการไดกระทําความดีตอบแทนสูสังคม ก็ทําให ปอมท. มีลักษณะเปนสถาบันที่มีการจัดตั้งแบบหลวมๆ อายุที่กําลังจะกาวลวงผานปที่ ๒๙ ของที่ประชุม ปอมท. นาจะถือวาเปนสถาบันอันเกาแกแหงหนึ่ง ยิ่งได พิจารณาถึงความจริงในทางประวัติศาสตรวา แนวคิดเรื่องการจัดตั้งสภาเสเนตนี้ มีมาตั้งแตครั้งแรกตั้งมหาวิทยาลัยแหงแรก ขึ้นในประเทศสยามภายใตพระราชดําริ ขององคพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว ลนเกลารัชกาลที่ ๖ ดังปรากฏใน รายงานเรื่อง “โครงการมหาวิทยาลัย” ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผูทรงมีพระมหา กรุณาธิคุณอันลนพน แกแวดวงอุดมศึกษาไทย จนอาจกลาวไดวาทรงเปนประหนึ่ง “พระบิดาแหงการอุดมศึกษาไทย” ก็ นาจะจัด ปอมท. เปนสถาบันเกาแกที่อยูควบคูกับการอุดมศึกษาไทยมาตั้งแตตนไดเชนเดียวกัน จึงควรไดมีการจารึก หลักฐานการทํางานไวเพื่อประโยชนในการอางอิงตอไปในภายภาคหนา รศ.สุรพล ศรีบุญทรง เลขาธิการ ปอมท.
  • 7. หน้าที ๗ สารบัญ รายนามที่ปรึกษา กรรมการบริหาร และประธานสภาฯ ๑ สารจากประธาน ปอมท. ๔ เลขาธิการแถลง ๖ ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย ๘๐ ป แหงการตามรอยพระราชดําริ ...... ๒๘ ป แหงการกอตั้ง ๙ ความเปนมาของสภาคณาจารยในประเทศไทย ๙ “ความเปนตัวแทนบุคลากร” คือ บทบาทที่แทจริง ๑๑ ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท) ๑๒ กรรมการบริหาร ปอมท. ๑๓ กรรมการบริหาร ปอมท. ป ๒๕๕๑ ๑๕ การมอบงานระหวางคณะกรรมการบริหาร ปอมท. ชุด ป ๒๕๕๐ และชุดปจจุบัน ๑๘ การทํางานในรอบป ๒๕๕๑ ของ ปอมท. ๑๙ ๑ การเปนศูนยกลางแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นในดานวิชาการ และเผยแพรความรูสู สาธารณชน ๑๙  การจัดการประชุมสมัยสามัญ ๒๐  การเชิญบรรยายพิเศษ ๒๑  การแลกเปลี่ยนประสบการณ ๒๒  การดําเนินงานวิจัยรวม ๒๗  การจัดการประชุมวิชาการประจําป ๒๘  การรับสมัคร มหาวิทยาลัยนครพนมเขาเปนสมาชิกใหมของ ปอมท. ๓๖  การเผยแพรประชาสัมพันธภารกิจของ ปอมท. ๓๗ ๒ การเปนตัวแทนใหกับบุคลากรมหาวิทยาลัย (เนนการสื่อสารสองทางยอนกลับไปยังผูบริหารระดับสูงระดับประเทศ และ สาธารณชน) ๓๘  การรวมถวายสักการะพระศพ สมเด็จพระพี่นางเธอกรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร ๓๘  แนวทางการดําเนินงานของ ปอมท. ภายใตนโยบายการศึกษาของรัฐบาล ใหม ๓๘  การกําหนดบทบาทภายใตสภาพอุดมศึกษาปจจุบัน ๔๑ o แนวทางรางธรรมนูญที่ประชุม ปอมท. ๒๕๕๑ ๔๓
  • 8. หน้าที ๘ สารบัญ  บทบาทในสวนสัมพันธกับ สกอ. ๔๗ o การนําเสนอขอมูลยอนกลับ (Bottom Up) สู สกอ. ในมุมมอง ของประชาคม ๔๗ o การนําเสนอโครงการพัฒนาศักยภาพประธานสภาฯ ๕๖ o เกี่ยวกับเรื่องสถานที่ทําการของ ปอมท. ๕๖ o เรื่องงบประมาณสนับสนุนการประชุมวิชาการประจําป ๒๕๕๑ ๕๖  บทบาทเรื่อง มหาวิทยาลัยในกํากับ ๕๖  การสงเสริมและรักษาสิทธิของบุคลากรอุดมศึกษาภายใตสภาพอุดมศึกษา ปจจุบัน ๕๗  การประสานความรวมมือกับที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทย (ทปอ.) ๕๘ ๓ การรวมพัฒนาประเทศชาติ และแสวงหาทางออกของประเทศชาติในยามวิกฤติ ๕๙ ๔ การสืบสานแนวพระราชดําริของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก ๖๑ ๕ การสงเสริมธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทย โดยเฉพาะสวนที่วาดวยความโปรงใส การมี สวนรวม และความเปนประชาธิปไตย ๗๒  การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษา ไทย-ออสเตรเลีย ๗๒ ๖ การสมานสามัคคี เกื้อกูล สนับสนุน สงเสริมและพัฒนาวิชาชีพอาจารยไทย ๗๖  แนวทางการสรางเครือขายในรูปสมาพันธ ๗๖  การสัมมนา เจาหนาที่งานสภาคณาจารย/สภาอาจารย/สภาขาราชการ ๗๘  การเขาเยี่ยมคารวะแสดงกตเวฑิตาคุณแก ประธาน ปอมท. ทานแรก ๘๓ ๗ การสงเสริมจรรยาแหงวิชาชีพใหเปนที่ไววางใจแกประชาชน และเปนหลักประกันของ คุณภาพอุดมศึกษา ๘๓  การคัดเลือกอาจารยดีเดนแหงชาติของ ปอมท. ประจําป ๒๕๕๑ ๘๔  การนิมนตพระธรรมโกศาจารย อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย บรรยายธรรม ๘๕ ภาคผนวก  รายนามและสถานที่ติดตอของสภาคณาจารย/สภาพนักงาน/ สภาขาราชการ ๘๙
  • 9. หน้าที ๙ ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย ๘๐ ป แหงการตามรอยพระราชดําริ ...... ๒๘ ป แหงการกอตั้ง สภาคณาจารย คือ องคกรตัวแทนของบรรดาบุคลากรทั้งหลายภายในมหาวิทยาลัย ทําหนาที่เปน ปากเปนเสียงแทนบุคลากร แสดงออกเชิงพฤติกรรมในลักษณะที่สะทอนถึงมาตรฐานทางความรู คุณธรรม และจริยธรรมของบุคลากรทางการศึกษาภายในมหาวิทยาลัย มีบทบาทและสวนรวมในการกําหนดทิศ ทางการพัฒนาการศึกษาในลักษณะของการเสนอแนะใหขอคิดเห็น ความเปนมาของสภาคณาจารยในประเทศไทย แนวคิดเรื่อง สภาคณาจารยในประเทศไทย ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรก ในป พศ. ๒๔๗๑ โดยพระ ดําริของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระ บรมราชชนก ผูทรงมีบทบาทสําคัญ อยางยิ่ง ในการ กําหนดรูปแบบ แนวคิด และ การพัฒนามหาวิทยาลัย ขึ้นในประเทศไทย และปรากฏเปนลายลักษณอักษร ชัดเจนขึ้นในป พ.ศ.๒๔๗๔ โดยสมเด็จพระเจาพี่ยา เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร องคประธาน คณะกรรมการดําริรูปการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ในขณะนั้น ไดทรงดําริ ใหมี “สภา Senate ” ขึ้นดวยนอกเหนือจากการมี สภามหาวิทยาลัย (Board of Council) โดยทรงมี พระประสงคใหสภา senate มีหนาที่รับทราบกิจการ เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยทุกอยาง ทั้งทางธุรการ และ วิชาการ แตเปนเรื่องที่นาเสียดายวา สภาพสังคมและการเมือง ในยุคเปลี่ยนแปลงการปกครอง อันนํามาซึ่งความ ขัดแยงรุนแรงระหวางเชื้อพระวงศ และกลุมผูกอการ คณะราษฎร ไดมีผลกระทบตอทิศทางการพัฒนาของ อุดมศึกษาไทยเปนอยางมาก ถึงขนาดสมเด็จพระเจาพี่ ยาเธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทรถูกจับกุมคุมขังตองโทษ ถึงขั้นประหารชีวิตอันเปนผลสืบเนื่องจากกรณีกบฏบวร เดช ถูกถอดฐานันดรศักดิ์ และเรียกคืนเครื่องราชอิสริ ยาภรณทั้งหมด โดยใหเรียกชื่อวา “นักโทษชายรังสิต” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
  • 10. หน้าที ๑๐ ภายใตการปกครองแบบเผด็จการนั้น ทาง รัฐบาลทหารยังไดสงนายทหารและนักการเมืองสําคัญๆ มากํากับดูแลจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอยางใกลชิด ไมวาจะเปน จอมพล ป.พิบูลสงคราม (อธิการบดี ๒๔๘๗ และ ๒๔๙๒) จอมพล ประภาส จารุเสถียร (อธิการบดี ๒๕๐๖ – ๒๕๑๒) จอมพล สฤษ ธนะรัชต (นายกสภามหาวิทยาลัย ๒๕๐๒ – ๒๕๐๖) หรือ จอม พลถนอม กิตติขจร (นายกสภามหาวิทยาลัย ๒๕๐๖ – ๒๕๑๔) ฯลฯ อยางไรก็ตาม สภาพเศรษฐกิจและสังคมไทย หลังจากนั้นไดพัฒนาไปอยางมากตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม จนถึงจุดอิ่มตัวที่สังคมตองการ สิทธิและเสรีภาพ โดยเฉพาะในแวดวงวิชาการนั้น ความตองการเสรีภาพทางวิชาการไดทําใหมีการพบปะ พูดคุยกันเกี่ยวกับบทบาทของมหาวิทยาลัยในประเทศ ไทยระหวางกลุมอาจารยของจุฬาฯ และธรรมศาสตร เกิดขึ้นเปนระยะๆ นับแตป พ.ศ.๒๕๐๖ เปนตนมา (การประชุมที่ปรากฏเปนหลักฐานชัดเจนครั้งแรกเกิดที่ คณะรัฐศาสตรจุฬาฯ ระหวางวันที่ ๑ – ๕ มิถุนายน ๒๕๐๗) ทําใหเกิดเปนแนวคิดเกี่ยวกับการจัดตั้ง “สภา คณาจารย” ขึ้นเพื่อเปดโอกาสใหบรรดาอาจารยไดมี สวนรวมในการบริหารมหาวิทยาลัย ผลของการพบปะพูดคุยกัน ของหมูอาจารย นําไปสูแนวทางปฏิบติที่ชัดเจนขึ้นในป พ.ศ. ๒๕๐๘ เมื่อจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทดลองจัดตั้งสภา ศาสตรา จารยเลียนแบบแนวคิด Faculty Senate ขึ้น เปนครั้งแรก โดยกําหนดใหผูมีตําแหนงศาสตราจารย เปนสมาชิกของสภานี้ แตปรากฏวาสภาดังกลาวตอง สลายตัวไปในระยะเวลาตอมาเพราะลําพัง ศาสตราจารย ไมนาจะเถือเปนตัวแทนของบรรดา อาจารยทั้งมหาวิทยาลัยได (การกําหนด ใหมีเฉพาะผูมี ตําแหนงทางวิชาการสูงๆ ในสภาคณาจารยนั้น เปน การกลาวอางวาทําตามอยางสากลและมักใชเปนเหตุใน การพยายาม ยุบสภาคณาจารยลงใหเหลือเพียงแคสภา วิชาการ แตก็เปนที่ทราบกันดีวาผูที่จะเปนอาจารยใน ตาง ประเทศได มักมีตําแหนงเปนศาสตราจารยอยูแลว เหตุการณสําคัญเกี่ยวกับงานสภาคณาจารย ๒๔๗๑ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก มีพระราชดําริวาควรมีการจัดตั้ง Faculty Senate ขึ้นในจุฬาฯ ๒๔๗๓ สมเด็จพระเจาพี่ยาเธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร องคประธานคณะกรรมการดําริรูปการจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มีพระราชดําริวาควรมีการจัดตั้ง Faculty Senate ควบคูไปกับสภามหาวิทยาลัยของ จุฬาฯ ๒๕๐๖ กลุมอาจารยมหาวิทยาลัยจาก จุฬาฯ และ ธรรมศาสตร มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับบทบาทของมหาวิทยาลัยไทย ๒๕๐๗ มีการสัมนาที่คณะรัฐศาสตร จุฬาฯ เกี่ยวกับการ จัดตั้ง “สภาคณาจารย” เพื่อเปดโอกาสใหอาจารย มหาวิทยาลัยในการบริหารมหาวิทยาลัย ๒๕๐๘ มีการทดลองตั้ง “สภาศาสตราจารย” ขึ้นในจุฬาลง กรณมหาวิทยาลัย ๒๕๑๒ คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุง พรบ. จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เสนอใหมีการจัดทํา “ขอบังคับสภา คณาจารย “ เปนกฎหมายลูกประกอบ พรบ. ๒๕๑๔ สโมสรอาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดย ประธานสโมสร “ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล” มีสวน รวมผลักดันขอบังคับสภาคณาจารย มีการเลือกตั้ง สภาคณาจารยขึ้นเปนครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มี ดร.สปนนท เกตุทัต เปน ประธานสภาคณาจารย ดร.วิจิตร ศรีสะอาน เปน เลขาธิการสภาคณาจารย ๒๕๒๓ มีการประชุมสภาคณาจารยมหาวิทยาลัยครั้งแรกที่ เกษตรศาสตร โดยตัวแทน ๓๒ คน จาก ๙ มหาวิทยาลัย และตกลงมีมติรวมกันในการใชชื่อ “ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยทั่ว ประเทศ “ ยอวา “ปอมท” และใชชื่อภาษาอังกฤษ วา Council of University Faculty Senate of Thailand (CUSFT)” และควรไดบันทึกไวเปน เกียรติประวัติแก ปอมท ไวดวยวา ทานประธาน ปอ มท. คนแรกคือ ศ.ระพี สาคริก
  • 11. หน้าที ๑๑ ในขณะที่ บางมหาวิทยาลัยในประเทศไทยอาจจะไมมี ศาสตราจารยเลยก็ได) ดวยสภาพลุมๆ ดอนๆ ของระบบการบริหาร อุดมศึกษาของไทย ทําใหสภาคณาจารยไดรับการ กอตั้งขึ้นเปนตัวเปนตนจริงๆ ในยุคที่ประชาธิปไตยเริ่ม เบงบาน (๒๕๑๔) เติบโตจนเริ่มสรางเครือขายของ สภาคณาจารยขึ้นในลําดับตอมา และกลับซบเซาลงไป ถึงขนาดมีผูเสนอแนะใหยุบสภาคณาจารยในทุก มหาวิทยาลัยทิ้งเสียในยุครัฐบาลธานินท กรัยวิเชียร (๒๕๒๐) สภาคณาจารยกลับมาเติบโตไดอยางมั่นคง อีกครั้ง เมื่อมีการจัดตั้งที่ประชุมประธานสภาอาจารย มหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย หรือ ปอมท. ใน ป พ.ศ.๒๕๒๓ มีบุคลากรคุณภาพจํานวนมากเขามารวม พัฒนาสภาคณาจารย และที่ประชุม ปอมท ไมวาจะ เปน ศ.ดร.สิปนนท เกตุทัต ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอาน ศ. ระพี สาคริก ศ.นพ.รุงธรรม ลัดพลี ศ.นพ. ประดิษฐ เจริญไทยทวี รศ.ดร.มนตรี เจนวิทยการ ศ.ดร. สมหวัง พิธิยานุวัฒน ศ.ดร.คุณหญิง สุชาดา กีระนันท ฯลฯ สรางความเข็มแข็งใหกับองคกรสภาคณาจารย และเปนหลักเปนฐานใหบรรดาคณาจารยรุนหลังไดใช เปนแบบอยางในการดําเนินการมาจนถึงปจจุบัน “ความเปนตัวแทนบุคลากร” คือ บทบาทที่แทจริง ขอบังคับวาดวยสภาคณาจารย และ พรบ.ของ แตละมหาวิทยาลัยมักกําหนดบทบาทหนาที่ของสภา คณาจารยไวในฐานะ “ที่ปรึกษาของอธิการบดี” และ พูดถึงบทบาทหนาที่ในฐานะ “ตัวแทนของบุคลากร ทั้งหมดภายในมหาวิทยาลัย” ไวอยางผิวเผิน ทั้งที่ใน ความถูกตองแลว ควรจะระบุบทบาทการเปนตัวแทน คณาจารยเปนเรื่องสําคัญ และใหเรื่องของการเปนที่ ปรึกษาเปนเรื่องรองลงไป เพราะการที่สภาคณาจารย จะใหคําแนะนําใดๆ แกผูบริหาร ก็จะตองเปนไปใน ฐานะตัวแทนของบุคลากรเปนหลัก ดังจะเห็นไดจาก การที่ทุกมหาวิทยาลัยกําหนดใหการไดมาซึ่งกรรมการ สภาคณาจารย นั้นมาจากการเลือกตั้ง แทนที่จะเปน การสรรหา หรือหยั่งเสียงเชนผูบริหาร ผูบริหารที่ชาญฉลาดและมีจิตใจเปนประชาธิปไตย จึงไดประโยชนจากสภาคณาจารยในฐานะของ แหลงขอมูลที่เปนกลาง เปนอิสระ ปลอดจาก ผลประโยชน แสดงออกถึงทัศนคติของบุคลากรที่มีตอ นโยบายหรือแผนการดําเนินการตางๆ เพราะถึงแม ผูบริหารจะสามารถเขาถึงผูใตบังคับบัญชาของตนได ตามปรกติตามลําดับชั้นการบังคับบัญชา แตกลไก อํานาจในการพิจารณาความดีความชอบและการใหคุณ ใหโทษก็มักปดโอกาสที่ผูบริหารจะไดรับฟงขอมูล ขาวสารยอนกลับ (feed back) ที่แทจริงจากภาคสวน ตางๆ ที่อยูใตการบังคับบัญชาของตน เนื่องจาก ผูบังคับบัญชาระดับกลางและระดับลางๆ ที่รับคําสั่ง หรือนโยบายไปปฏิบัติมักเลี่ยงที่จะโตแยงคําสั่งหรือ นโยบายที่เบื้องบนกําหนดลงมาแมจะเห็นถึงความไม ถูกตอง การมีสภาคณาจารย จึงเปนชองทางใหบรรดา ผูใตบังคับบัญชา ไดสงผานสัญญาณยอน กลับไปสู ผูบริหารในลักษณะของการสื่อสาร ๒ ทาง (Two ways communications) โดยไมจําเปนตองพูด ออกไปดวยตนเอง เปรียบเหมือนระบบควบคุมทาง อุตสาหกรรม หรือระบบควบคุมทางวิศวกรรม ที่อาศัย เพียงอุปกรณตรวจจับสัญญาณเล็กๆ ปอน กลับ สัญญาณเขาสูระบบควบคุม ก็จะชวยใหการบริหาร ระบบเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เสถียร และเติบโต ไดอยางมั่นคง (Feedback control system) มหาวิทยาลัยที่ประกอบไปดวยทรัพยากรมหาศาลทั้ง บุคคล สถานที่ ตัวเงิน ก็พึงอาศัยกลไกสภา คณาจารยซึ่งตองการทรัพยากรรองรับเพียงเล็กนอย มากนี่แหละ เปนตัวสงผานสัญญาณปอนกลับเขาสู ระบบบริหาร (อธิการบดี) หรือระบบควบคุมกํากับ (สภามหาวิทยาลัย) นอกจากนั้น การที่สภาคณาจารยสวนใหญมัก มีชองทางสื่อสารกับบรรดาบุคลากรซึ่งเลือกตั้งพวกตน
  • 12. หน้าที ๑๒ เขามาไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนชองทางการ สื่อสารที่ไมมุงเนนเรื่องการประชาสัมพันธ หรือการ โฆษณาชวนเชื่อ มีความนาเชื่อถือ มีความจริงใจ ไมมุง แสวงหาผลประโยชน (หากกรรมการสภาคณาจารย แสดงออกถึงความไมจริงใจยอมไมไดรับการเลือกตั้ง กลับเขามาในสมัยหนา) การสื่อสารผานสภาคณาจารย จึงเปนการสื่อสารทางเลือก (Alternative communications) อีกชองทางหนึ่งที่ผูบริหาร สามารถผลักดัน หรือสรางความเขาใจกับประชาคมใน เรื่องนโยบายที่มีลักษณะซับซอน หรือนโยบายที่ตองมี การเสียสละประโยชนระยะสั้นไดเปนอยางดี กลาวไดวา การใหคําแนะนําปรึกษาแกผูบริหาร นั้นเปนเพียงสวนหนึ่งของหนาที่สภาคณาจารย ซึ่งตาม ความเปนจริงแลว ผูบริหารที่ไมสนใจความมีสวนรวม ของบุคลากรก็อาจจะไมสนใจรับฟงคําแนะนําจากสภา คณาจารยเลยเสียดวยซ้ํา แตในฐานะตัวแทนของ บุคลากร สภาคณาจารยยังถูกกําหนดใหตองเขาไปมี สวนรวมในการสรรหาผูบริหารดวยเสมอ เปรียบได กับคณะกรรมการกลางการเลือกตั้ง (กกต.) ที่มีสวน รับผิดชอบในการไดมาซึ่ง สมาชิกวุฒิสภา (สว.) และ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร (สส.) ที่เขาไปทําหนาที่ บริหารบานเมือง ตลอดจนอาจเขาไปมีสวนรวมใน การรางกฏหมายสําคัญๆ ซึ่งมีผลบังคับใชกับบุคลากร ทั้งสถาบัน ที่สําคัญ ดวยสถานะที่เปนกลางปลอดจาก ผลประโยชน สภาคณาจารยจึงอาจถูกกําหนดใหทํา หนาที่อื่นๆ อันเปรียบเหมือนองคกรอิสระ องคกร กลาง เชน ทําหนาที่รับฟงความคิดเห็นของประชาคม การลงประชามติ ฯลฯ หรือหาทางยุติประเด็น ขัดแยงภายในองคกร เพราะความเปนตัวแทนจากการ เลือกตั้ง เปดโอกาสใหสภาคณาจารยเขาไปมีสวนรวม รับทราบปญหา ในฐานะของกรรมการสอบสวนหา ขอเท็จจริง หรือมีสวนไกลเกลี่ยขอพิพาทประดุจเปน อนุญาโตตุลาการ และดวยการมีฐานะเปนตัวแทน ของบุคลากรทั้งมหาวิทยาลัย จึงทําใหสภาคณาจารย ตองมีภาระในการรักษาผลประโยชนของสวนรวม (ทั้ง ในระดับองคกร และในระดับชาติ) ไปดวยอยาง หลีกเลี่ยงไมได ตองเขาไปเกี่ยวของกับเกณฑการ พิจารณาผลการปฏิบัติงาน การพิจารณาผลงาน วิชาการ และเรื่องของมาตรฐานทางวิชาการ การให ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายและแผนการดําเนินงาน ของมหาวิทยาลัย ตลอดไปจนถึงเรื่องอนาคตและ ความมั่นคงในอาชีพของบุคลากร และอนาคตของ มหาวิทยาลัย ทําใหสภาคณาจารยตองเรียกรองความ ชัดเจนในการเตรียมความพรอมเรื่องมหาวิทยาลัยใน กํากับ แผนการดําเนินการ สวัสดิการ และ ความกาวหนาของบุคลากรหลังจากปรับเปลี่ยน สถานภาพไปเปนมหาวิทยาลัยในกํากับแลว
  • 13. หน้าที ๑๓ ที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท) ที่ประชุมประธานสภามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) ไดเริ่มดําเนินการมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๓ ในการ ประชุมครั้งที่ ๑ ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มีผูเขารวมประชุมจากบรรดาประธาน สภาคณาจารย และผูแทน สภาคณาจารยของมหาวิทยาลัย ๙ แหง จํานวน ๓๒ คน โดยที่ประชุมมีมติใหใชชื่อเรียกองคกรของตนวา “ที่ประชุม ประธานสภาคณาจารยมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ (ปอมท)” ทําหนาที่ในการปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนประสบการณ และ ความคิดเห็นเกี่ยวกับ บทบาทและปญหาของสภาอาจารยและสถาบัน อุดมศึกษาตาง ๆ รวมทั้งการเสนอแนะแนวทาง ในการแกปญหาของชาติ และสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาตอผูมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง มุงประสานความ รวมมือในการพัฒนาวิชาชีพและจรรยาบรรณ ตลอดจนปกปองสิทธิ เสรีภาพและสวัสดิการของคณาจารย ในการจัดตั้งที่ประชุมประธานสภาคณาจารย มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ (ปอมท)” ในครั้งนั้น บรรดา ผูรวมกอตั้งยังไดรวมกันพิจารณาหาทางปรับปรุงระบบ บริหารงานบุคคลของทบวงมหา วิทยาลัยรวมกัน ตลอดจนกําหนดใหมีการประชุมสมัยสามัญเปนประจํา ในชวงระยะเวลา ๑ ถึง ๒ เดือน โดยอาจจัดการ ประชุมทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด เพื่อให บุคลากรของสภาคณาจารยไดมีโอกาสเรียนรูและสัมผัส กับสภาพการทํางานของเพื่อนรวมวิชาชีพในสถาบัน อื่นๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพความพรอมของ มหาวิทยาลัยที่เสนอตัวเปนเจาภาพจัดประชุม สวน คาใชจายในการดําเนินกิจกรรมอยางเชน การประชุม การทําจดหมายขาว การทําวิจัย ฯลฯ นั้น อาศัย ความกรุณาจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในการใหการ สนับสนุนดานการเงิน การดําเนินงานของ ปอมท นั้นสวนใหญเปนไป ตามขอบังคับวาดวยการบริหารงานของที่ประชุม ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (เริ่มจากเจตนารมยที่กําหนดไวตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๓ มี การปรับปรุงขอบังคับและรูปแบบองคกรของที่ประชุม ฯ เปนระยะๆ ตลอดมา และปรับเปลี่ยนรูปแบบการ ประชุมจากแบบไมเปนทางการไปสูระบบการประชุมที่ มีระเบียบ ขอบังคับที่แนนอน ตลอดจนมีการปรับปรุง แกไขเพิ่มเติมขอบังคับครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๓๑ และครั้ง ที่สอง พ.ศ. ๒๕๓๖) โดยขอบังคับวาดวยการ บริหารงานของที่ประชุม ปอมท. นั้น กําหนดให ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยภายใตสังกัดเดิมของ ทบวง มหาวิทยาลัยจํานวน ๒๐ แหง มาประชุม รวมกันตามวาระที่กําหนดขึ้น แลวเลือกตั้งกันเองใหได ประธาน ๑ คน รองประธาน ๒ คน และเลขาธิการอีก ๑ คน มีวาระการดํารงตําแหนง ๑ ป
  • 14. หน้าที ๑๔ กรรมการบริหาร ปอมท. เพื่อการทํางานเปนไปอยางราบรื่นมีประสิทธิ ภาพ ยังไดกําหนดใหที่ประชุมประธานสภาอาจารย สามารถแตงตั้ง คณะกรรมการบริหาร ขึ้นชุดหนึ่งจากผู ที่เปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือกรรมการสภาอาจารย มหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการ บริหาร มีวาระการ ดํารงตําแหนงคราวละ ๑ ปนับตามวาระของประธาน รองประธาน และ เลขาธิการ ซึ่งทั้งหมดนี้เรียกรวมกัน วา “คณะกรรมการบริหาร” อันประกอบดวย ประธาน รองประธาน เลขาธิการ รองเลขาธิการ ผูอํานวยการ ฝายวิชาการ ผูอํานวยการฝายประชา สัมพันธ ผูอํานวยการฝายวิเคราะหนโยบายและแผน ผูอํานวยการฝายการเงิน และที่ ปรึกษาอีกจํานวนหนึ่ง ซึ่งไมเกิน ๗ คน ฝายอํานวยการตางๆ ของ ปอมท มีบทบาท และหนาที่ดังตอไปนี้ ฝายวิชาการ มีหนาที่และความรับผิดชอบในการผลิต และเผยแพรเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับการ บริหารงานบุคคล และการพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษาโดยทั่งไปรวมทั้งการจัดหา ผูทรงคุณวุฒิไปเปนวิทยากรตามคํารองของสภา อาจารยมหาวิทยาลัย  ฝายวิเคราะหนโยบายและแผน มีหนาที่และความ รับผิดชอบในการวิเคราะหปญหาการบริหารงาน บุคคล และการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของ ประเทศ เสนอแนะทางแลือกของนโยบายเพื่อ แกปญหาและประเมินความเปนไปไดของทางเลือก ตางๆ รวมตลอดจนถึงการวางแผนดําเนินงานเพื่อให ขอเสนอของที่ประชุมประธานสภาอาจารยบรรลุผล สําเร็จ  ฝายประชาสัมพันธ มีหนาที่และความรับผิดชอบ เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ บทบาทของที่ประชุม การวิเคราะหและการประเมินขาวรวมตลอดถึงการ สื่อสารสัมพันธกับสื่อมวลชนและฝายประชาสัมพันธ ของมหาวิทยาลัยตางๆ อุปสรรคสําคัญในการดําเนินงานของ ปอมท. ถึงแมวา ที่ประชุม ปอมท. จะผานรอนผานหนาวมา เกือบ ๓๐ ปแลวก็ตาม แตดวยสภาวะที่เปนองคกรซึ่งเกิดขึ้น เองตามธรรมชาติของอาจารยมหาวิทยาลัย จึงยังคงมีปญหา อุปสรรคในการดําเนิน งานหลายๆ อยางอันยากจะแกไขให ลุลวงไปได ยก ตัวอยางเชน ๑.สถานะของที่ประชุม ปอมท. อันมีที่มาจากอาจารยหลายๆ มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ทําใหการติดตอประสานงานทํา ไดคอนขางลําบาก เพราะตองมีการเดินทางไปๆ มาๆ จึง ทําใหการบริหารจัดการไมคลองตัว ๒.ความสนใจเรื่องบทบาทของสภาคณาจารยในหมูอาจารย/ ประชาชนยังมีนอย หลายๆ คนไมเคยรับทราบเลยดวยซ้ํา วามีองคกรที่เปนตัวแทนของอาจารยมหาวิทยาลัยเชนนี้อยู หรือแมจะรูวามีองคกรสภาคณาจารยอยู ก็ไมทราบถึง บทบาทหนาที่ ๓.การครบวาระของประธานสภาอาจารยแตละแหงไมพรอม กัน ทําใหเปนอุปสรรคตอการดําเนินงาน และเกิด ขอจํากัดในการคัดเลือกบุคลากรเขามาดํารงตําแหนง บริหารของ ปอมท. เชน การที่ ประธานสภาคณาจารย ของจุฬาฯ และธรรมศาสตรมีวาระการดํารงตําแหนงเพียง ๑ ป นั้นไมเอื้อตอการมาดํารงตําแหนงเปน ประธาน ปอ มท. ๔.การไมมีสํานักงานและเจาหนาที่ประจําที่แนนอน เคลื่อนยายไปตามตนสังกัดของประธาน และเลขาธิการ ก็ สงผลใหการดําเนินกิจกรรมทางดานธุรการไมตอเนื่อง เทาที่ควร เอกสารสําคัญๆ กระจัดกระจายไปในที่ตางๆ และมีโอกาสสูญหาย ที่สําคัญคือขาดความตอเนื่องของ ผูดําเนินการ เชนบางครั้งบุคลากรอาจตองเรียนรูงานใหม แทบทั้งหมด และไมมีแหลงที่อยูแนนอนใหอางอิงไดใน การติดตอกับองคกรภายนอก ๕.งบประมาณที่มีอยูคอนขางนอยของ ปอมท. ทําให ตอง จํากัดรูปแบบกิจกรรมไวเฉพาะ ที่ไมตองมีคาใชจายมากนัก อีกทั้งยังทําใหการเดินทางเพื่อมารวมประชุมของบุคลากร ตองอาศัยการสนับสนุนจากตนสังกัดเปนหลัก
  • 15. หน้าที ๑๕  ฝายการเงิน มีหนาที่และความรับผิดชอบในการรับ จาย เก็บและรักษางบประมาณ จัดทํารายงานการรับ จายงบประมาณประจําปเสนอตอที่ประชุม ประธานสภาอาจารย รวมทั้งเสนอแนะตอที่ประชุม เกี่ยวกับเหลงและวิธีการ  ฝายพัฒนาบุคลากร มีหนาที่และความรับผิดชอบ ในการอบรม พัฒนา และอื่นๆ ตามที่ประธาน มอบหมาย  ฝายกิจการพิเศษ มีหนาที่และความรับผิดชอบใน การจัดกิจกรรมพิเศษ การศึกษาดูงานในและ ตางประเทศ หรือลักษณะงานที่ชวยเหลืองานฝาย อื่นๆ และชวยเหลือในการจัดประชุมสัมนาประจําป รมทั้งงานอื่นๆ ตามที่ประธานมอบหมาย  ฝายกิจการสังคม มีหนาที่และความรับผิดชอบใน การติดตอประสานงานกับฝายการเมือง นักการเมือง พรรคตางๆ หนวยงานของรัฐ และเอกชน ตลอดจนประชาชน องคกรอิสระตางๆ ใหคําแนะนํา ปรึกษา เกี่ยวกับการดําเนินงานของที่ประชุม ปอมท. ในดานกิจกรรมสังคม และงานอื่นๆ ตามที่ประชุม ปอมท. มอบหมาย  ฝายสวัสดิการ มีหนาที่และความรับผิดชอบใน การติดตอประสานงานกับหนวยงานของรัฐ และ เอกชน ตลอดจนประชาชน มูลนิธิ องคกรอิสระ ตางๆ เพื่อขอความสนับสนุนดานการเงิน และขอรับ ความสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ของ ปอมท. ให คําแนะนําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินงานของที่ ประชุม ปอมท. ในดานสวัสดิการตางๆ สงเสริมและ พัฒนา จัดหาผลประโยชนตางๆ ใหกับที่ประชุม ปอ มท. จัดทําและเสนอรายงานเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของฝายตอที่ประชุม ปอมท. และงานอื่นๆ ตามที่ ประชุม ปอมท. มอบหมาย กรรมการบริหาร ปอมท. ป ๒๕๕๑ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ป พ.ศ. ๒๕๕๑ นี้ นับวามีลักษณะพิเศษแตกตางจาก กรรมการบริหาร ปอมท. ชุดที่ผานๆ มา เนื่องจากประกอบไปดวย กรรมการบริหารถึง ๒ ชุด คือ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๒๙ ซึ่งมี รศ.ดร. รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนงตั้งแต วันที่ ๒๓ ธค. ๒๕๕๐ ถึง ๑ กค. ๒๕๕๑ และ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๓๐ ซึ่งมี ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว. ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนงตั้งแต วันที่ ๑ กค. ๒๕๕๑ ถึง ๒๓ ธค. ๒๕๕๑ ทั้งนี้ สืบเนื่องจากการประชุมที่ประชุม ประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๐ วันอาทิตยที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๐ ณ หองประชุมรัชดา ๔ โรงแรม เจาพระยาปารค รัชดา กทม ระเบียบวาระที่ ๒. เรื่องการเลือกตั้งประธาน และรองประธาน ที่ ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศ ไทย (ปอมท.) ซึ่งมีกรรมการ ปอมท. ผูมีสิทธิออกเสียง จากมหาวิทยาลัยตางๆ เขารวมประชุม ๑๘ ทานนั้น ไดมีการเสนอชื่อผูสมควรไดรับการเลือกเปน ประธาน ปอมท. โดยมีผูใหการรับรอง ตามขอบังคับฯ จํานวน ๔ รายชื่อ ดังนี้  ดร. ไชยา กุฎาคาร  ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ  รศ.รัตนา สนั่นเมือง  ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท
  • 16. หน้าที ๑๖ ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ หนึ่งในผูไดรับการเสนอ ชื่อฯ ไดขอสละสิทธิ์ในการไดรับเลือกเปนประธาน ปอ มท. ที่ประชุมไดลงคะแนนโดยวิธีลับ โดยมีผูมีสิทธิ ออกเสียงในที่ประชุมรวม ๑๘ ทาน ผลการลงคะแนน ทั้ง ๔ ครั้ง ปรากฏวาทั้ง ดร.ไชยา กุฎาคาร และ รศ.รัตนา สนั่นเมือง ตางมีคะแนนใกลเคียงกึ่งหนึ่ง แต ไมเกินกึ่งหนึ่ง ซึ่งถือเปนอันสิ้นสุดตามขอบังคับ ปอ มท. ผูถูกเสนอชื่อทั้งสองทานจึงไดตกลงที่จะทํางาน รวมกัน โดยใหดํารงตําแหนงคราวละ ๖ เดือน และ มอบให รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ดํารงตําแหนง ๖ เดือน แรก และ ดร. ไชยา กุฎาคาร ดํารงตําแหนงในรอบ ๖ เดือนหลัง มติที่ประชุม เห็นชอบ โดยระหวาง ๖ เดือนที่ประธานทานหนึ่งดํารงตําแหนง ใหอีกทาน ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษาประธาน ปอมท. ซึ่งเปน ตําแหนงเฉพาะกิจ หลังจากนั้น ไดมีการการเลือกตั้งรองประธาน ปอมท. คนที่ ๑ และคนที่ ๒ ตามขอบังคับของ ปอมท. ใชวิธีการเดียวกับการเลือกตั้งประธาน ปอมท. ที่ ประชุมไดเสนอชื่อ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท และ รศ.มัลลิกา คณานุรักษ หลังจากนั้น ที่ประชุมได ลงคะแนนโดยวิธีลับ ปรากฏผลการลงคะแนน ทั้งสอง ทานตางมีคะแนนใกลเคียงกึ่งหนึ่ง แตไมเกินกึ่งหนึ่งทั้ง ๔ ครั้ง ตามขอบังคับ ปอมท. ถือเปนอันสิ้นสุดโดยไมมี ขอตัดสินวาใครจะไดดํารงตําแหนง รองประธาน ปอ มท. คนที่ ๑ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท จึงไดสละ สิทธิ์ ให รศ.มัลลิกา คณานุรักษ เปนรองประธานปอ มท. คนที่ ๑ มติที่ประชุมเห็นชอบมอบ รศ.มัลลิกา คณานุรักษ เปนรองประธาน ปอมท. คนที่ ๑ ตอมา ที่ประชุมไดเสนอชื่อ ผศ.ดร.นพพร ลี ปรีชานนท และ อาจารยพงศทิพย อินทรแกว เปนผู สมควรดํารงตําแหนงรองประธานปอมท. คนที่ ๒ ที่ ประชุมไดมีการลงคะแนนโดยวิธีลับ จํานวน ๑ ครั้ง ปรากฎผลคะแนน ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ได คะแนน ๑๓ อาจารยพงทิพย อินทรแกว ไดคะแนน ๔ และงดออกเสียง ๑ คะแนน มติที่ประชุม เห็นชอบ มอบ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท เปนรองประธาน ปอ มท. คนที่ ๒ แมวา กรรมการบริหาร ปอมท. ป ๒๕๕๑ จะประกอบไปดวย กรรมการบริหารถึง ๒ ชุด คือ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๒๙ ซึ่งมี รศ.ดร. รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนง ตั้งแต วันที่ ๒๓ ธค. ๒๕๕๐ ถึง ๑ กค. ๒๕๕๑ และ คณะกรรมการบริหาร ปอมท ชุดที่ ๓๐ ซึ่งมี ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว. ดํารงตําแหนงประธาน ปอมท. มีวาระดํารงตําแหนง ตั้งแต วันที่ ๑ กค. ๒๕๕๑ ถึง ๒๓ ธค. ๒๕๕๑ แต ดวยเจตนาที่จะใหเกิดความตอเนื่องในการดําเนินงาน ของ ปอมท. ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธาน ปอมท. ทานที่ ๓๐ จึงเลือกที่จะยังคงใช กรรมการบริหารที่มา จากชุดเดิม ดังมีรายนามดังตอไปนี้
  • 17. หน้าที ๑๗ คณะกรรมการบริหาร ปอมท. ชุดปจจุบัน ที่ปรึกษา ปอมท. ๗ ทาน ดร.สุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ศ.ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ผอ.สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ศ.ดร. อานนท บุณยรัตเวช เลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติ รศ.ดร.คุณหญิง สุมณฑา พรหมบุญ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศ.อมร จันทรสมบูรณ อดีตเลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา คุณ ณรงค โชควัฒนา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ คุณโสภณ สุภาพงษ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ประธาน ปอมท . คนที่ ๒๙ รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ม.นเรศวร ประธาน ปอมท . คนที่ ๓๐ ดร. ไชยา กุฎาคาร ประธานสภาคณาจารยและขาราชการ มศว. รองประธานปอมท.คนที่ ๑ รศ.มัลลิกา คณานุรักษ ประธานสภาอาจารย ม.สงขลานครินทร (ปตตานี) รองประธาน ปอมท. คนที่ ๒ ผศ.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ประธานสภาอาจารย ม.ธรรมศาสตร เลขาธิการ ปอมท. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง รองประธานสภาคณาจารย มจพ. รองเลขาธิการ ปอมท. อ.ประสิทธิ์ บุญไทย รองประธานสภาคณาจารย ม.รามคําแหง ผอ. ฝายประชาสัมพันธ ผศ.วันชัย ลีลากวีวงศ ประธานสภาคณาจารย ม.ศิลปากร ผอ.ฝายวิเคราะหนโยบายฯ รศ.ดร.พอพันธ วัชจิตพันธ ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ผอ.ฝายการเงิน รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ ประธานสภาคณาจารย ม.แมโจ ผอ.ฝายการกิจการสังคม ผศ.เจริญ คุวินทรพันธุ ประธานสภาคณาจารย นิดา ผอ.ฝายสวัสดิการ ผศ.ดร.จุฑามาศ จิตเจริญ ประธานสภาคณาจารย ม.อุบลราชธานี ผอ.ฝายวิชาการ อ.พงศทิพย อินทรแกว ประธานสภาคณาจารย สจล. ผอ. ฝายกิจการพิเศษ อ.ชัยนรินท จันทวงษโส ประธานสภาคณาจารยและพนักงาน มจธ. ผอ.ฝายพัฒนาบุคลากรฯ ผศ.ปฐม ปฐมธนพงศ ประธานสภาคณาจารย ม.เชียงใหม เลขานุการ ปอมท นางกองเพ็ชร สุนทรภักดิ์ หัวหนาสํานักงาน สภาคณาจารย มจพ. ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาว ทิพากร ดิษโต เจาหนาที่สํานักงานสภาคณาจารย มน. ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นางสาวกรองแกว เรืองพุม เจาหนาที่สํานักงานสภาคณาจารย มจพ. ผูชวยเลขานุการ ปอมท. นายยุทธศาสตร อิสระวงศสกุล เจาหนาที่สํานักงานสภาคณาจารย มร.