SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
2P Safety
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
กรรมการพิจารณาข้อกฎหมาย สภาการพยาบาล
อนุกรรมการพิจารณากรณีอุธรณ์ สานักงานหลักประกันสุขภาพ
คลิปข่าว ฟ้องค่าเสียหาย รพ แพร่ ทาคนไข้พิการ.mp4
"ทั้งนี้ สืบเนื่องจาก เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 47 นายยงยุทธ หรือ น้องโจ้ ซึ่งขณะนั้นอายุ 19 ปี เพิ่งสอบติดคณะ
วิศวกรรมเครื่องกล ม.นเรศวร จ.พะเยา ได้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ไปซื้อของและถูกรถกระบะเฉี่ยวชนล้มหมด
สติ ก่อนจะถูกนาตัวส่ง รพ.ร้องกวางในเวลาต่อมา และถูกส่งตัวไปรักษาต่อที่ รพ.แพร่ โดยต้องพักรักษา
ตัวอยู่ในห้อง ICU นานถึง 27 วัน อาการสมองบวมจึงเริ่มดีขึ้น และสมองเริ่มตอบสนอง ยกแขนขา เดิน
ได้ สื่อสารกับแม่และหมอได้ ทานอาหารทางปาก พูดคาสั้น ๆ ได้ เขียนหนังสือ+นับเลขและแยกสีลูก
บอลได้แต่ต่อมา ในวันที่ 13 ก.พ. 48 ทางแพทย์ที่ทาการรักษาได้ทาการถอดท่อหายใจที่คอออก โดยที่
อาการน้องโจ้ในขณะนั้น ยังไม่สามารถหายใจเองไม่ได้ ทางแพทย์จึงใส่ท่อช่วยหายใจกลับคืน แต่ต่อมา
ในวันที่ 14 ก.พ. 48 แพทย์ที่ทาการรักษากลับให้ถอดท่อหายใจอีกครั้ง โดยไม่ได้อยู่ดูแลอาการต่อ ทาให้
น้องโจ้ดิ้นทุรนทุราย เพราะหายใจไม่ออก แม้ว่า นางดวงนภาผู้เป็นแม่ที่เฝ้าดูแลน้องโจ้ จะตามพยาบาล
มาดูอาการที่เกิดขึ้น หลังการถอดเครื่องช่วยหายใจที่คอก็ตาม แต่พยาบาลกลับบอกว่า ปล่อยไว้สักพัก
เดี๋ยวก็หายใจได้เอง ทาให้น้องโจ้หัวใจหยุดเต้นในเวลาต่อมา และเมื่อปั๊มหัวใจกลับคืนมาได้ สมองก็ขาด
ออกซิเจนอย่างรุนแรง และเกิดผลกระทบตามมา นอนไม่รู้ตัว ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ แขนขาเกร็ง ทาน
อาหารเองไม่ได้ ถ่ายอุจจาระ-ปัสสาวะไม่รู้ตัว"
O riginality
P eople centered approach
เป็ นองค์กรหลักด้านสุขภาพ
ที่รวมพลังสังคม
เพื่อประชาชนสุขภาพดี
พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ
อย่างมีส่วนร่วม
และยั่งยืน
M astery
H umilityMoPH
ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
(ร่าง) แผนยุทธศาสตร ์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
(ตุลาคม 2559 ถึง พ.ศ. 2579)
กรอบ
แนวคิด
4 Excellence Strategies
(16 แผนงาน 48 โครงการ)
P&P
Excellence
Service
Excellence
People
ExcellenceGovernance
Excellence
1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
2. การป้ องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
3. ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัย
เสี่ยง
ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
3. ศูนย์ความเป็ นเลิศทางการแพทย์
4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขต
เศรษฐกิจพิเศษ
1. การวางแผนความต้องการอัตรากาลัง
2. การผลิตและพัฒนากาลังคน
3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัด
กาลังคนด้านสุขภาพ
1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
2. ระบบหลักประกันสุขภาพ
3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และ
นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560 – 2564)
ยุทธศาสตร ์ชาติระยะ 20 ปี
และการปฏิรูปประเทศไทย
ด้านสาธารณสุข
การบูรณาการชาติ
เป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(SDGs)
เป้ าหมาย
Road map แผนยุทธศาสตร ์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (4 Phase)
วางรากฐาน
Phase 1 (2560-2564)
สู่ความยั่งยืน
Phase 3 (2570-2574)
สร้างความเข้มแข็ง
Phase 2 (2565-2569)
เป็ น 1 ใน 3
ของเอเชีย
Phase 4 (2575-2579)
ประเทศไทย 4.0
ตัวชี้วัด :ร้อยละหน่วยบริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
2P safety
โรงพยาบาลทุกแห่งมี
•คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
•คณะกรรมการไกล่เกลี่ย
•บัญชีความเสี่ยงและแนวทางปฏิบัติกรณีเกิด
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ระดับ G,H,I
Patient Safety - สถานการณ์
Total ร้อยละ
104,497 58
34,354 19
21,477 12
15,966 9
2,985 2
การ Set ระบบของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการ Set ระบบของกระทรวงสาธารณสุข
การดาเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา ให้มีการดาเนินการ 3 ระบบ ดังนี้
1. Prevention และ early detection มอบ สบรส.
2. ระบบไกล่เกลี่ย มอบ ศูนย์สันติวิธี
3. ระบบฟ้ องร้อง มอบ กลุ่มกฎหมาย
คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับกระทรวง
ประธาน : ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รองประธาน : รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมาย
เลขานุการ : ประธาน CIPO
ผู้ช่วยเลขานุการ : ผู้อานวยการสานักบริหารการสาธารณสุข (สบรส.)
คณะกรรมการ
1. อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.)
2. อธิบดีกรมการแพทย์
3. อธิบดีกรมสุขภาพจิต
4. อธิบดีกรมอนามัย
5. เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
6. ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ (สนย.)
7. ผู้อานวยการศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข
8. ผู้อานวยการกลุ่มกฎหมาย
9. ผู้อานวยการกลุ่มสร้างเสริมวินัยและคุณธรรม (สวค.)
10. ผู้อานวยการสถาบันพระบรมราชชนก (สบช.)
11. ผู้อานวยการกองคลัง
คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับเขตสุขภาพ
ประธาน : ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
รองประธาน : สาธารณสุขนิเทศก์
เลขานุการ : COO
ผู้ช่วยเลขานุการ : รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดด้านบริหาร (จบส.8)
คณะกรรมการ
1.ตัวแทนนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
2.ตัวแทนผู้อานวยการ รพศ./รพท.
3.ตัวแทนผู้อานวยการ รพช.
4.ผู้อานวยการ สปสช.เขต
5.ตัวแทนอัยการเขต
6.นิติกรเขต
7.นักสันติวิธี (นักเจรจาไกล่เกลี่ย) ระดับเขต
คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับจังหวัด
ประธาน : นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด/รองผู้ว่าราชการจังหวัด
รองประธาน : รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดด้านบริหาร (จบส.8)
เลขานุการ : หัวหน้าฝ่ ายบริหาร
ผู้ช่วยเลขานุการ : นิติกร
คณะกรรมการ
1.ตัวแทนผู้อานวยการ รพศ./รพท.
2.ตัวแทนผู้อานวยการ รพช.
3.ตัวแทนสาธารณสุขอาเภอ
4.หัวหน้างานประกันสุขภาพ
5.ประธานคณะกรรมการ ม.41
6.ตัวแทนอัยการจังหวัด
7.นักสันติวิธี (นักเจรจาไกล่เกลี่ย) ระดับจังหวัด
8.ตัวแทนภาคประชาชน
คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับโรงพยาบาล
ประธาน : ผู้อานวยการโรงพยาบาล/นายอาเภอ
รองประธาน : รองผู้อานวยการโรงพยาบาล ฝ่ ายการแพทย์
เลขานุการ : รองผู้อานวยการโรงพยาบาลด้านบริหาร
ผู้ช่วยเลขานุการ : นิติกร
คณะกรรมการ
1.ประธานองค์กรแพทย์
2.ประธาน PCT
3.ประธาน RM (Risk Management )
4.รองผู้อานวยการโรงพยาบาล ฝ่ ายการพยาบาล
5.Medical Law
6.Risk Manager
7.นักสันติวิธี (นักเจรจาไกล่เกลี่ย) ระดับ รพ.
8.ตัวแทนภาคประชาชน
Action Plan ของกระทรวงสาธารณสุข
KICK OFF
ข้อสั่งการ ณ วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๙ หนังสือกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๑๘/๓๖๓๖
เรื่องการพัฒนาระบบคุณภาพความปลอดภัยของผู้ป่ วย (Patient Safety)
และลดปัญหาการฟ้ องร้อง
แนวทางการ Set ระบบของกระทรวงสาธารณสุข (Flow และแนวทางปฏิบัติในแต่ละระดับ) (สบรส.)
- การดาเนินงานด้านการป้ องกันตรวจจับความรุนแรง ตามโปรแกรมความเสี่ยง (เขียว เหลือง แดง)
(สบรส.)
- สสจ./รพ. Set ระบบ RRT ระดับจังหวัดและระดับโรงพยาบาล ให้มีบทบาทหน้าที่ชัดเจน
แต่งตั้งคณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยในทุกระดับ (ศูนย์สันติวิธี และสบรส.)
การใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลศูนย์เรื่องราวร้องทุกข์ (ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข)
จัดตั้งหน่วยช่วยเหลือฉุกเฉิน ในลักษณะเป็ น ADHOC ภาคละ 1-2 ทีม (ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข และ
กลุ่มกฎหมาย)
Action Plan ของกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ)
การดาเนินงาน ของระบบ RRT ระดับโรงพยาบาล
เนื่องจากเป็ นด่านหน้าและจุดแตกหัก ควร SET ระบบสาคัญดังนี้
ระดับโรงพยาบาล
ระบบการเฝ้ าระวัง
ระบบการรายงานสถานการณ์
ระบบการตอบโต้เหตุการณ์
ระบบการตรวจสอบและการประเมินผล
Action Plan ของกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ)
สสจ./รพ. Set ระบบ RRT ให้มีบทบาทหน้าที่ชัดเจน
RRT
Rapid Response Team
ระดับจังหวัด
รอง นพ.สสจ.ด้านบริหาร
(จบส.8) เป็ นประธาน
หัวหน้างานประกันสุขภาพ
 นักสันติวิธี (นักเจรจา
ไกล่เกลี่ย) ระดับจังหวัด
นิติกร
ระดับโรงพยาบาล
รองผอ.ฝ่ ายการแพทย์
เป็ นประธาน
Medical Law
นักสันติวิธี (นักเจรจา
ไกล่เกลี่ย) ระดับ รพ.
นิติกร
Education
� มีความรู้ ในเรื่องพยาธิสภาพ อาการสาคัญ
�ทักษะ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วย
� ความสามารถตรวจจับ สัญญาณอันตรายที่บ่ง
บอกว่าผู้ป่วยกาลัง แย่ลง
� การจัดการเบื้องต้นก่อนที่อาการจะเลวลง
�การจัดการต่อเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการจัดการ
โดยเร็ว
Monitoring
� การประเมินสัญญาณชีพที่มีมีความไวพอ
�ครบถ้วน
�ถูกต้อง
�มีความถี่ที่เหมาะสม
�วิเคราะห์ได้ทันท่วงที
� สัญญาณอาการทางสมอง
� การประเมินตามอาการที่ผู้ป่วย มีความรู้สึกว่ารุนแรงขึ้น
Recognitionต่อมเอ๊ะ
�ปัญหาที่พบบ่อยที่นาไปสู่ adverse event
�หาที่ปรึกษาหรือคู่คิดประเมินซ้า หรือผู้เชี่ยวชาญกว่า
�หมั่นฝึกซ้อม หรือนาสิ่งที่เกิดที่อื่นมาฝึกฝน
�แชร์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาเรียนรู้หาสวิธีในการสร้างความสนใจ
Recognitionต่อมเอ๊ะ
�ปัญหาที่พบบ่อยที่นาไปสู่ adverse event
�หาที่ปรึกษาหรือคู่คิดประเมินซ้า หรือผู้เชี่ยวชาญกว่า
�หมั่นฝึกซ้อม หรือนาสิ่งที่เกิดที่อื่นมาฝึกฝน
�แชร์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาเรียนรู้หาสวิธีในการสร้างความสนใจ
Call for Help ไม่รีรอที่ขอตัวช่วย
�มีแนวทางปฏิบัติในการจัดการแบบ Active protocal ที่เข้าใจ
ตรงกัน เช่น แนวทางการรายงานแพทย์ แนวทางการส่งlabด่วน
�มีระบบสื่อสารที่เป็นสากล RSVP ( Reasons-Story –Vital
sings –PlanX SBAR ( Situation –Background-
Assessment-Recommendation)
Response
�มีระบบที่จะให้การจัดการเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการจัดการในเวลาที่
เหมาะสม ( Rapid response team –RRT /Medical
emergency team –MET
�ได้รับการตรวจที่ครอบคลุมมากพอที่จะไม่วินิจฉัยผิดพลาด (ผ่ามดลูก
ผิดข้าง )
�ได้รับการรักษาทันเวลา (สังเกตอาการ จนทรุด)
�ระบบและเครื่องมือพร้อม (ไม่เปิดทางานตายระหว่างส่ง)
Situation
Background
Assessment
Recommendation/ Resolution
• Situation
• ผู้รายงาน
• หน่วยงาน
• ผู้ป่วย สิทธิ สภาพ
ครอบครัว ผู้เกี่ยวข้อง
• สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น
• ระยะเวลาที่เกิด
• ความรุนแรงของปัญหา
• สภาพปัญหาของ
ผู้เกี่ยวข้อง
• Background
• การวินิจฉัย
• อาการก่อนมา
• อาการก่อนจาหน่าย
• ประวัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
• ประวัติการรักษาพยาบาล
ทั้งหมด
• สถานการณ์การในการ
ให้บริการ
• Assessment มีความ
เสียหายเกิดขึ้น
• ประเภทความเสียหาย
• ความเสียหายเกิดจากพยาธิ
สภาพ /ระบบบริการ /หา
เหตุผลไม่ได้
• หน่วยบริการ จัดการสถาน
การเบื้องต้นได้อย่างไร
• ผู้เกี่ยวข้องจัดการได้แค่ไหน
• Recommendation
ความคาดหวัง
• ความคาดหวัง
ของระบบงาน
• ความต้องการ
ของผู้ได้รับ
ความเสียหาย
• ความคาดหวัง
ของผู้
รับรู ้สิทธิ
เข้าถึงสิทธิ
ได้รับการปกป้ อง
คุ้มครองสิทธิ
เป้ าหมายการคุ้มครองสิทธิประชาชน ในระบบ UC UC
48
49
113
215
239
303
344
361
401
401
533
478
11 29
71 74 73
97
139 141 140
125 116
13
36
85
120
174
219 204
241
293
337
337
0
100
200
300
400
500
600
สถานการณ์ผู้ได้รับผลกระทบทางการแพทย์และสาธารณสุข
 มทั้งหม ( 2547-2557)
ผู้ 3,437 ผู้ 1,016
และผู้ 2,059
4
12
36
52
64
73
81
92
98
191
218
0
50
100
150
200
250
ล้ ท
ล้
ท
 มทั้งหม ( 2547-2557)
ข้ ฑ์ 6,512
927,260,013 ท
�วันที่ ๑๕ ด.ญ. รุ่งอรุณ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติหตุ ขาซ้ายหัก แบบชนิด
ปิด รพ.รับไว้รักษาในตึกผู้ป่วยใน
�วันที่ ๑๖ เวลา ๙.๐๐น. แพทย์มาดูอาการ เอ็กซเรย์ ดึงกระดูกแบบถ่วง
น้าหนักด้วยถุงทราย
�วันที่ ๑๗ เวลา ๙.๐๐ น แพทย์มาดูอาการ พบนิ้วเท้าและหลังเท้าของ
ผู้ป่วยมีสีเขียวมากขึ้น ส่งต่อ
�รพศ พบว่าเส้นเลือดแดงบริเวณแข็ง มีลิ่มเลือดอุดตัน แสดงว่าขาดเลือด
มากกว่า ๖ ชม.ต้องตัดขาข้างซ้าย
�ฟ้องละเมิด กระทรวงสาธารณสุข ๘,๔๓๑,๘๐๐ บาท
�ผู้ป่วยกระดูกขาหักและเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลส.แพทย์ได้
วางแผนผ่าตัดหลังรับผู้ป่วยไว้ ๒ ชม แต่แพทย์ติดธุระจึงเลื่อนออกไปอีก
๕ ชม แต่เมื่อถึงเวลา แพทย์ยังคงติดธุระจึงงดผ่าตัดไปก่อน และใช้การ
รักษาด้วยการ ทา Skin traction ต่อมาอีก ๔๘ ชั่วโมง ซึ่งเมื่อ
แพทย์มาประเมินกลับพบว่าขาข้างดังกล่าวไม่มีเลือดไปเลี้ยงจึงส่งตัวไป
รพม และผู้ป่วยถูกตัดขา
�คดีนี้ศาลมีความเห็นว่า แม้แพทย์จะสามารถใช้ดุลพินิจโดยการเลื่อน
ผ่าตัดและใช้ skin traction แต่แพทย์ยังคงมีหน้าที่ต้องระมัด ระวัง
การเกิด Compartment syndrome อยู่ดีแสดงว่าการเฝ้า
ระวังนั้น ไม่ดีพอ
�แม้จะอ้างเอาเอกสารว่าได้มีการบันทึกการเฝ้าระวังอาการขาดเลือด
ไปเลี้ยงที่มีการลงบันทึกทุก ๒ ช.ม.แต่ศาลเห็นว่าพยานเอกสาร
ดังกล่าวไม่น่าเชื่อถือเพราะอยู่ในครอบครองและการจัดทาของ
จาเลยฝ่ายเดียว โดยบุคคลภายนอกไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง อาจมีการ
แก้ไขดัดแปลงหรือลงบันทึกไม่ตรงกับความเป็นจริงก็ได้ และแม้
พยานจาเลยหลายปากจะ
�ให้การสอดคล้องกัน และเป็นคุณแก่จาเลยแต่ศาลพิเคราะห์ทั้ง
พยานเอกสารและพยานบุคคลไมน่าเชื่อถือเพราะหากมีการกระทา
ดังกล่าวจริงควรตรวจพบ พบอาการ Compartment
syndrome ได้แต่เนิ่น ๆ
Person safety
�ปลอดภัยจากการถูกฟ้องร้อง ร้องเรียน
�ปลอดภัยจากการไม่ถูกทาร้ายหรือการคุกคามจากผู้รับบริการ
�ปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะที่ให้บริการ
�ปลอดภัยจากความไม่มั่นคงในอาชีพ
�ปลอดภัยจากสุขภาพที่ไม่ดี ที่มีผลมาจากการปฏิบัติงาน และการรับโรคจากการ
ให้บริการ
54
พยาบาลวันนี้
56
ความเสี่ยงในการทางาน
59
เมื่อแพทย์และพยาบาลต้อง
ล้มละลาย
เพราะถูกไล่เบี้ย !!!
คดีกรณีตัวอย่าง
โรงพยาบาล A เป็นโรงพยาบาลชุมชนของสานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พยาบาลน้องซีได้ทาการเย็บแผลที่นิ้วมือของผู้ป่วย ซึ่งได้รับบาดเจ็บจากเครื่องขูดมะพร้าว
เป็นแผลที่บริเวณปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางขวา การเย็บแผลของพยาบาลน้องซี ทาให้เกิด
การติดเชื้อและเนื้อตาย ทาให้ผู้ป่วยถูกตัดนิ้วกลางขวา ผู้ป่วยฟ้องข้อหาละเมิด เรียกค่า
เสียหายจากการเย็บแผลของพยาบาล และศาลได้พิพากษา ดังนี้
ศาลชั้นต้น ให้กระทรวงสาธารณสุขจ่าย 500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย
ร้อยละ 7.5 ต่อปี
ศาลอุทธรณ์ ให้กระทรวงสาธารณสุขจ่าย 40,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย
ร้อยละ 7.5 ต่อปี
ศาลฎีกา พิพากษาให้โรงพยาบาล A จ่ายค่าเสียหายในการสูญเสีย
ความสามารถในการประกอบการทางาน 200,000 บาท ค่ารักษาพยาบาล 324,730 บาท
พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี
คำถำม...???
1. พยาบาลต้องรับผิดชอบด้านจริยธรรมหรือไม่
2. พยาบาลต้องชดใช้ค่าเสียหายตามศาลฎีกาหรือไม่
3. หากผู้ป่ วยฟ้องพยาบาล ให้รับผิดทางอาญา เนื่องจากการ
กระทาเป็นเหตุให้ผู้เสียหายได้รับอันตรายสาหัส
โดยประมาณพยาบาลต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่
อย่างไร
ตอบคำถำม คือ....
ตอบ ความรับผิดด้านจริยธรรม เนื่องจากการเย็บแผลของพยาบาล
กระทาตามระเบียบที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กาหนดใน
ประกาศราชกิจจานุเบกษา ซึ่งเป็นข้อยกเว้น การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ตาม มาตรา 26 (4) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 และ
พยาบาลไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตลอดจน พระราชบัญญัติวิชาชีพ
พยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2540 ไม่ได้
กาหนดเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพไว้ ดังนั้น พยาบาลจึงไม่ต้องรับผิดด้าน
จริยธรรมใด ๆ
1. พยำบำลต้องรับผิดชอบด้ำนจริยธรรมหรือไม่
ตอบ เนื่องจากพยาบาลเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตาม มาตรา 4 แห่ง
พระราชบัญญัติละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 และในการเย็บแผลของ
พยาบาล เกิดในโรงพยาบาลชุมชน จึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของ
รัฐ ในการฟ้องคดีแพ่งดังกล่าว ผู้เสียหายจะต้องฟ้องหน่วยงานของรัฐที่มี
ฐานะเป็นนิติบุคคล ซึ่งได้แก่ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แต่จะฟ้อง
พยาบาลให้ชดใช้โดยตรงไม่ได้ทั้งตาม มาตรา 5 ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว
- เมื่อกระทรวงสาธารณสุข ได้ชาระค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย
324,730 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี กระทรวงสาธารณสุขมีสิทธิ์
เรียกให้พยาบาลชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้กับกระทรวงสาธารณสุขที่ได้จ่าย
ค่าสินไหม ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้ค่าสินไหมแก่
ผู้เสียหาย
2. พยำบำลต้องชดใช้ค่ำเสียหำยตำมศำลฎีกำหรือไม่
- สาหรับจานวนเงินที่พยาบาลชดใช้เต็มจานวน 324,730 บาท หรือไม่
นั้น จะต้องวินิจฉัยตาม มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ดังนี้
ต้องวินิจฉัยว่า พยาบาลได้กระทาความเสียหายด้วยความประมาท
ร้ายแรงหรือไม่ ซึ่งจากคาพิพากษาของศาลฎีกา ได้พิพากษาว่าจาเลยกระทา
โดยประมาทเลินเล่อ ดังนั้นในกรณีนี้ พยาบาลไม่ควรชาระค่าเสียหายให้แก่
กระทรวงใด ๆ ทั้งสิ้น
2. พยำบำลต้องชดใช้ค่ำเสียหำยตำมศำลฎีกำหรือไม่ (ต่อ)
แต่ถ้าหากในกรณีที่ศาลวินิจฉัยว่า ประมาทเลินเล่อร้ายแรง พยาบาลต้อง
ชดใช้ค่าเสียหาย อาจเต็มหรือไม่เต็มจานวนก็ได้ ทั้งนี้ ต้องวินิจฉัยตาม มาตรา
8 วรรค 2 ว่าให้คานึงถึงความร้ายแรงและความเป็นธรรมโดยมิได้ใช้เต็ม
จานวนก็ได้ แต่มาตรา 8 วรรค 3 ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดจากความ
บกพร่องของโรงพยาบาล หรือระบบดาเนินงานส่วนรวมของโรงพยาบาล
ชุมชน ให้หักส่วนความผิดดังกล่าวด้วย และมาตรา 8 วรรค 4 กาหนดว่าใน
กรณีที่มีการละเมิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ
และเจ้าหน้าที่แต่ละคนรับผิดชอบในส่วนของตนเท่านั้น
ดังนั้น ในกรณีนี้ เมื่อพิจารณาตาม มาตรา 8 วรรค 1 ถึงวรรค 4
พยาบาลไม่ต้องใช้สินไหมทดแทนเต็มจานวนแก่กระทรวงสาธารณสุข
2. พยำบำลต้องชดใช้ค่ำเสียหำยตำมศำลฎีกำหรือไม่ (ต่อ)
ตอบ พยาบาลต้องรับผิดทางอาญา โดยอาศัยประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 300 ซึ่งบัญญัติว่า ผู้ใดกระทาโดยประมาทและการประทานั้นเป็นเหตุ
ให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวังโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน
6,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ในกรณีนี้ พยาบาลได้เย็บแผลที่นิ้วกลางขวา
ผู้ป่วย จนทาให้เกิดการติดเชื้อ เกิดเนื้อตายและต้องตัดนิ้ว จึงเป็นการกระทา
ให้ผู้เสียหาย ได้รับอันตรายสาหัส ซึ่งบัญญัติในมาตรา 257 แห่งประมวล
กฎหมายดังกล่าวว่า อันตรายสาหัส……. (3) เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว
หรืออวัยวะอื่นใด พยาบาลจึงต้องรับโทษ จาคุก 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
3. หำกผู้ป่ วยฟ้องพยำบำล ให้รับผิดทำงอำญำ เนื่องจำกกำรกระทำ
เป็นเหตุให้ผู้เสียหำยได้รับอันตรำยสำหัสโดยประมำณพยำบำล
ต้องรับผิดทำงอำญำหรือไม่ อย่ำงไร
2545: พรบ.หลักประกันสุขภาพ
2547 : ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข
2551 : กฎหมายผู้บริโภค
สถิติคดีการฟ้องร้องทางการแพทย์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(18.4)
(2.4)
(3.6)
สรุปจานวนคดีฟ้ องแพทย์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2559
คดีในศาล: 49 คดี/คดีแพ่ง: ถึงที่สุด 46 คดี
ชนะคดี 27 คดี / แพ้คดี 19 คดี
ถอนฟ้ อง(เจรจาไกล่เกลี่ยได้) = 140 คดี
คดีอาญา: คดีถึงที่สุด 2 คดี
ชนะคดีทั้ง 2 คดี
ทุนทรัพย์ที่ฟ้ องประมาณ 2,886,000,000 บาท
จ่ายในชั้นไกล่เกลี่ย ประมาณ 20,000,000 บาท
15
5
8
3
3 2
ั้ ั ง
ั้ ั ง
ั
้ ง
ล ั้ ้
ล ท ์
งท
5.5
41.6
13.8
8.3
(8.3)
(22.2)
การจัดการเมื่อถูกดาเนินคดี
สาเหตุที่ถูกร ้องเรียน
1. การที่ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือ
ข้อบังคับ ตลอดจนมิได้ปฏิบัติตาม
กฎหมาย หรือแนวทางปฏิบัติ ใช้
ประสบการณ์ การทาตาม และเลี่ยงการ
กระทบกระทั่ง
2. การที่พยาบาลขาดความรู ้ หรือไม่
พัฒนาความรู ้ให้ทันต่อวิทยาการใหม่ ๆ
จึงทาให้การปฏิบัติงานผิดพลาด
ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้รับบริการ
สถิติฐานความผิด
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
ปี2555
ปี2556
ปี2557
ปี2558
�ณ โรงพยาบาล ห่างไกล ประเทศไม่พัฒนา แห่งหนึ่ง
พยบ: หมอคะ มี notify เคสที่ ER(ห้องฉุกเฉิน)ค่ะ
หมอ: ว่าไงครับ
พยบ: มีเคสผู้หญิงอายุ 30 ปี เดินเหยียบกระจก 5
นาทีก่อนมารพ.ค่ะ
หมอ: แผลเป็นไง บาดทะยักหล่ะครับ?
พยบ: แผลฉีกขาด 2 เซ็น ลึกแค่ชั้นไขมันค่ะ ไม่มี
active bleeding บาดทะยักเพิ่งฉีดครบไป เมื่อต้นปี
ค่ะ
หมอ: งั้นให้ทาแผล กลับบ้านได้ครับ
-- วางสาย แกร๊ก --
พยบ: ตะตะตะแต่ว่า ผู้หญิงคนนั้น คือพี่เองนะคะ...
วิกฤตความมั่นคงในอาชีพ
วิกฤตจานวนบุคลากร
วิกฤตความก้าวหน้า
วิกฤตความเสี่ยง
•อนาคต
การผลักดันด้านนโยบาย
ทางออก สาหรับ
เจ้าหน้าที่
Oรู้สิทธิ รู้หน้าที่ สัมพันธภาพที่ดี
Oมีส่วนร่วม คิด ร่วม แก้ไข
Oอะไรเกิดขึ้นต้องนามาทบทวนและพัฒนา
Oกล้าที่จะยอมรับหากมีความผิดพลาด
Oฉลาดที่จะทางาน ร่วมกันฝึกฝน เตรียมคนให้พร้อม
Oมีศูนย์หลีกประกันสุขภาพ ในหน่วยบริการรองรับการ
ร้องเรียน
Oเปลี่ยนความขัดแย้งให้เป็นการพัฒนา
ทางออก สาหรับผุ้รับ
บริการ
บทบาทผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน
• รู้จักขอโทษ (การขอโทษไม่ได้แปลว่าผิด)
• พูดคุยและสร้างสัมพันธภาพ ช่วยเหลือก่อนบานปลาย
• เอาใจเขามาใส่ใจเรา เมื่อเกิดเหตุล้วนสูญเสีย
• เข้าไปช่วยให้ได้รับการคุ้มครองสิทธิ (เมื่อต้องได้ ม๔๑)
• ต้องสร้างเครือข่าย และรู้จักใช้เพื่อนเพื่อลดความรุนแรง
• เยียวยาคนของเราที่ขวัญเสีย
• ทบทวนให้แน่ใจว่าทาทุกอย่าง
ที่มีมาตรฐานและ จะไม่
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60

More Related Content

What's hot

Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...Sakarin Habusaya
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Vongsakara Angkhakhummoola
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)สุริยา ชื่นวิเศษ
 

What's hot (20)

(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
 

Viewers also liked

การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (15)

เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
Fullreport uk
Fullreport ukFullreport uk
Fullreport uk
 
1 2-51-452
1 2-51-4521 2-51-452
1 2-51-452
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
 
9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน9 ประเมินค่างาน
9 ประเมินค่างาน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลางเพิกถอนมติแพทยสภา
คำพิพากษาศาลปกครองกลางเพิกถอนมติแพทยสภาคำพิพากษาศาลปกครองกลางเพิกถอนมติแพทยสภา
คำพิพากษาศาลปกครองกลางเพิกถอนมติแพทยสภา
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 

Similar to 2 p safety kanniga 60

Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to 2 p safety kanniga 60 (20)

(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
Pmk chronicle 2014
Pmk chronicle 2014Pmk chronicle 2014
Pmk chronicle 2014
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 

More from กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

More from กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 
Smg presentation and photo
Smg presentation and photoSmg presentation and photo
Smg presentation and photo
 

2 p safety kanniga 60

  • 1. 2P Safety กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ กรรมการพิจารณาข้อกฎหมาย สภาการพยาบาล อนุกรรมการพิจารณากรณีอุธรณ์ สานักงานหลักประกันสุขภาพ
  • 2. คลิปข่าว ฟ้องค่าเสียหาย รพ แพร่ ทาคนไข้พิการ.mp4 "ทั้งนี้ สืบเนื่องจาก เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 47 นายยงยุทธ หรือ น้องโจ้ ซึ่งขณะนั้นอายุ 19 ปี เพิ่งสอบติดคณะ วิศวกรรมเครื่องกล ม.นเรศวร จ.พะเยา ได้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ไปซื้อของและถูกรถกระบะเฉี่ยวชนล้มหมด สติ ก่อนจะถูกนาตัวส่ง รพ.ร้องกวางในเวลาต่อมา และถูกส่งตัวไปรักษาต่อที่ รพ.แพร่ โดยต้องพักรักษา ตัวอยู่ในห้อง ICU นานถึง 27 วัน อาการสมองบวมจึงเริ่มดีขึ้น และสมองเริ่มตอบสนอง ยกแขนขา เดิน ได้ สื่อสารกับแม่และหมอได้ ทานอาหารทางปาก พูดคาสั้น ๆ ได้ เขียนหนังสือ+นับเลขและแยกสีลูก บอลได้แต่ต่อมา ในวันที่ 13 ก.พ. 48 ทางแพทย์ที่ทาการรักษาได้ทาการถอดท่อหายใจที่คอออก โดยที่ อาการน้องโจ้ในขณะนั้น ยังไม่สามารถหายใจเองไม่ได้ ทางแพทย์จึงใส่ท่อช่วยหายใจกลับคืน แต่ต่อมา ในวันที่ 14 ก.พ. 48 แพทย์ที่ทาการรักษากลับให้ถอดท่อหายใจอีกครั้ง โดยไม่ได้อยู่ดูแลอาการต่อ ทาให้ น้องโจ้ดิ้นทุรนทุราย เพราะหายใจไม่ออก แม้ว่า นางดวงนภาผู้เป็นแม่ที่เฝ้าดูแลน้องโจ้ จะตามพยาบาล มาดูอาการที่เกิดขึ้น หลังการถอดเครื่องช่วยหายใจที่คอก็ตาม แต่พยาบาลกลับบอกว่า ปล่อยไว้สักพัก เดี๋ยวก็หายใจได้เอง ทาให้น้องโจ้หัวใจหยุดเต้นในเวลาต่อมา และเมื่อปั๊มหัวใจกลับคืนมาได้ สมองก็ขาด ออกซิเจนอย่างรุนแรง และเกิดผลกระทบตามมา นอนไม่รู้ตัว ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ แขนขาเกร็ง ทาน อาหารเองไม่ได้ ถ่ายอุจจาระ-ปัสสาวะไม่รู้ตัว"
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. O riginality P eople centered approach เป็ นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน M astery H umilityMoPH ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน (ร่าง) แผนยุทธศาสตร ์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) (ตุลาคม 2559 ถึง พ.ศ. 2579) กรอบ แนวคิด 4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) P&P Excellence Service Excellence People ExcellenceGovernance Excellence 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การป้ องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัย เสี่ยง ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. ศูนย์ความเป็ นเลิศทางการแพทย์ 4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขต เศรษฐกิจพิเศษ 1. การวางแผนความต้องการอัตรากาลัง 2. การผลิตและพัฒนากาลังคน 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัด กาลังคนด้านสุขภาพ 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ 3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และ นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร ์ชาติระยะ 20 ปี และการปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข การบูรณาการชาติ เป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป้ าหมาย Road map แผนยุทธศาสตร ์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (4 Phase) วางรากฐาน Phase 1 (2560-2564) สู่ความยั่งยืน Phase 3 (2570-2574) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็ น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579) ประเทศไทย 4.0
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 12.
  • 13.
  • 14. Patient Safety - สถานการณ์ Total ร้อยละ 104,497 58 34,354 19 21,477 12 15,966 9 2,985 2
  • 15.
  • 16.
  • 18. แนวทางการ Set ระบบของกระทรวงสาธารณสุข การดาเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา ให้มีการดาเนินการ 3 ระบบ ดังนี้ 1. Prevention และ early detection มอบ สบรส. 2. ระบบไกล่เกลี่ย มอบ ศูนย์สันติวิธี 3. ระบบฟ้ องร้อง มอบ กลุ่มกฎหมาย
  • 19. คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับกระทรวง ประธาน : ปลัดกระทรวงสาธารณสุข รองประธาน : รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมาย เลขานุการ : ประธาน CIPO ผู้ช่วยเลขานุการ : ผู้อานวยการสานักบริหารการสาธารณสุข (สบรส.) คณะกรรมการ 1. อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) 2. อธิบดีกรมการแพทย์ 3. อธิบดีกรมสุขภาพจิต 4. อธิบดีกรมอนามัย 5. เลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 6. ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ (สนย.) 7. ผู้อานวยการศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข 8. ผู้อานวยการกลุ่มกฎหมาย 9. ผู้อานวยการกลุ่มสร้างเสริมวินัยและคุณธรรม (สวค.) 10. ผู้อานวยการสถาบันพระบรมราชชนก (สบช.) 11. ผู้อานวยการกองคลัง
  • 20. คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับเขตสุขภาพ ประธาน : ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข รองประธาน : สาธารณสุขนิเทศก์ เลขานุการ : COO ผู้ช่วยเลขานุการ : รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดด้านบริหาร (จบส.8) คณะกรรมการ 1.ตัวแทนนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 2.ตัวแทนผู้อานวยการ รพศ./รพท. 3.ตัวแทนผู้อานวยการ รพช. 4.ผู้อานวยการ สปสช.เขต 5.ตัวแทนอัยการเขต 6.นิติกรเขต 7.นักสันติวิธี (นักเจรจาไกล่เกลี่ย) ระดับเขต
  • 21. คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับจังหวัด ประธาน : นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด/รองผู้ว่าราชการจังหวัด รองประธาน : รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดด้านบริหาร (จบส.8) เลขานุการ : หัวหน้าฝ่ ายบริหาร ผู้ช่วยเลขานุการ : นิติกร คณะกรรมการ 1.ตัวแทนผู้อานวยการ รพศ./รพท. 2.ตัวแทนผู้อานวยการ รพช. 3.ตัวแทนสาธารณสุขอาเภอ 4.หัวหน้างานประกันสุขภาพ 5.ประธานคณะกรรมการ ม.41 6.ตัวแทนอัยการจังหวัด 7.นักสันติวิธี (นักเจรจาไกล่เกลี่ย) ระดับจังหวัด 8.ตัวแทนภาคประชาชน
  • 22. คณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยระดับโรงพยาบาล ประธาน : ผู้อานวยการโรงพยาบาล/นายอาเภอ รองประธาน : รองผู้อานวยการโรงพยาบาล ฝ่ ายการแพทย์ เลขานุการ : รองผู้อานวยการโรงพยาบาลด้านบริหาร ผู้ช่วยเลขานุการ : นิติกร คณะกรรมการ 1.ประธานองค์กรแพทย์ 2.ประธาน PCT 3.ประธาน RM (Risk Management ) 4.รองผู้อานวยการโรงพยาบาล ฝ่ ายการพยาบาล 5.Medical Law 6.Risk Manager 7.นักสันติวิธี (นักเจรจาไกล่เกลี่ย) ระดับ รพ. 8.ตัวแทนภาคประชาชน
  • 23. Action Plan ของกระทรวงสาธารณสุข KICK OFF ข้อสั่งการ ณ วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๙ หนังสือกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๑๘/๓๖๓๖ เรื่องการพัฒนาระบบคุณภาพความปลอดภัยของผู้ป่ วย (Patient Safety) และลดปัญหาการฟ้ องร้อง แนวทางการ Set ระบบของกระทรวงสาธารณสุข (Flow และแนวทางปฏิบัติในแต่ละระดับ) (สบรส.) - การดาเนินงานด้านการป้ องกันตรวจจับความรุนแรง ตามโปรแกรมความเสี่ยง (เขียว เหลือง แดง) (สบรส.) - สสจ./รพ. Set ระบบ RRT ระดับจังหวัดและระดับโรงพยาบาล ให้มีบทบาทหน้าที่ชัดเจน แต่งตั้งคณะกรรมการ 2P SAFETY และการเจรจาไกล่เกลี่ยในทุกระดับ (ศูนย์สันติวิธี และสบรส.) การใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลศูนย์เรื่องราวร้องทุกข์ (ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข) จัดตั้งหน่วยช่วยเหลือฉุกเฉิน ในลักษณะเป็ น ADHOC ภาคละ 1-2 ทีม (ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข และ กลุ่มกฎหมาย)
  • 24. Action Plan ของกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) การดาเนินงาน ของระบบ RRT ระดับโรงพยาบาล เนื่องจากเป็ นด่านหน้าและจุดแตกหัก ควร SET ระบบสาคัญดังนี้ ระดับโรงพยาบาล ระบบการเฝ้ าระวัง ระบบการรายงานสถานการณ์ ระบบการตอบโต้เหตุการณ์ ระบบการตรวจสอบและการประเมินผล
  • 25. Action Plan ของกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) สสจ./รพ. Set ระบบ RRT ให้มีบทบาทหน้าที่ชัดเจน RRT Rapid Response Team ระดับจังหวัด รอง นพ.สสจ.ด้านบริหาร (จบส.8) เป็ นประธาน หัวหน้างานประกันสุขภาพ  นักสันติวิธี (นักเจรจา ไกล่เกลี่ย) ระดับจังหวัด นิติกร ระดับโรงพยาบาล รองผอ.ฝ่ ายการแพทย์ เป็ นประธาน Medical Law นักสันติวิธี (นักเจรจา ไกล่เกลี่ย) ระดับ รพ. นิติกร
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35. Education � มีความรู้ ในเรื่องพยาธิสภาพ อาการสาคัญ �ทักษะ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วย � ความสามารถตรวจจับ สัญญาณอันตรายที่บ่ง บอกว่าผู้ป่วยกาลัง แย่ลง � การจัดการเบื้องต้นก่อนที่อาการจะเลวลง �การจัดการต่อเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการจัดการ โดยเร็ว
  • 36.
  • 38. Recognitionต่อมเอ๊ะ �ปัญหาที่พบบ่อยที่นาไปสู่ adverse event �หาที่ปรึกษาหรือคู่คิดประเมินซ้า หรือผู้เชี่ยวชาญกว่า �หมั่นฝึกซ้อม หรือนาสิ่งที่เกิดที่อื่นมาฝึกฝน �แชร์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาเรียนรู้หาสวิธีในการสร้างความสนใจ
  • 39. Recognitionต่อมเอ๊ะ �ปัญหาที่พบบ่อยที่นาไปสู่ adverse event �หาที่ปรึกษาหรือคู่คิดประเมินซ้า หรือผู้เชี่ยวชาญกว่า �หมั่นฝึกซ้อม หรือนาสิ่งที่เกิดที่อื่นมาฝึกฝน �แชร์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาเรียนรู้หาสวิธีในการสร้างความสนใจ
  • 40. Call for Help ไม่รีรอที่ขอตัวช่วย �มีแนวทางปฏิบัติในการจัดการแบบ Active protocal ที่เข้าใจ ตรงกัน เช่น แนวทางการรายงานแพทย์ แนวทางการส่งlabด่วน �มีระบบสื่อสารที่เป็นสากล RSVP ( Reasons-Story –Vital sings –PlanX SBAR ( Situation –Background- Assessment-Recommendation)
  • 41. Response �มีระบบที่จะให้การจัดการเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการจัดการในเวลาที่ เหมาะสม ( Rapid response team –RRT /Medical emergency team –MET �ได้รับการตรวจที่ครอบคลุมมากพอที่จะไม่วินิจฉัยผิดพลาด (ผ่ามดลูก ผิดข้าง ) �ได้รับการรักษาทันเวลา (สังเกตอาการ จนทรุด) �ระบบและเครื่องมือพร้อม (ไม่เปิดทางานตายระหว่างส่ง)
  • 42.
  • 44. • Situation • ผู้รายงาน • หน่วยงาน • ผู้ป่วย สิทธิ สภาพ ครอบครัว ผู้เกี่ยวข้อง • สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น • ระยะเวลาที่เกิด • ความรุนแรงของปัญหา • สภาพปัญหาของ ผู้เกี่ยวข้อง
  • 45. • Background • การวินิจฉัย • อาการก่อนมา • อาการก่อนจาหน่าย • ประวัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมด • ประวัติการรักษาพยาบาล ทั้งหมด • สถานการณ์การในการ ให้บริการ
  • 46. • Assessment มีความ เสียหายเกิดขึ้น • ประเภทความเสียหาย • ความเสียหายเกิดจากพยาธิ สภาพ /ระบบบริการ /หา เหตุผลไม่ได้ • หน่วยบริการ จัดการสถาน การเบื้องต้นได้อย่างไร • ผู้เกี่ยวข้องจัดการได้แค่ไหน
  • 47. • Recommendation ความคาดหวัง • ความคาดหวัง ของระบบงาน • ความต้องการ ของผู้ได้รับ ความเสียหาย • ความคาดหวัง ของผู้
  • 48. รับรู ้สิทธิ เข้าถึงสิทธิ ได้รับการปกป้ อง คุ้มครองสิทธิ เป้ าหมายการคุ้มครองสิทธิประชาชน ในระบบ UC UC 48
  • 49. 49 113 215 239 303 344 361 401 401 533 478 11 29 71 74 73 97 139 141 140 125 116 13 36 85 120 174 219 204 241 293 337 337 0 100 200 300 400 500 600 สถานการณ์ผู้ได้รับผลกระทบทางการแพทย์และสาธารณสุข  มทั้งหม ( 2547-2557) ผู้ 3,437 ผู้ 1,016 และผู้ 2,059 4 12 36 52 64 73 81 92 98 191 218 0 50 100 150 200 250 ล้ ท ล้ ท  มทั้งหม ( 2547-2557) ข้ ฑ์ 6,512 927,260,013 ท
  • 50. �วันที่ ๑๕ ด.ญ. รุ่งอรุณ ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติหตุ ขาซ้ายหัก แบบชนิด ปิด รพ.รับไว้รักษาในตึกผู้ป่วยใน �วันที่ ๑๖ เวลา ๙.๐๐น. แพทย์มาดูอาการ เอ็กซเรย์ ดึงกระดูกแบบถ่วง น้าหนักด้วยถุงทราย �วันที่ ๑๗ เวลา ๙.๐๐ น แพทย์มาดูอาการ พบนิ้วเท้าและหลังเท้าของ ผู้ป่วยมีสีเขียวมากขึ้น ส่งต่อ �รพศ พบว่าเส้นเลือดแดงบริเวณแข็ง มีลิ่มเลือดอุดตัน แสดงว่าขาดเลือด มากกว่า ๖ ชม.ต้องตัดขาข้างซ้าย �ฟ้องละเมิด กระทรวงสาธารณสุข ๘,๔๓๑,๘๐๐ บาท
  • 51. �ผู้ป่วยกระดูกขาหักและเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลส.แพทย์ได้ วางแผนผ่าตัดหลังรับผู้ป่วยไว้ ๒ ชม แต่แพทย์ติดธุระจึงเลื่อนออกไปอีก ๕ ชม แต่เมื่อถึงเวลา แพทย์ยังคงติดธุระจึงงดผ่าตัดไปก่อน และใช้การ รักษาด้วยการ ทา Skin traction ต่อมาอีก ๔๘ ชั่วโมง ซึ่งเมื่อ แพทย์มาประเมินกลับพบว่าขาข้างดังกล่าวไม่มีเลือดไปเลี้ยงจึงส่งตัวไป รพม และผู้ป่วยถูกตัดขา �คดีนี้ศาลมีความเห็นว่า แม้แพทย์จะสามารถใช้ดุลพินิจโดยการเลื่อน ผ่าตัดและใช้ skin traction แต่แพทย์ยังคงมีหน้าที่ต้องระมัด ระวัง การเกิด Compartment syndrome อยู่ดีแสดงว่าการเฝ้า ระวังนั้น ไม่ดีพอ
  • 52. �แม้จะอ้างเอาเอกสารว่าได้มีการบันทึกการเฝ้าระวังอาการขาดเลือด ไปเลี้ยงที่มีการลงบันทึกทุก ๒ ช.ม.แต่ศาลเห็นว่าพยานเอกสาร ดังกล่าวไม่น่าเชื่อถือเพราะอยู่ในครอบครองและการจัดทาของ จาเลยฝ่ายเดียว โดยบุคคลภายนอกไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง อาจมีการ แก้ไขดัดแปลงหรือลงบันทึกไม่ตรงกับความเป็นจริงก็ได้ และแม้ พยานจาเลยหลายปากจะ �ให้การสอดคล้องกัน และเป็นคุณแก่จาเลยแต่ศาลพิเคราะห์ทั้ง พยานเอกสารและพยานบุคคลไมน่าเชื่อถือเพราะหากมีการกระทา ดังกล่าวจริงควรตรวจพบ พบอาการ Compartment syndrome ได้แต่เนิ่น ๆ
  • 54. 54
  • 56. 56
  • 57.
  • 59. 59
  • 60.
  • 62. คดีกรณีตัวอย่าง โรงพยาบาล A เป็นโรงพยาบาลชุมชนของสานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข พยาบาลน้องซีได้ทาการเย็บแผลที่นิ้วมือของผู้ป่วย ซึ่งได้รับบาดเจ็บจากเครื่องขูดมะพร้าว เป็นแผลที่บริเวณปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางขวา การเย็บแผลของพยาบาลน้องซี ทาให้เกิด การติดเชื้อและเนื้อตาย ทาให้ผู้ป่วยถูกตัดนิ้วกลางขวา ผู้ป่วยฟ้องข้อหาละเมิด เรียกค่า เสียหายจากการเย็บแผลของพยาบาล และศาลได้พิพากษา ดังนี้ ศาลชั้นต้น ให้กระทรวงสาธารณสุขจ่าย 500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย ร้อยละ 7.5 ต่อปี ศาลอุทธรณ์ ให้กระทรวงสาธารณสุขจ่าย 40,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย ร้อยละ 7.5 ต่อปี ศาลฎีกา พิพากษาให้โรงพยาบาล A จ่ายค่าเสียหายในการสูญเสีย ความสามารถในการประกอบการทางาน 200,000 บาท ค่ารักษาพยาบาล 324,730 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี
  • 63. คำถำม...??? 1. พยาบาลต้องรับผิดชอบด้านจริยธรรมหรือไม่ 2. พยาบาลต้องชดใช้ค่าเสียหายตามศาลฎีกาหรือไม่ 3. หากผู้ป่ วยฟ้องพยาบาล ให้รับผิดทางอาญา เนื่องจากการ กระทาเป็นเหตุให้ผู้เสียหายได้รับอันตรายสาหัส โดยประมาณพยาบาลต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่ อย่างไร
  • 65. ตอบ ความรับผิดด้านจริยธรรม เนื่องจากการเย็บแผลของพยาบาล กระทาตามระเบียบที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กาหนดใน ประกาศราชกิจจานุเบกษา ซึ่งเป็นข้อยกเว้น การประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตาม มาตรา 26 (4) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 และ พยาบาลไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตลอดจน พระราชบัญญัติวิชาชีพ พยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2540 ไม่ได้ กาหนดเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพไว้ ดังนั้น พยาบาลจึงไม่ต้องรับผิดด้าน จริยธรรมใด ๆ 1. พยำบำลต้องรับผิดชอบด้ำนจริยธรรมหรือไม่
  • 66. ตอบ เนื่องจากพยาบาลเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตาม มาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัติละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 และในการเย็บแผลของ พยาบาล เกิดในโรงพยาบาลชุมชน จึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของ รัฐ ในการฟ้องคดีแพ่งดังกล่าว ผู้เสียหายจะต้องฟ้องหน่วยงานของรัฐที่มี ฐานะเป็นนิติบุคคล ซึ่งได้แก่ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แต่จะฟ้อง พยาบาลให้ชดใช้โดยตรงไม่ได้ทั้งตาม มาตรา 5 ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว - เมื่อกระทรวงสาธารณสุข ได้ชาระค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย 324,730 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี กระทรวงสาธารณสุขมีสิทธิ์ เรียกให้พยาบาลชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้กับกระทรวงสาธารณสุขที่ได้จ่าย ค่าสินไหม ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่กระทรวงสาธารณสุขได้ใช้ค่าสินไหมแก่ ผู้เสียหาย 2. พยำบำลต้องชดใช้ค่ำเสียหำยตำมศำลฎีกำหรือไม่
  • 67. - สาหรับจานวนเงินที่พยาบาลชดใช้เต็มจานวน 324,730 บาท หรือไม่ นั้น จะต้องวินิจฉัยตาม มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ดังนี้ ต้องวินิจฉัยว่า พยาบาลได้กระทาความเสียหายด้วยความประมาท ร้ายแรงหรือไม่ ซึ่งจากคาพิพากษาของศาลฎีกา ได้พิพากษาว่าจาเลยกระทา โดยประมาทเลินเล่อ ดังนั้นในกรณีนี้ พยาบาลไม่ควรชาระค่าเสียหายให้แก่ กระทรวงใด ๆ ทั้งสิ้น 2. พยำบำลต้องชดใช้ค่ำเสียหำยตำมศำลฎีกำหรือไม่ (ต่อ)
  • 68. แต่ถ้าหากในกรณีที่ศาลวินิจฉัยว่า ประมาทเลินเล่อร้ายแรง พยาบาลต้อง ชดใช้ค่าเสียหาย อาจเต็มหรือไม่เต็มจานวนก็ได้ ทั้งนี้ ต้องวินิจฉัยตาม มาตรา 8 วรรค 2 ว่าให้คานึงถึงความร้ายแรงและความเป็นธรรมโดยมิได้ใช้เต็ม จานวนก็ได้ แต่มาตรา 8 วรรค 3 ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดจากความ บกพร่องของโรงพยาบาล หรือระบบดาเนินงานส่วนรวมของโรงพยาบาล ชุมชน ให้หักส่วนความผิดดังกล่าวด้วย และมาตรา 8 วรรค 4 กาหนดว่าใน กรณีที่มีการละเมิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ และเจ้าหน้าที่แต่ละคนรับผิดชอบในส่วนของตนเท่านั้น ดังนั้น ในกรณีนี้ เมื่อพิจารณาตาม มาตรา 8 วรรค 1 ถึงวรรค 4 พยาบาลไม่ต้องใช้สินไหมทดแทนเต็มจานวนแก่กระทรวงสาธารณสุข 2. พยำบำลต้องชดใช้ค่ำเสียหำยตำมศำลฎีกำหรือไม่ (ต่อ)
  • 69. ตอบ พยาบาลต้องรับผิดทางอาญา โดยอาศัยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300 ซึ่งบัญญัติว่า ผู้ใดกระทาโดยประมาทและการประทานั้นเป็นเหตุ ให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวังโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ในกรณีนี้ พยาบาลได้เย็บแผลที่นิ้วกลางขวา ผู้ป่วย จนทาให้เกิดการติดเชื้อ เกิดเนื้อตายและต้องตัดนิ้ว จึงเป็นการกระทา ให้ผู้เสียหาย ได้รับอันตรายสาหัส ซึ่งบัญญัติในมาตรา 257 แห่งประมวล กฎหมายดังกล่าวว่า อันตรายสาหัส……. (3) เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด พยาบาลจึงต้องรับโทษ จาคุก 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 3. หำกผู้ป่ วยฟ้องพยำบำล ให้รับผิดทำงอำญำ เนื่องจำกกำรกระทำ เป็นเหตุให้ผู้เสียหำยได้รับอันตรำยสำหัสโดยประมำณพยำบำล ต้องรับผิดทำงอำญำหรือไม่ อย่ำงไร
  • 70. 2545: พรบ.หลักประกันสุขภาพ 2547 : ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข 2551 : กฎหมายผู้บริโภค สถิติคดีการฟ้องร้องทางการแพทย์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • 71. (18.4) (2.4) (3.6) สรุปจานวนคดีฟ้ องแพทย์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2559 คดีในศาล: 49 คดี/คดีแพ่ง: ถึงที่สุด 46 คดี ชนะคดี 27 คดี / แพ้คดี 19 คดี ถอนฟ้ อง(เจรจาไกล่เกลี่ยได้) = 140 คดี คดีอาญา: คดีถึงที่สุด 2 คดี ชนะคดีทั้ง 2 คดี ทุนทรัพย์ที่ฟ้ องประมาณ 2,886,000,000 บาท จ่ายในชั้นไกล่เกลี่ย ประมาณ 20,000,000 บาท 15 5 8 3 3 2 ั้ ั ง ั้ ั ง ั ้ ง ล ั้ ้ ล ท ์ งท 5.5 41.6 13.8 8.3 (8.3) (22.2)
  • 72.
  • 73.
  • 75. สาเหตุที่ถูกร ้องเรียน 1. การที่ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือ ข้อบังคับ ตลอดจนมิได้ปฏิบัติตาม กฎหมาย หรือแนวทางปฏิบัติ ใช้ ประสบการณ์ การทาตาม และเลี่ยงการ กระทบกระทั่ง 2. การที่พยาบาลขาดความรู ้ หรือไม่ พัฒนาความรู ้ให้ทันต่อวิทยาการใหม่ ๆ จึงทาให้การปฏิบัติงานผิดพลาด ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้รับบริการ
  • 77. �ณ โรงพยาบาล ห่างไกล ประเทศไม่พัฒนา แห่งหนึ่ง พยบ: หมอคะ มี notify เคสที่ ER(ห้องฉุกเฉิน)ค่ะ หมอ: ว่าไงครับ พยบ: มีเคสผู้หญิงอายุ 30 ปี เดินเหยียบกระจก 5 นาทีก่อนมารพ.ค่ะ หมอ: แผลเป็นไง บาดทะยักหล่ะครับ? พยบ: แผลฉีกขาด 2 เซ็น ลึกแค่ชั้นไขมันค่ะ ไม่มี active bleeding บาดทะยักเพิ่งฉีดครบไป เมื่อต้นปี ค่ะ หมอ: งั้นให้ทาแผล กลับบ้านได้ครับ -- วางสาย แกร๊ก -- พยบ: ตะตะตะแต่ว่า ผู้หญิงคนนั้น คือพี่เองนะคะ...
  • 81. ทางออก สาหรับ เจ้าหน้าที่ Oรู้สิทธิ รู้หน้าที่ สัมพันธภาพที่ดี Oมีส่วนร่วม คิด ร่วม แก้ไข Oอะไรเกิดขึ้นต้องนามาทบทวนและพัฒนา Oกล้าที่จะยอมรับหากมีความผิดพลาด Oฉลาดที่จะทางาน ร่วมกันฝึกฝน เตรียมคนให้พร้อม Oมีศูนย์หลีกประกันสุขภาพ ในหน่วยบริการรองรับการ ร้องเรียน Oเปลี่ยนความขัดแย้งให้เป็นการพัฒนา
  • 83.
  • 84. บทบาทผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน • รู้จักขอโทษ (การขอโทษไม่ได้แปลว่าผิด) • พูดคุยและสร้างสัมพันธภาพ ช่วยเหลือก่อนบานปลาย • เอาใจเขามาใส่ใจเรา เมื่อเกิดเหตุล้วนสูญเสีย • เข้าไปช่วยให้ได้รับการคุ้มครองสิทธิ (เมื่อต้องได้ ม๔๑) • ต้องสร้างเครือข่าย และรู้จักใช้เพื่อนเพื่อลดความรุนแรง • เยียวยาคนของเราที่ขวัญเสีย • ทบทวนให้แน่ใจว่าทาทุกอย่าง ที่มีมาตรฐานและ จะไม่