SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง
โรงเรียนสุเหร่าเขียว
Suraokheoschool
วิสัยทัศน์-พันธกิจ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 2
วิสัยทัศน์
	 ผู้เรียนเพียบพร้อม คุณธรรม จริยธรรม น�ำการเรียนรู้สู่มาตรฐานการศึกษา ไม่พึ่งพายาเสพติด
ยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ
1. ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่จ�ำเป็นตามหลักสูตร
3. สร้างโอกาสให้ประชากรวัยเรียนได้เข้าเรียนครบทุกคน
4. บริหารจัดการศึกษาโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
5. บริหารจัดการมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ค�ำขวัญ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
อัตลักษณ์ “วิถีมุสลิม”
เอกลักษณ์ “ลิเกฮูลู”
สีประจ�ำโรงเรียน เขียว - ขาว
คำ�นำ�
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 3
	 หนังสือคู่มือนักเรียน และผู้ปกครอง จัดท�ำขึ้นเพื่อให้นักเรียน และผู้ปกครอง ทุกคนได้ศึกษา
ข้อมูล กฎระเบียบต่าง ๆ ของโรงเรียนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย ทรงผม
การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน การมาสาย ระเบียบการวัดและประเมินผล รวมทั้งโครงสร้างของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง 2560 ในระดับชั้นอนุบาล ระดับชั้น
ประถมศึกษา และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
	 อีกทั้งเปนแนวทางปฏิบัติรวมกันระหวางโรงเรียน ครู ผูปกครองและนักเรียน เกี่ยวกับระเบียบ
ขอบังคับทั้งในดานงานปกครองและงานวิชาการ พรอมรายละเอียดดานการปฏิบัติตนตามระเบียบของ
โรงเรียน อันจะน�ำไปสู่ความเข้าใจ และการปฏิบัติที่ถูกต้องระหว่างที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนสุเหร่าเขียว
	 ทางโรงเรียนหวังว่าหนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง เล่มนี้ จะเป็นคู่มือที่ผู้ปกครองใช้ให้เป็น
ประโยชน์ ท�ำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในการร่วมมือกันดูแลนักเรียนของโรงเรียนสุเหร่าเขียวทุกคน ทาง
โรงเรียนใคร่ขอให้ผู้ปกครองและนักเรียนตระหนักอยู่เสมอว่า การเรียนรู้จะประสบผลส�ำเร็จได้ขึ้นอยู่กับ
ความร่วมมือของผู้ปกครอง ครู และนักเรียนเป็นส�ำคัญ
									
									
	 	 	 	 	 	 	 	 	 โรงเรียนสุเหร่าเขียว
	 	 	 	 	 	 	 	 	 16 พฤษภาคม 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 4
สารบัญ
วิสัยทัศน์-พันธกิจ......................................................................................................................... 2
เป้าหมาย - กลยุทธิ์...................................................................................................................... 5
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนสุเหร่าเขียว........................................................................................ 6
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้................................................................................................. 10
เกณฑ์การจบระดับชั้นประถมศึกษา............................................................................................. 19
เกณฑ์การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น................................................................................... 19
การเทียบโอนผลการเรียน............................................................................................................ 20
ข้อปฏิบัติของนักเรียน.................................................................................................................. 21
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548.................... 24
กฎกระทรวงกําหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา..................................................... 26
ระเบียบโรงเรียนสุเหร่าเขียว ว่าด้วยการแต่งกายนักเรียน............................................................ 27
คณะกรรมการจัดทําคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง.......................................................................... 35
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 5
เป้าหมาย-กลยุทธ์โรงเรียน
เป้าหมาย
1. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
2. สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยี สื่อ สารสนเทศ และแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
3. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการพัฒนาสู่ครูมืออาชีพและจัดการเรียนการสอนได้ตาม
กลยุทธ์โรงเรียน
กลยุทธ์ที่ 1  พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาทุกระดับและพัฒนาการใช้เทคโนโลยี
กลยุทธ์ที่  2 ปลูกฝังคุณธรรมความเป็นไทยและวิธีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
กลยุทธ์ที่  3 ขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงเสมอภาคทุกประเภทและพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
กลยุทธ์ที่  4 พัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจัดการเรียนการ
สอนได้อย่างมีคุณภาพ
กลยุทธ์ที่  5 พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งมีคุณภาพตามแนวทางการกระจายอ�ำนาจบนหลักธรรมาภิบาล  ด้วยการ
บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 6
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนสุเหร่าเขียว
โรงเรียนสุเหร่าเขียว จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ปรับปรุง 2560 โรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้ และเวลาเรียน โรงเรียนให้ครูจัดท�ำแผนการเรียนรู้ ที่มีจุด
เน้นเป็นพิเศษ ในการพัฒนาผู้เรียนในด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์มีวิจารณญาณ  และมีความ
คิดริเริ่มสร้างสรรค์ในด้านการอ่านและการเขียนแผนการเรียนรู้จุดเน้นการพัฒนา ผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ
คือ การอ่านคิดวิเคราะห์และการเขียน
โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนสุเหร่าเขียว
โครงสร้างเวลาเรียนระดับชั้นอนุบาล
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 7
ช่วงอายุ อายุ 4-6 ขวบ
สาระการเรียนรู้
ประสบการณ์สำ�คัญ สาระที่ควรเรียนรู้
-  ด้านร่างกาย -  เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
-  ด้านอารมณ์ และจิตใจ -  เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และ
สถานที่แวดล้อมเด็ก
-  ด้านสังคม -  ธรรมชาติรอบตัว
-  ด้านสติปัญญา -  สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก
ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน หรือ
ประมาณ 38-40 สัปดาห์
เวลาเรียน ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน หรือประมาณ 38-40 สัปดาห์
1. สาระการเรียนรู้
	 แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ประสบการณ์ส�ำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ซึ่งใช้เป็นสื่อกลาง ในการจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริม
พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สาระการเรียนรู้จัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ หรือการเรียนรู้รูปแบบโครงการจัดประสบการณ์บูรณาการ ผ่าน
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
	 	 	 1.1 ประสบการณ์ส�ำคัญ  ได้แก่
	 	 	 	 - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย
	 	 	 	 - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
	 	 	 	 - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
	 	 	 	 - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
	 	 	 1.2 สาระที่ควรเรียนรู้  ได้แก่
	 	 	 	 - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
	 	 	 	 - เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล สิ่งแวดล้อม
	 	 	 	 - เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว
	 	 	 	 - เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว
2. ก�ำหนดเวลาเรียน
	 ระดับชั้นปฐมวัยหลักสูตร 2 ปี ประกอบด้วยชั้นอนุบาลปีที่ 2 และชั้นอนุบาลปีที่ 3 ก�ำหนด เวลาเรียน ปีการศึกษาละ
2 ภาคเรียน หรือประมาณ 38 - 40 สัปดาห์
โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนสุเหร่าเขียว
โครงสร้างเวลาเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
หมายเหตุ โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคม จิตอาสาและสารธารณะประโยชน์ บูรณาการใน
กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี จ�ำนวน 10 ชั่วโมง โดยใน 40 ชั่วโมง ที่ท�ำกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ผู้เรียนจะต้อง
ร่วมท�ำความสะอาด บริเวณโรงเรียน 4 ชั่วโมง ท�ำความสะอาดบริเวณมัสยิดและอนามัย 6 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 8
และเทคโนโลยี
หมายเหตุ โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคม จิตอาสาและสารธารณประโยชน์ บูรณาการใน
กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี จ�ำนวน 15 ชั่วโมง โดยใน 40 ชั่วโมง ที่ท�ำกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีนั้น ผู้เรียน
จะต้องร่วมท�ำความสะอาด บริเวณโรงเรียน 10 ชั่วโมง ท�ำความสะอาดบริเวณมัสยิดและอนามัย 5 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 9
โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนสุเหร่าเขียว
โครงสร้างเวลาเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
และเทคโนโลยี
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 10
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1. การตัดสินและการให้ระดับผลการเรียน
	 1.1 การตัดสินผลการเรียน
	 ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น จะค�ำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคน เป็นหลักและเก็บข้อมูลของผู้เรียน
ทุกด้านอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้ง สอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
ดังนี้
	 	 1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อย กว่าร้อยละ 80
ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ
	 	 2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด
	 	 3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
	 	 4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียน ก�ำหนด ในการ
อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
	 1.2 การให้ระดับผลการเรียนรายวิชา
	 	 โรงเรียนสุเหร่าเขียวได้ก�ำหนดให้ผู้เรียนได้รับการตัดสินผลการประเมินจากครูผู้สอนเป็น 8 ระดับ
การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้ระบบผ่าน และไม่ผ่าน โดยก�ำหนดเกณฑ์การตัดสินผ่าน
แต่ละรายวิชาที่ร้อยละ50 คิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน คะแนนระหว่างภาค 70 คะแนน คะแนนปลายภาค
30 คะแนน (ส�ำหรับวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ ประวติฯ) และ คะแนน
ระหว่างภาค 80 คะแนน คะแนนปลายภาค 20 คะแนน(วิชาสุขศึกษา, พละศึกษา, การงานพื้นฐานฯ, การงาน
คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม) ส�ำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับประถมศึกษา คิดคะแนนปฏิบัติกิจกรรม
ระหว่างภาค 70 คะแนน สอบปลายภาค 30 คะแนน รวม 100 คะแนน เอามาคิดระดับผลการเรียน ไม่คิดระดับ
ผลการเรียนรายภาค จากนั้นจึงให้ระดับผลการเรียนที่ผ่าน ส�ำหรับระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ใช้
ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ แนวการให้ระดับผลการเรียนและความหมายของแต่ละระดับดังแสดง
ในตาราง ดังนี้
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 11
ระดับผลการเรียน
4 ดีเยี่ยม 80 - 100
3.5 ดีมาก 75 - 79
3 ดี 70 - 74
2.5 ค่อนข้างดี 65 - 69
2 ปานกลาง 60 - 64
1.5 พอใช้ 55 - 59
1 ผ่านเกณฑ์ขั้นต�่ำ 50 - 54
0 ต�่ำกว่าเกณฑ์ 0 - 49
ความหมาย ช่วงคะแนน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
	 ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ ได้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน
ดังนี้
	 “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึง
ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน
	 “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียน
รายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ท�ำ
ซึ่งงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ท�ำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้
เกณฑ์การคิดระดับผลการเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 12
ระดับ
3 ดีเยี่ยม
มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ
2 ดี มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิด วิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
1 ผ่าน
มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน 	
คิด วิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ
0 ไม่ผ่าน
ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้น
ยัง มีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุง
แก้ไขหลายประการ
ความหมาย เกณฑ์การพิจารณา
	 1.3 การประเมินด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ
	 โรงเรียนสุเหร่าเขียวได้ก�ำหนดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในทุกรายวิชา 
โดยใช้เกณฑ์การประเมินของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้ก�ำหนดขึ้น การตัดสินผลการอ่าน คิด
วิเคราะห์ และเขียนสื่อความของผู้เรียน จะเป็น 4 ระดับ ดังนี้
	 1.4 การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
	 โรงเรียนสุเหร่าเขียวได้ก�ำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และใช้เป็นรายการส�ำหรับการประเมินของครูผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยใช้เกณฑ์
การประเมินของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้ก�ำหนดขึ้น
	 การประเมินผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนประกอบด้วย 8 ด้าน ดังนี้
	 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
	 2. ซื่อสัตย์สุจริต
	 3. มีวินัย
	 4. ใฝ่เรียนรู้
	 5. อยู่อย่างพอเพียง
	 6. มุ่งมั่นในการท�ำงาน
	 7. รักความเป็นไทย
	 8. มีจิตสาธารณะ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 13
เกณฑ์การพิจารณา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็น 4 ระดับ ดังนี้
ระดับ
ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัยและน�ำ
ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและ
สังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม
จ�ำนวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
การประเมินต�่ำกว่าระดับดี
2
3
ดี
ดีเยี่ยม
ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามเกณฑ์ เพื่อให้
เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก
1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ�ำนวน 1-4
คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน
ต�่ำกว่าระดับดี หรือ
2. ได้ผลการประเมินระดับดีทั้ง 8 คุณลักษณะ หรือ
3. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จ�ำนวน 5-7
คุณลักษณะและมีบางคุณลักษณะได้ผลการประเมิน
ระดับผ่าน
1 ผ่าน
ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่
โรงเรียนก�ำหนดโดยพิจารณาจาก
1. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทั้ง 8 คุณลักษณะ
2. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จ�ำนวน 1-4
คุณลักษณะและคุณลักษณะที่เหลือได้ผลการประเมิน
ระดับผ่าน
0 ไม่ผ่าน
ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และ
เงื่อนไขที่โรงเรียนก�ำหนด โดยพิจารณาจากผลการ
ประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะ
ความหมาย เกณฑ์การพิจารณา
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 14
ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ
มีผลงานตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด
มผ
ผ
ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ
มีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด
ผลการประเมิน ความหมาย
	 1.5 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
	 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 ลักษณะ คือ
	 1) กิจกรรมแนะแนว
	 2) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย
	 	 (1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
	 	 (2) กิจกรรมชุมนุมหรือชมรม
	 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
	 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม
และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด และให้ผลการประเมิน ดังนี้
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 15
2. การเปลี่ยนผลการเรียน (ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น)
	 2.1 การเปลี่ยนระดับผลการเรียน “0”
	 เนื่องจากการวัดผลให้น�้ำหนักของคะแนนการวัดผลระหว่างเรียนมากกว่าคะแนน การวัดผลปลายภาค
และผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ และวัดชี้วัดจากครูผู้สอนก่อนการ
ตัดสินผลการเรียน เมื่อมีการตัดสินผลการเรียนผู้เรียนได้ระดับ ผลการเรียน “0” โรงเรียนต้องจัดสอนซ่อมเสริม
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ก่อนแล้วจึงสอบแก้ตัวหรือให้ปฏิบัติงานหรือกิจกรรม โดยโรงเรียนให้
โอกาสผู้เรียนแก้ตัวได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ทั้งนี้ผู้เรียนต้องด�ำเนินการแก้ไขให้เสร็จสิ้นตามปฏิทินงานวัดผลที่ก�ำหนด ถ้าผู้
เรียนไม่มาด�ำเนินการ ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้นี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อ�ำนวยการโรงเรียนที่จะพิจารณาขยาย
เวลาแก้ “0” ออกไปได้อีก 1 ภาคเรียน ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการ
ศึกษานั้น การเปลี่ยนระดับผลการเรียนจาก “0” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1”
	 ถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “0”
	 โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยน ผลการเรียนของผู้เรียน โดยปฏิบัติดังนี้
	 	 1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ต้องเรียนซํ้ารายวิชานั้น
	 	 2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ต้องเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่
	 2.2 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร”
	 “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียนรายวิชา
นั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ท�ำ ซึ่งงานนั้นเป็น
ส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัย  ที่ท�ำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้
	 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ให้ด�ำเนินการดังนี้
	 ให้นักเรียนด�ำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อนักเรียนแก้ไขปัญหาเสร็จแล้วจะได้ระดับผลการเรียน
ตามปกติ (ตั้งแต่ 0 - 4 )
	 ถ้านักเรียนไม่ด�ำเนินการแก้ไข “ร” กรณีที่ส่งงานไม่ครบ แต่มีผลการประเมินระหว่างภาคเรียนและปลาย
ภาค ให้ครูผู้สอนน�ำข้อมูลที่มีอยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะ
ขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการ
ศึกษานั้น เมื่อพ้นก�ำหนดนี้แล้วให้เรียนซํ้า 
หากนักเรียนแก้ “ร” แล้วผลการเรียนเป็น “0” ให้ด�ำเนินการแก้ไขผลการเรียน “0” ต่อไป
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 16
	 2.3 การเปลี่ยนผลการเรียน “มส”
	 “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ
80 ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน
	 การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี 2 กรณี ดังนี้
	   1) กรณีนักเรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึง  ร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น
	 ครูผู้สอนจะจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริมหรือใช้เวลาว่าง หรือใช้วันหยุด หรือมอบ
หมายงานให้ท�ำ จนมีเวลาเรียนครบตามที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับรายวิชานั้น แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ
ผลการแก้ “มส” นักเรียนจะได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1”
	 การแก้ “มส” กรณีนี้ให้กระท�ำให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้านักเรียนไม่มาด�ำเนินการแก้ “มส”
ภายในปีการศึกษานั้นต้องเรียนซํ้า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้
“มส” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่เมื่อพ้นก�ำหนดนี้แล้ว ให้ปฏิบัติดังนี้
	 	 (1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานต้องเรียนซํ้ารายวิชานั้น
	 	 (2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ต้องเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่
	   2) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้
สถานศึกษาด�ำเนินการดังนี้
	 	 (1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ต้องเรียนซํ้ารายวิชานั้น
	 	 (2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ต้องเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่
	 การเรียนซํ้ารายวิชา
	 	 การเรียนซํ้ารายวิชา นักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้วไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมิน ให้เรียนซํ้ารายวิชานั้น ทั้งนี้สถานศึกษาจะจัดให้นักเรียนเรียนซํ้าในช่วงใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็น
ว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดูร้อน เป็นต้น
	 ในกรณีภาคเรียนที่ 2 หากนักเรียนยังมีผลการเรียน “0” “ร” “มส” ให้ด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนเปิด
เรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผลการเรียนของนักเรียน
	 2.4 การเปลี่ยนผล “มผ”
	 กรณีที่ผู้เรียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนท�ำกิจกรรม ในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วม
หรือไม่ได้ท�ำจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ด�ำเนินการ ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียน
นั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาค
เรียนส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 17
3. การเลื่อนชั้น
	 เมื่อสิ้นปีการศึกษา นักเรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
	 ระดับชั้นประถมศึกษา
	 1) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน
	 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนด
	 ทั้งนี้ ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อม
เสริมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้
	 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
	 1) รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนด
	 2) นักเรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนดในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
	 3) ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นควรได้ไม่ตํ่ากว่า 1.00
	 ทั้งนี้ รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษา สามารถซ่อมเสริมนักเรียนให้ได้รับการแก้ไขใน
ภาคเรียนถัดไปทั้งนี้ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 18
4. การเรียนซํ้าชั้น
	 ระดับชั้นประถมศึกษา
	 ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจ�ำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซํ้าชั้นได้ ทั้งนี้ ให้ค�ำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถ
ของผู้เรียนเป็นส�ำคัญผู้เรียนที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้น สถานศึกษาควรให้เรียนซํ้าชั้น ทั้งนี้สถาน
ศึกษาอาจใช้ดุลยพินิจให้เลื่อนชั้นได้ หากพิจารณาว่าผู้เรียนมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้
	 1) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษาก�ำหนดใน
แต่ละรายวิชา แต่เห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษานั้น และมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์การเลื่อนชั้นใน
ข้ออื่น ๆ ครบถ้วน
	 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา 
ศาสนา และวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่าน
	 ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเรียนซํ้าชั้น สถานศึกษาควรแจ้งให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบเหตุผลของการ
เรียนซํ้าชั้น
	 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
	
	 นักเรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจ�ำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
โรงเรียนจะพิจารณาให้เรียนซํ้าชั้น
	 การเรียนซํ้าชั้น มี 2 ลักษณะ คือ
	 1) นักเรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นตํ่ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อ
การเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
	 2) นักเรียนมีผลการเรียน 0, ร, มส มากกว่า 1 สาระการเรียนรู้และไม่ด�ำเนินการแก้ไขตามที่ก�ำหนด ที่
ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น
	 ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง 2 ลักษณะ หากโรงเรียนเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้
ซํ้าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 19
เกณฑ์การจบหลักสูตร
เกณฑ์การจบระดับชั้นประถมศึกษา
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลา
เรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก�ำหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
2. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษาก�ำหนด
3. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษาก�ำหนด
4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
เกณฑ์การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม
ตามที่สถานศึกษาก�ำหนด
2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน66 หน่วยกิต
และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต
3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากก�ำหนด
4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
ก�ำหนด
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 20
การเทียบโอนผลการเรียน
	 โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายโรงเรียน การเปลี่ยนรูปแบบ
การศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอ
เข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ
เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว การเทียบโอน
ผลการเรียนควรด�ำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอน
เป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษา ต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่าง
น้อย 1 ภาคเรียน
	
	 การพิจารณาการเทียบโอน สามารถด�ำเนินการได้ ดังนี้
	 1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
	 2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งภาคความรู้และ
ภาคปฏิบัติ
	 3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม
ประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ ส�ำหรับการเทียบโอนเข้าสู่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ด�ำเนินการ
ตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอน ผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 21
ข้อปฏิบัติของนักเรียน
1. การมาเรียนและการออกนอกบริเวณโรงเรียน
	 การมาเรียนต้องมาถึงโรงเรียนก่อนเวลา 07:30 น. เพื่อให้ทันพิธีเคารพธงชาติ และท�ำกิจกรรมหน้า
เสาธง ถ้ามาเกินกว่าเวลา 08:20 - 10.00 น. ถือว่ามาสาย
	 1.1 ก�ำหนดเวลาท�ำการปกติของโรงเรียน โรงเรียนก�ำหนดเวลาให้นักเรียนดังนี้
	 	 07:20 น. 	 สัญญาณออดครั้งที่ 1 เพื่อเตือนนักเรียนท�ำความสะอาดโรงเรียนตามพื้นที่	 	
	 	 	 	 ความรับผิดขอบของห้อง
	 	 07:50 น. 	 สัญญาณออดครั้งที่ 2 เปิดเพลงสูตรคูณ เพื่อเตือนนักเรียนเตรียมความ	 	
	 	 	 	 พร้อมเพื่อเข้าแถว
	 	 08:00 น. 	 พิธีเคารพธงชาติ พิธีทางศาสนา(พุทธ อิสลาม) ปฏิญาณตน 	 	 	    	
	 	    	 รับฟังการแจ้งข่าวสารและการอบรมต่าง ๆ
	 	 08:20 - 08:30 น. HOME ROOM (วันพฤหัสบดี)
	 	 08:30 - 15:30 น. เข้าเรียนตามตารางเรียน
	 เมื่อนักเรียนเข้ามาในบริเวณโรงเรียนแล้ว จะต้องอยู่ในโรงเรียนจนถึงเวลา 15:30 น. (ถ้ามีความ
จ�ำเป็นอยู่ได้ไม่เกินเวลา 17:30 น. แต่ต้องมารอที่หน้าโดม) จึงจะสามารถออกนอกบริเวณโรงเรียนได้โรงเรียน
อนุญาตให้นักเรียนอยู่บนอาคารเรียนได้ระหว่างเวลา 07:00 น. – 17:00 น.
	 1.2 การมาโรงเรียนในวันหยุดราชการ นักเรียนมาท�ำกิจกรรมใด ๆ ในบริเวณโรงเรียนต้องแต่งเครื่อง
แบบนักเรียนหรือชุดสุภาพให้เรียบร้อย
	 1.3 เพื่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของนักเรียน ห้ามนักเรียนน�ำรถยนต์ รถจักรยานยนต์มาโรงเรียน
โดยเด็ดขาด (หากมีความจ�ำเป็นต้องแจ้งโรงเรียนเป็นกรณีพิเศษ)
	 1.4 นักเรียนต้องไม่น�ำของมีค่า มาโรงเรียน หากเกิดการสูญหายโรงเรียนไม่รับผิดชอบใด ๆทั้งสิ้น
2. การมาโรงเรียนสาย
	 โรงเรียนมีความประสงค์ให้นักเรียนเป็นผู้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ไม่มาโรงเรียนสายถ้ามา
โรงเรียนตั้งแต่เวลา 08:20 น.เป็นต้นไป ถือว่ามาโรงเรียนสาย นักเรียนที่มาโรงเรียนสายต้องปฏิบัติ ดังนี้
	 2.1 ต้องมีผู้ปกครองมาส่ง หรือมีจดหมายรับรอง ที่มีลายมือชื่อผู้ปกครองที่ให้ไว้ กับโรงเรียนตามแบบ
บันทึกข้อมูลนักเรียน และหนังสือรับรองความประพฤติ และมีเอกสารหลักฐานยืนยันความจ�ำเป็น
	 2.2 หากนักเรียนมาโรงเรียนสาย ไม่มีผู้ปกครองมาส่ง หรือไม่มีจดหมายรับรองจากผู้ปกครองถือว่ามี
ความผิด ต้องได้รับการพิจารณา เพื่อแก้ไขพฤติกรรมนักเรียนตามระเบียบของโรงเรียน
	 2.3 ถ้านักเรียนมาสาย3ครั้งโรงเรียนรายงานถึงผู้ปกครองเพื่อให้ผู้ปกครองได้แก้ไขและรับรองกับทาง
โรงเรียนว่าจะไม่ให้นักเรียนในปกครองมาสายอีก ถ้ามาสายเกิน 3 ครั้ง โรงเรียนเชิญผู้ปกครองมาพบกับคุณครู
ผู้ดูแลเพื่อร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหา
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 22
3. การลา (ไม่มีการนับเวลาเรียนให้ การลาคือการขาดเรียนแต่มีการแจ้งเหตุให้ทราบ)
	 การส่งใบลาทุกชนิด (ตามแบบใบลาที่โรงเรียนก�ำหนด รับได้ที่กลุ่มงานธุรการ) ให้ส่งใบลากับครูที่ปรึกษา 
	 3.1 การลาป่วย ให้ส่งใบลาในวันที่ลาหรือวันที่กลับมาเรียนวันแรก โดยมีลายมือชื่อรับรองของผู้ปกครอง
คนเดียวกับที่ลงลายมือชื่อไว้ในแบบบันทึกข้อมูลนักเรียน
	 3.2 การลากิจ ให้ส่งใบลาล่วงหน้าก่อนวันลา แต่ถ้าไม่สามารถส่งได้ อนุญาตให้ด�ำเนินการ ได้เช่นเดียวกับ
ลาป่วย
	 3.3 การลาออกนอกบริเวณโรงเรียน (ก่อนเวลา 15:30 น.) เมื่อนักเรียนมาอยู่ในบริเวณโรงเรียนแล้ว หาก
มีความจ�ำเป็นที่จะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียน ต้องปฏิบัติดังนี้
	 	 3.3.1 ผู้ปกครองมารับด้วยตนเอง (ผู้ปกครองคนเดียวกับที่ลงลายมือชื่อในแบบบันทึกข้อมูล
นักเรียน) และต้องแสดงบัตรประจ�ำตัวประชาชน
	 	 3.3.2 นักเรียนน�ำใบลาที่ผู้ปกครองเขียนและลงลายมือชื่อที่ตรงกับลายมือชื่อในแบบบันทึกข้อมูล
นักเรียน ไปให้ครูที่ปรึกษารับทราบ แจ้งครูผู้สอน รายวิชาต่าง ๆ ในวันนั้นให้ทราบ (ครูผู้สอนเฉพาะชั่วโมงที่ลา)
แล้วน�ำมาขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนที่กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน
	 3.4 การหยุดเรียน นักเรียนจะต้องมีเวลาเรียนอย่างน้อย 80% จะหยุดเรียนได้ตามวันหยุดราชการ และ
ที่โรงเรียนให้หยุดเรียนแล้วแต่กรณี(โรงเรียนมีจดหมายแจ้งผู้ปกครอง) หรือนักเรียนขอลาหยุด ถ้านักเรียนหยุด
เรียน โดยไม่ทราบสาเหตุเกิน 3 วัน ทางโรงเรียนจะแจ้งผู้ปกครองเพื่อขอทราบสาเหตุ ถ้าหยุดเรียนเกิน 7 วัน ทาง
โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมาพบ เพื่อทราบเหตุผลและหาทางแก้ไขร่วมกัน
4. การท�ำกิจกรรมนอกโรงเรียน
	 โรงเรียนมีจุดประสงค์มุ่งพัฒนาศักยภาพนักเรียน ส่งเสริมความสามารถของนักเรียนทุกคนทุกด้าน เมื่อมี
โอกาส นักเรียนที่จะออกไปท�ำกิจกรรมนอกโรงเรียน เช่น การแข่งขันกีฬา ตอบปัญหา ทัศนศึกษา อยู่ค่ายพักแรม
การแสดงต่าง ๆ ฯลฯ มีขั้นตอนดังนี้
	 4.1 โรงเรียนส่งหนังสือขออนุญาตจากผู้ปกครองเพื่อแจ้งให้ทราบ
	 4.2 นักเรียนน�ำหนังสืออนุญาตจากผู้ปกครองมาส่งคืนโรงเรียน
	 4.3 โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ถ้าผู้ปกครองไม่อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
5. การรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน นักเรียนพึงปฏิบัติดังนี้
	 5.1 ทิ้งสิ่งที่ไม่ต้องการ ลงในถังขยะที่รองรับให้ถูกประเภท
	 5.2 ไม่เด็ด หัก หรือท�ำลายไม้ดอก ไม้ประดับหรือไม้ยืนต้นของโรงเรียน
	 5.3 ไม่ขีดเขียนผนังอาคาร โต๊ะ เก้าอี้ ม้าหิน ห้องน�้ำของโรงเรียน
	 5.4 ช่วยกันรักษาความสะอาดของโรงเรียน ห้องเรียนและผนังอาคารเรียน
	 5.5 ช่วยกันรักษาความสะอาด โดยเฉพาะบริเวณที่มีบริการน�้ำดื่ม - น�้ำใช้
	 5.6 ไม่ท�ำลายทรัพย์สินของโรงเรียน หากพบเห็นสิ่งใดช�ำรุด แจ้งให้ครูทราบ
	 5.7 ถ้านักเรียนคนใดท�ำลายทรัพย์สมบัติของโรงเรียน ในลักษณะใดก็ตามนักเรียน จะได้รับการปรับ
พฤติกรรมตามระเบียบของโรงเรียน และชดใช้ค่าเสียหายในการนั้น ๆ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 23
6. การใช้เครื่องมือสื่อสารของนักเรียน
	 โรงเรียนไม่มีนโยบายให้นักเรียนน�ำเครื่องมือสื่อสารใด ๆ มาใช้ในโรงเรียน อนุโลมให้ใช้ได้ในช่วงเวลาก่อน
และหลังเลิกเรียนเท่านั้นใช้ผิดจากข้อก�ำหนดจะถูกยึดไว้ 7 วันท�ำการ และหากเกิดความสูญหายทางโรงเรียนจะ
ไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนชาร์ตแบตเตอรี่เครื่องมือสื่อสาร และ Power Bank ใน
โรงเรียนเด็ดขาด หากพบการกระท�ำดังกล่าวนักเรียนจะได้รับการปรับพฤติกรรมตามระเบียบของโรงเรียน
7. การเดินบนถนนหรือระเบียง และขึ้นบันไดในโรงเรียน
	 การเดินในบริเวณโรงเรียนให้เดินชิดขวาเสมอ โดยเฉพาะเวลาเปลี่ยนคาบเรียนให้เดินเป็นแถวให้เรียบร้อย
ไม่พูดคุยกันเสียงดัง
8. การมาพบและเยี่ยมนักเรียน
	 การขอพบนักเรียน ผู้มาขอพบต้องแต่งกายสุภาพเป็นแบบอย่างที่ดีกับนักเรียน และให้ติดต่อขอพบที่์
ฝ่ายงานธุรการ ชั้น 1 การอนุญาตให้พบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ปกครองตามใบมอบตัว และอยู่ในดุลยพินิจของ
โรงเรียนเท่านั้น
9. การติดต่อกับผู้ปกครอง
	 เมื่อนักเรียนมีปัญหาเรื่องความประพฤติ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียนจะแจ้งผู้ปกครองเชิญมาพบที่โรงเรียน
เพื่อปรึกษาหารือในการที่จะช่วยดูแลนักเรียน
10. ด้านการเรียน
	 นักเรียนต้องเข้าเรียน ให้ทันเวลาที่ก�ำหนด สนใจในการเรียนเชื่อฟังและปฏิบัติตามที่ครูแนะน�ำไม่วาง
อุปกรณ์การเรียนหรือกระเป๋าหนังสือทิ้งไว้โดยไม่มีผู้ดูแล ไม่น�ำอาหาร เครื่องดื่มขึ้นบนอาคารเรียน ถ้านักเรียน
มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์จะบันทึกลงในสมุดบันทึกการเรียนประจ�ำวัน เพื่อรับการแก้ไข/ตัดคะแนน พฤติกรรม
นักเรียนทุกคนจะอยู่ในความดูแลของครูที่ปรึกษา เมื่อมีปัญหาใด ๆ นักเรียนสามารถ ปรึกษากับครูที่ปรึกษาของ
นักเรียน และครูแนะแนว
หมายเหตุ
	 คุณสมบัติของผู้ปกครอง นักเรียนโรงเรียนสุเหร่าเขียว
	 1. เป็นบิดามารดา หรือผู้แสดงเจตจ�ำนงไว้กับทางโรงเรียนขอผู้เป็นผู้ปกครองนักเรียน
	 2. ต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ (ไม่เป็นนิสิต นักศึกษา) สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับตัวนักเรียนได้
	 3. ให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียน และมาพบกับทางโรงเรียนได้เสมอเมื่อทางโรงเรียนเชิญมาพบ
	 4. ต้องแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เมื่อเข้ามาในบริเวณโรงเรียน เพื่อเป็นแบบอย่างอันดีงามกับนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 24
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘
.....................................
	 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.
๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา
ไว้ดังต่อไปนี้
	 ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและ
นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘”
	 ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
	 ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓
	 ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
	 “ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อ�ำนวยการ
อธิการบดี หรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาหรือต�ำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียน
หรือสถานศึกษานั้น
	 “กระท�ำความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ
ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติ
ของนักเรียนและนักศึกษา
	 “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�ำความผิด โดยมี
ความมุ่งหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน
	 ข้อ ๕ โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�ำความผิด มี ๔ สถาน ดังนี้
	 (๑) ว่ากล่าวตักเตือน
	 (๒) ท�ำทัณฑ์บน
	 (๓) ตัดคะแนนความประพฤติ
	 (๔) ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
	 ข้อ ๖ ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือลงโทษด้วย
ความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยให้ค�ำนึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรง
ของพฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 25
	การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดีของ
นักเรียนหรือนักศึกษาให้รู้ส�ำนึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป
	 ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มี
อ�ำนาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา
	 ข้อ ๗ การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิดไม่ร้ายแรง
	 ข้อ ๘ การท�ำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ
นักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีท�ำให้
เสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รับโทษ
ว่ากล่าวตักเตือนแล้ว แต่ยังไม่เข็ดหลาบ
	 การท�ำทัณฑ์บนให้ท�ำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด
และรับรองการท�ำทัณฑ์บนไว้ด้วย
	 ข้อ ๙ การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนน ความ
ประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษาก�ำหนด และให้ท�ำบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน
	 ข้อ ๑๐ ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความ
ผิดที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
	 ข้อ ๑๑ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียนนี้และให้มีอ�ำนาจ ตีความและ
วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
	 ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
อดิศัย โพธารามิก
	รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 26
กฎกระทรวง
ก�ำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘
	 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ อัน
เป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับ
มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�ำได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
	 ข้อ ๑ นักเรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้
	 (๑) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน
	 (๒) เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน
	 (๓) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด
	 (๔) ซื้อ จ�ำหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือยาเสพติด
	 (๕) ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น
	 (๖) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ท�ำร้ายร่างกายผู้อื่น เตรียมการหรือกระท�ำการใดๆ อันน่าจะก่อให้เกิด
ความไม่สงบเรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
	 (๗) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ
	 (๘) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี
	 (๙) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความเดือดร้อน
ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น
	 ข้อ ๒ ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาก�ำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา
ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้
	 ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
จาตุรนต์ ฉายแสง
	รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาการ
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖บัญญัติ
ให้นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษาและตามที่ก�ำหนด ในกฎกระทรวง จึงจ�ำเป็นต้องออกกฎ
กระทรวงนี้
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 27
ระเบียบโรงเรียนสุเหร่าเขียว ว่าด้วยการแต่งกายนักเรียน
	 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนสุเหร่าเขียว ว่าด้วยการแต่งกายนักเรียน” นักเรียนโรงเรียน
สุเหร่าเขียวยทุกคน ต้องปฏิบัติตามระเบียบนี้อย่างเคร่งครัด ตามเครื่องแบบที่ก�ำหนดให้ตามระเบียบกระทรวง
ศึกษาธิการ
1. เครื่องแบบนักเรียนชาย
	 1.1 ระดับอนุบาล
	 	 1.1.1 เสื้อ ผ้าสีขาว แบบคอเชิ้ต แขนสั้น มีกระเป๋าติดระดับราวนมเบื้องซ้าย 1 กระเป๋า ปักอักษร
ส.ข. ทางด้านหน้าอกขวา และชื่อ-นามสกุลด้วยไหมสีน�้ำเงินตามขนาดและแบบของโรงเรียน ที่หน้าอกด้านซ้าย
เหนือกระเป๋าเสื้อ
	 	 1.1.2 กางเกง ผ้าสีกรมท่า ขายาว (นักเรียนมุสลิม) ขาสั้น (นักเรียนพุทธ)
	 	 1.1.3 รองเท้า หนังสีด�ำ แบบหุ้มส้นปลายเท้า  มีสายรัดหลังเท้า 
	 	 1.1.4 ถุงเท้าสั้น  สีขาว
	 	 1.1.5 ผม ตัดสั้นทรงรองหวีเบอร์ 1 ผมบนศีรษะยาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร
	 1.2 ระดับประถมศึกษา
		 1.1.1 เสื้อ เป็นเสื้อเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่มีลวดลาย แขนสั้นเพียงข้อศอก มีกระเป๋าติดระดับ
ราวนมเบื้องซ้าย 1 กระเป๋า ปักอักษร ส.ข. ทางด้านหน้าอกขวา และชื่อ-นามสกุลด้วยไหมสีน�้ำเงินตามขนาดและ
แบบของโรงเรียน ที่หน้าอกด้านซ้ายเหนือกระเป๋าเสื้อ และสอดชายเสื้อไว้ในกางเกงให้เรียบร้อยจนสามารถมอง
เห็นเข็มขัดได้อย่างชัดเจนตลอดทั้งเส้น
	 	 1.1.2 กางเกง ผ้าสีกากี พื้นผ้าเกลี้ยง ทรงสบาย เป้าไม่สั้น เวลาสวมเอวกางเกงไม่ต�่ำกว่าระดับ
สะดือ ขาไม่บานหรือฟิตจนเกินไป
	 	 - นักเรียนพุทธ กางเกงขาสั้นเหนือเข่า 4 ซ.ม. มีกระเป๋าตรงตะเข็บข้าง ข้างละ 1 กระเป๋าไม่มี
กระเป๋าหลัง จ�ำนวน 7 หู ส�ำหรับร้อยเข็มขัด สวมทับชายเสื้อไว้ให้เรียบร้อย
	 	 - นักเรียนมุสลิม กางเกงขายาวระดับตาตุ่ม ปลายขาพับเข้าข้างในไม่มีกระเป๋าหลัง, กระเป๋าลับ หู
กางเกง 7 หู มีจีบด้านหน้าข้างละ 2 จีบ สวมทับชายเสื้อไว้ให้เรียบร้อย
	 	 1.1.3 เข็มขัด สายหนังสีนํ้าตาลหัวเข็มขัดโลหะสีทองสี่เหลี่ยมผืนผ้า
	 	 1.1.4 ถุงเท้า สีนํ้าตาล เรียบ สวมดึงให้ตึงไม่พับปลาย
	 	 1.1.5 รองเท้า ผ้าใบหุ้มส้นสีนํ้าตาล ไม่มีลวดลาย 	
	 	 1.1.6 ผม ตัดสั้นทรงรองหวีเบอร์ 1 ผมบนศีรษะยาวไม่เกิน 4 เซนติเมต
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561

More Related Content

What's hot

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1Prachyanun Nilsook
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......Chalermpon Dondee
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับMinny Min Min
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPwaranyuati
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 

What's hot (20)

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21
 
การนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุมการนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุม
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #1
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #1
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSP
 
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 

Similar to คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561

คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]CMRU
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637Sovath123
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637Sovath123
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 

Similar to คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561 (20)

คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561

  • 2. วิสัยทัศน์-พันธกิจ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 2 วิสัยทัศน์ ผู้เรียนเพียบพร้อม คุณธรรม จริยธรรม น�ำการเรียนรู้สู่มาตรฐานการศึกษา ไม่พึ่งพายาเสพติด ยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. ส่งเสริมและปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่จ�ำเป็นตามหลักสูตร 3. สร้างโอกาสให้ประชากรวัยเรียนได้เข้าเรียนครบทุกคน 4. บริหารจัดการศึกษาโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 5. บริหารจัดการมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค�ำขวัญ เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม อัตลักษณ์ “วิถีมุสลิม” เอกลักษณ์ “ลิเกฮูลู” สีประจ�ำโรงเรียน เขียว - ขาว
  • 3. คำ�นำ� คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 3 หนังสือคู่มือนักเรียน และผู้ปกครอง จัดท�ำขึ้นเพื่อให้นักเรียน และผู้ปกครอง ทุกคนได้ศึกษา ข้อมูล กฎระเบียบต่าง ๆ ของโรงเรียนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย ทรงผม การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน การมาสาย ระเบียบการวัดและประเมินผล รวมทั้งโครงสร้างของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรับปรุง 2560 ในระดับชั้นอนุบาล ระดับชั้น ประถมศึกษา และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อีกทั้งเปนแนวทางปฏิบัติรวมกันระหวางโรงเรียน ครู ผูปกครองและนักเรียน เกี่ยวกับระเบียบ ขอบังคับทั้งในดานงานปกครองและงานวิชาการ พรอมรายละเอียดดานการปฏิบัติตนตามระเบียบของ โรงเรียน อันจะน�ำไปสู่ความเข้าใจ และการปฏิบัติที่ถูกต้องระหว่างที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนสุเหร่าเขียว ทางโรงเรียนหวังว่าหนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง เล่มนี้ จะเป็นคู่มือที่ผู้ปกครองใช้ให้เป็น ประโยชน์ ท�ำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในการร่วมมือกันดูแลนักเรียนของโรงเรียนสุเหร่าเขียวทุกคน ทาง โรงเรียนใคร่ขอให้ผู้ปกครองและนักเรียนตระหนักอยู่เสมอว่า การเรียนรู้จะประสบผลส�ำเร็จได้ขึ้นอยู่กับ ความร่วมมือของผู้ปกครอง ครู และนักเรียนเป็นส�ำคัญ โรงเรียนสุเหร่าเขียว 16 พฤษภาคม 2561
  • 4. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 4 สารบัญ วิสัยทัศน์-พันธกิจ......................................................................................................................... 2 เป้าหมาย - กลยุทธิ์...................................................................................................................... 5 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนสุเหร่าเขียว........................................................................................ 6 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้................................................................................................. 10 เกณฑ์การจบระดับชั้นประถมศึกษา............................................................................................. 19 เกณฑ์การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น................................................................................... 19 การเทียบโอนผลการเรียน............................................................................................................ 20 ข้อปฏิบัติของนักเรียน.................................................................................................................. 21 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548.................... 24 กฎกระทรวงกําหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา..................................................... 26 ระเบียบโรงเรียนสุเหร่าเขียว ว่าด้วยการแต่งกายนักเรียน............................................................ 27 คณะกรรมการจัดทําคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง.......................................................................... 35
  • 5. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 5 เป้าหมาย-กลยุทธ์โรงเรียน เป้าหมาย 1. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยี สื่อ สารสนเทศ และแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 3. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการพัฒนาสู่ครูมืออาชีพและจัดการเรียนการสอนได้ตาม กลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาทุกระดับและพัฒนาการใช้เทคโนโลยี กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรมความเป็นไทยและวิธีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงเสมอภาคทุกประเภทและพัฒนาเต็มตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจัดการเรียนการ สอนได้อย่างมีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งมีคุณภาพตามแนวทางการกระจายอ�ำนาจบนหลักธรรมาภิบาล ด้วยการ บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
  • 6. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 6 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนสุเหร่าเขียว โรงเรียนสุเหร่าเขียว จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้ และเวลาเรียน โรงเรียนให้ครูจัดท�ำแผนการเรียนรู้ ที่มีจุด เน้นเป็นพิเศษ ในการพัฒนาผู้เรียนในด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์มีวิจารณญาณ และมีความ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ในด้านการอ่านและการเขียนแผนการเรียนรู้จุดเน้นการพัฒนา ผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ การอ่านคิดวิเคราะห์และการเขียน
  • 7. โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนสุเหร่าเขียว โครงสร้างเวลาเรียนระดับชั้นอนุบาล คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 7 ช่วงอายุ อายุ 4-6 ขวบ สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำ�คัญ สาระที่ควรเรียนรู้ - ด้านร่างกาย - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - ด้านอารมณ์ และจิตใจ - เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และ สถานที่แวดล้อมเด็ก - ด้านสังคม - ธรรมชาติรอบตัว - ด้านสติปัญญา - สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน หรือ ประมาณ 38-40 สัปดาห์ เวลาเรียน ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน หรือประมาณ 38-40 สัปดาห์ 1. สาระการเรียนรู้ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ประสบการณ์ส�ำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ซึ่งใช้เป็นสื่อกลาง ในการจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สาระการเรียนรู้จัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ หรือการเรียนรู้รูปแบบโครงการจัดประสบการณ์บูรณาการ ผ่าน กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม 1.1 ประสบการณ์ส�ำคัญ ได้แก่ - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม - ประสบการณ์ส�ำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา 1.2 สาระที่ควรเรียนรู้ ได้แก่ - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล สิ่งแวดล้อม - เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว - เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว 2. ก�ำหนดเวลาเรียน ระดับชั้นปฐมวัยหลักสูตร 2 ปี ประกอบด้วยชั้นอนุบาลปีที่ 2 และชั้นอนุบาลปีที่ 3 ก�ำหนด เวลาเรียน ปีการศึกษาละ 2 ภาคเรียน หรือประมาณ 38 - 40 สัปดาห์
  • 8. โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนสุเหร่าเขียว โครงสร้างเวลาเรียนระดับชั้นประถมศึกษา หมายเหตุ โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคม จิตอาสาและสารธารณะประโยชน์ บูรณาการใน กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี จ�ำนวน 10 ชั่วโมง โดยใน 40 ชั่วโมง ที่ท�ำกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ผู้เรียนจะต้อง ร่วมท�ำความสะอาด บริเวณโรงเรียน 4 ชั่วโมง ท�ำความสะอาดบริเวณมัสยิดและอนามัย 6 ชั่วโมง คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 8 และเทคโนโลยี
  • 9. หมายเหตุ โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคม จิตอาสาและสารธารณประโยชน์ บูรณาการใน กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี จ�ำนวน 15 ชั่วโมง โดยใน 40 ชั่วโมง ที่ท�ำกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีนั้น ผู้เรียน จะต้องร่วมท�ำความสะอาด บริเวณโรงเรียน 10 ชั่วโมง ท�ำความสะอาดบริเวณมัสยิดและอนามัย 5 ชั่วโมง คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 9 โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปรับปรุง 2560 โรงเรียนสุเหร่าเขียว โครงสร้างเวลาเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และเทคโนโลยี
  • 10. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 10 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน 1. การตัดสินและการให้ระดับผลการเรียน 1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น จะค�ำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคน เป็นหลักและเก็บข้อมูลของผู้เรียน ทุกด้านอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้ง สอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ดังนี้ 1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ 2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด 3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา 4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียน ก�ำหนด ในการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1.2 การให้ระดับผลการเรียนรายวิชา โรงเรียนสุเหร่าเขียวได้ก�ำหนดให้ผู้เรียนได้รับการตัดสินผลการประเมินจากครูผู้สอนเป็น 8 ระดับ การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้ระบบผ่าน และไม่ผ่าน โดยก�ำหนดเกณฑ์การตัดสินผ่าน แต่ละรายวิชาที่ร้อยละ50 คิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน คะแนนระหว่างภาค 70 คะแนน คะแนนปลายภาค 30 คะแนน (ส�ำหรับวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ ประวติฯ) และ คะแนน ระหว่างภาค 80 คะแนน คะแนนปลายภาค 20 คะแนน(วิชาสุขศึกษา, พละศึกษา, การงานพื้นฐานฯ, การงาน คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม) ส�ำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับประถมศึกษา คิดคะแนนปฏิบัติกิจกรรม ระหว่างภาค 70 คะแนน สอบปลายภาค 30 คะแนน รวม 100 คะแนน เอามาคิดระดับผลการเรียน ไม่คิดระดับ ผลการเรียนรายภาค จากนั้นจึงให้ระดับผลการเรียนที่ผ่าน ส�ำหรับระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ใช้ ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ แนวการให้ระดับผลการเรียนและความหมายของแต่ละระดับดังแสดง ในตาราง ดังนี้
  • 11. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 11 ระดับผลการเรียน 4 ดีเยี่ยม 80 - 100 3.5 ดีมาก 75 - 79 3 ดี 70 - 74 2.5 ค่อนข้างดี 65 - 69 2 ปานกลาง 60 - 64 1.5 พอใช้ 55 - 59 1 ผ่านเกณฑ์ขั้นต�่ำ 50 - 54 0 ต�่ำกว่าเกณฑ์ 0 - 49 ความหมาย ช่วงคะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ ได้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน ดังนี้ “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึง ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียน รายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ท�ำ ซึ่งงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ท�ำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ เกณฑ์การคิดระดับผลการเรียน
  • 12. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 12 ระดับ 3 ดีเยี่ยม มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ 2 ดี มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ 1 ผ่าน มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ 0 ไม่ผ่าน ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้น ยัง มีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุง แก้ไขหลายประการ ความหมาย เกณฑ์การพิจารณา 1.3 การประเมินด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ โรงเรียนสุเหร่าเขียวได้ก�ำหนดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในทุกรายวิชา โดยใช้เกณฑ์การประเมินของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้ก�ำหนดขึ้น การตัดสินผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความของผู้เรียน จะเป็น 4 ระดับ ดังนี้ 1.4 การประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนสุเหร่าเขียวได้ก�ำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และใช้เป็นรายการส�ำหรับการประเมินของครูผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยใช้เกณฑ์ การประเมินของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้ก�ำหนดขึ้น การประเมินผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนประกอบด้วย 8 ด้าน ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการท�ำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 13. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 13 เกณฑ์การพิจารณา คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็น 4 ระดับ ดังนี้ ระดับ ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัยและน�ำ ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและ สังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ�ำนวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต�่ำกว่าระดับดี 2 3 ดี ดีเยี่ยม ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามเกณฑ์ เพื่อให้ เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ�ำนวน 1-4 คุณลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน ต�่ำกว่าระดับดี หรือ 2. ได้ผลการประเมินระดับดีทั้ง 8 คุณลักษณะ หรือ 3. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จ�ำนวน 5-7 คุณลักษณะและมีบางคุณลักษณะได้ผลการประเมิน ระดับผ่าน 1 ผ่าน ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่ โรงเรียนก�ำหนดโดยพิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทั้ง 8 คุณลักษณะ 2. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จ�ำนวน 1-4 คุณลักษณะและคุณลักษณะที่เหลือได้ผลการประเมิน ระดับผ่าน 0 ไม่ผ่าน ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และ เงื่อนไขที่โรงเรียนก�ำหนด โดยพิจารณาจากผลการ ประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะ ความหมาย เกณฑ์การพิจารณา
  • 14. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 14 ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มีผลงานตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด มผ ผ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด ผลการประเมิน ความหมาย 1.5 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 ลักษณะ คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย (1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี (2) กิจกรรมชุมนุมหรือชมรม 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนก�ำหนด และให้ผลการประเมิน ดังนี้
  • 15. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 15 2. การเปลี่ยนผลการเรียน (ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น) 2.1 การเปลี่ยนระดับผลการเรียน “0” เนื่องจากการวัดผลให้น�้ำหนักของคะแนนการวัดผลระหว่างเรียนมากกว่าคะแนน การวัดผลปลายภาค และผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ และวัดชี้วัดจากครูผู้สอนก่อนการ ตัดสินผลการเรียน เมื่อมีการตัดสินผลการเรียนผู้เรียนได้ระดับ ผลการเรียน “0” โรงเรียนต้องจัดสอนซ่อมเสริม ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ก่อนแล้วจึงสอบแก้ตัวหรือให้ปฏิบัติงานหรือกิจกรรม โดยโรงเรียนให้ โอกาสผู้เรียนแก้ตัวได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ทั้งนี้ผู้เรียนต้องด�ำเนินการแก้ไขให้เสร็จสิ้นตามปฏิทินงานวัดผลที่ก�ำหนด ถ้าผู้ เรียนไม่มาด�ำเนินการ ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้นี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อ�ำนวยการโรงเรียนที่จะพิจารณาขยาย เวลาแก้ “0” ออกไปได้อีก 1 ภาคเรียน ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการ ศึกษานั้น การเปลี่ยนระดับผลการเรียนจาก “0” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” ถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “0” โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการด�ำเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยน ผลการเรียนของผู้เรียน โดยปฏิบัติดังนี้ 1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ต้องเรียนซํ้ารายวิชานั้น 2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ต้องเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ 2.2 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียนรายวิชา นั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ท�ำ ซึ่งงานนั้นเป็น ส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัย ที่ท�ำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ให้ด�ำเนินการดังนี้ ให้นักเรียนด�ำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อนักเรียนแก้ไขปัญหาเสร็จแล้วจะได้ระดับผลการเรียน ตามปกติ (ตั้งแต่ 0 - 4 ) ถ้านักเรียนไม่ด�ำเนินการแก้ไข “ร” กรณีที่ส่งงานไม่ครบ แต่มีผลการประเมินระหว่างภาคเรียนและปลาย ภาค ให้ครูผู้สอนน�ำข้อมูลที่มีอยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะ ขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการ ศึกษานั้น เมื่อพ้นก�ำหนดนี้แล้วให้เรียนซํ้า หากนักเรียนแก้ “ร” แล้วผลการเรียนเป็น “0” ให้ด�ำเนินการแก้ไขผลการเรียน “0” ต่อไป
  • 16. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 16 2.3 การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี 2 กรณี ดังนี้ 1) กรณีนักเรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึง ร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น ครูผู้สอนจะจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริมหรือใช้เวลาว่าง หรือใช้วันหยุด หรือมอบ หมายงานให้ท�ำ จนมีเวลาเรียนครบตามที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับรายวิชานั้น แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” นักเรียนจะได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้ “มส” กรณีนี้ให้กระท�ำให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้านักเรียนไม่มาด�ำเนินการแก้ “มส” ภายในปีการศึกษานั้นต้องเรียนซํ้า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่เมื่อพ้นก�ำหนดนี้แล้ว ให้ปฏิบัติดังนี้ (1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานต้องเรียนซํ้ารายวิชานั้น (2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ต้องเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ 2) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้ สถานศึกษาด�ำเนินการดังนี้ (1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ต้องเรียนซํ้ารายวิชานั้น (2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ต้องเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ การเรียนซํ้ารายวิชา การเรียนซํ้ารายวิชา นักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมิน ให้เรียนซํ้ารายวิชานั้น ทั้งนี้สถานศึกษาจะจัดให้นักเรียนเรียนซํ้าในช่วงใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็น ว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดูร้อน เป็นต้น ในกรณีภาคเรียนที่ 2 หากนักเรียนยังมีผลการเรียน “0” “ร” “มส” ให้ด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนเปิด เรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผลการเรียนของนักเรียน 2.4 การเปลี่ยนผล “มผ” กรณีที่ผู้เรียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนท�ำกิจกรรม ในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วม หรือไม่ได้ท�ำจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ด�ำเนินการ ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียน นั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาค เรียนส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
  • 17. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 17 3. การเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษา นักเรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ระดับชั้นประถมศึกษา 1) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนด ทั้งนี้ ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อม เสริมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1) รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนด 2) นักเรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3) ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นควรได้ไม่ตํ่ากว่า 1.00 ทั้งนี้ รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษา สามารถซ่อมเสริมนักเรียนให้ได้รับการแก้ไขใน ภาคเรียนถัดไปทั้งนี้ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
  • 18. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 18 4. การเรียนซํ้าชั้น ระดับชั้นประถมศึกษา ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจ�ำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซํ้าชั้นได้ ทั้งนี้ ให้ค�ำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถ ของผู้เรียนเป็นส�ำคัญผู้เรียนที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้น สถานศึกษาควรให้เรียนซํ้าชั้น ทั้งนี้สถาน ศึกษาอาจใช้ดุลยพินิจให้เลื่อนชั้นได้ หากพิจารณาว่าผู้เรียนมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษาก�ำหนดใน แต่ละรายวิชา แต่เห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษานั้น และมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์การเลื่อนชั้นใน ข้ออื่น ๆ ครบถ้วน 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่าน ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเรียนซํ้าชั้น สถานศึกษาควรแจ้งให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบเหตุผลของการ เรียนซํ้าชั้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจ�ำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น โรงเรียนจะพิจารณาให้เรียนซํ้าชั้น การเรียนซํ้าชั้น มี 2 ลักษณะ คือ 1) นักเรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นตํ่ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อ การเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น 2) นักเรียนมีผลการเรียน 0, ร, มส มากกว่า 1 สาระการเรียนรู้และไม่ด�ำเนินการแก้ไขตามที่ก�ำหนด ที่ ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง 2 ลักษณะ หากโรงเรียนเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ ซํ้าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน
  • 19. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 19 เกณฑ์การจบหลักสูตร เกณฑ์การจบระดับชั้นประถมศึกษา 1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลา เรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก�ำหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษา ก�ำหนด 2. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษาก�ำหนด 3. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษาก�ำหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา ก�ำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา ก�ำหนด เกณฑ์การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษาก�ำหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากก�ำหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา ก�ำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา ก�ำหนด
  • 20. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 20 การเทียบโอนผลการเรียน โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายโรงเรียน การเปลี่ยนรูปแบบ การศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอ เข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว การเทียบโอน ผลการเรียนควรด�ำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอน เป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษา ต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่าง น้อย 1 ภาคเรียน การพิจารณาการเทียบโอน สามารถด�ำเนินการได้ ดังนี้ 1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน 2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งภาคความรู้และ ภาคปฏิบัติ 3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ ส�ำหรับการเทียบโอนเข้าสู่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ด�ำเนินการ ตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอน ผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 21. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 21 ข้อปฏิบัติของนักเรียน 1. การมาเรียนและการออกนอกบริเวณโรงเรียน การมาเรียนต้องมาถึงโรงเรียนก่อนเวลา 07:30 น. เพื่อให้ทันพิธีเคารพธงชาติ และท�ำกิจกรรมหน้า เสาธง ถ้ามาเกินกว่าเวลา 08:20 - 10.00 น. ถือว่ามาสาย 1.1 ก�ำหนดเวลาท�ำการปกติของโรงเรียน โรงเรียนก�ำหนดเวลาให้นักเรียนดังนี้ 07:20 น. สัญญาณออดครั้งที่ 1 เพื่อเตือนนักเรียนท�ำความสะอาดโรงเรียนตามพื้นที่ ความรับผิดขอบของห้อง 07:50 น. สัญญาณออดครั้งที่ 2 เปิดเพลงสูตรคูณ เพื่อเตือนนักเรียนเตรียมความ พร้อมเพื่อเข้าแถว 08:00 น. พิธีเคารพธงชาติ พิธีทางศาสนา(พุทธ อิสลาม) ปฏิญาณตน รับฟังการแจ้งข่าวสารและการอบรมต่าง ๆ 08:20 - 08:30 น. HOME ROOM (วันพฤหัสบดี) 08:30 - 15:30 น. เข้าเรียนตามตารางเรียน เมื่อนักเรียนเข้ามาในบริเวณโรงเรียนแล้ว จะต้องอยู่ในโรงเรียนจนถึงเวลา 15:30 น. (ถ้ามีความ จ�ำเป็นอยู่ได้ไม่เกินเวลา 17:30 น. แต่ต้องมารอที่หน้าโดม) จึงจะสามารถออกนอกบริเวณโรงเรียนได้โรงเรียน อนุญาตให้นักเรียนอยู่บนอาคารเรียนได้ระหว่างเวลา 07:00 น. – 17:00 น. 1.2 การมาโรงเรียนในวันหยุดราชการ นักเรียนมาท�ำกิจกรรมใด ๆ ในบริเวณโรงเรียนต้องแต่งเครื่อง แบบนักเรียนหรือชุดสุภาพให้เรียบร้อย 1.3 เพื่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของนักเรียน ห้ามนักเรียนน�ำรถยนต์ รถจักรยานยนต์มาโรงเรียน โดยเด็ดขาด (หากมีความจ�ำเป็นต้องแจ้งโรงเรียนเป็นกรณีพิเศษ) 1.4 นักเรียนต้องไม่น�ำของมีค่า มาโรงเรียน หากเกิดการสูญหายโรงเรียนไม่รับผิดชอบใด ๆทั้งสิ้น 2. การมาโรงเรียนสาย โรงเรียนมีความประสงค์ให้นักเรียนเป็นผู้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ไม่มาโรงเรียนสายถ้ามา โรงเรียนตั้งแต่เวลา 08:20 น.เป็นต้นไป ถือว่ามาโรงเรียนสาย นักเรียนที่มาโรงเรียนสายต้องปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ต้องมีผู้ปกครองมาส่ง หรือมีจดหมายรับรอง ที่มีลายมือชื่อผู้ปกครองที่ให้ไว้ กับโรงเรียนตามแบบ บันทึกข้อมูลนักเรียน และหนังสือรับรองความประพฤติ และมีเอกสารหลักฐานยืนยันความจ�ำเป็น 2.2 หากนักเรียนมาโรงเรียนสาย ไม่มีผู้ปกครองมาส่ง หรือไม่มีจดหมายรับรองจากผู้ปกครองถือว่ามี ความผิด ต้องได้รับการพิจารณา เพื่อแก้ไขพฤติกรรมนักเรียนตามระเบียบของโรงเรียน 2.3 ถ้านักเรียนมาสาย3ครั้งโรงเรียนรายงานถึงผู้ปกครองเพื่อให้ผู้ปกครองได้แก้ไขและรับรองกับทาง โรงเรียนว่าจะไม่ให้นักเรียนในปกครองมาสายอีก ถ้ามาสายเกิน 3 ครั้ง โรงเรียนเชิญผู้ปกครองมาพบกับคุณครู ผู้ดูแลเพื่อร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหา
  • 22. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 22 3. การลา (ไม่มีการนับเวลาเรียนให้ การลาคือการขาดเรียนแต่มีการแจ้งเหตุให้ทราบ) การส่งใบลาทุกชนิด (ตามแบบใบลาที่โรงเรียนก�ำหนด รับได้ที่กลุ่มงานธุรการ) ให้ส่งใบลากับครูที่ปรึกษา 3.1 การลาป่วย ให้ส่งใบลาในวันที่ลาหรือวันที่กลับมาเรียนวันแรก โดยมีลายมือชื่อรับรองของผู้ปกครอง คนเดียวกับที่ลงลายมือชื่อไว้ในแบบบันทึกข้อมูลนักเรียน 3.2 การลากิจ ให้ส่งใบลาล่วงหน้าก่อนวันลา แต่ถ้าไม่สามารถส่งได้ อนุญาตให้ด�ำเนินการ ได้เช่นเดียวกับ ลาป่วย 3.3 การลาออกนอกบริเวณโรงเรียน (ก่อนเวลา 15:30 น.) เมื่อนักเรียนมาอยู่ในบริเวณโรงเรียนแล้ว หาก มีความจ�ำเป็นที่จะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียน ต้องปฏิบัติดังนี้ 3.3.1 ผู้ปกครองมารับด้วยตนเอง (ผู้ปกครองคนเดียวกับที่ลงลายมือชื่อในแบบบันทึกข้อมูล นักเรียน) และต้องแสดงบัตรประจ�ำตัวประชาชน 3.3.2 นักเรียนน�ำใบลาที่ผู้ปกครองเขียนและลงลายมือชื่อที่ตรงกับลายมือชื่อในแบบบันทึกข้อมูล นักเรียน ไปให้ครูที่ปรึกษารับทราบ แจ้งครูผู้สอน รายวิชาต่าง ๆ ในวันนั้นให้ทราบ (ครูผู้สอนเฉพาะชั่วโมงที่ลา) แล้วน�ำมาขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนที่กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน 3.4 การหยุดเรียน นักเรียนจะต้องมีเวลาเรียนอย่างน้อย 80% จะหยุดเรียนได้ตามวันหยุดราชการ และ ที่โรงเรียนให้หยุดเรียนแล้วแต่กรณี(โรงเรียนมีจดหมายแจ้งผู้ปกครอง) หรือนักเรียนขอลาหยุด ถ้านักเรียนหยุด เรียน โดยไม่ทราบสาเหตุเกิน 3 วัน ทางโรงเรียนจะแจ้งผู้ปกครองเพื่อขอทราบสาเหตุ ถ้าหยุดเรียนเกิน 7 วัน ทาง โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมาพบ เพื่อทราบเหตุผลและหาทางแก้ไขร่วมกัน 4. การท�ำกิจกรรมนอกโรงเรียน โรงเรียนมีจุดประสงค์มุ่งพัฒนาศักยภาพนักเรียน ส่งเสริมความสามารถของนักเรียนทุกคนทุกด้าน เมื่อมี โอกาส นักเรียนที่จะออกไปท�ำกิจกรรมนอกโรงเรียน เช่น การแข่งขันกีฬา ตอบปัญหา ทัศนศึกษา อยู่ค่ายพักแรม การแสดงต่าง ๆ ฯลฯ มีขั้นตอนดังนี้ 4.1 โรงเรียนส่งหนังสือขออนุญาตจากผู้ปกครองเพื่อแจ้งให้ทราบ 4.2 นักเรียนน�ำหนังสืออนุญาตจากผู้ปกครองมาส่งคืนโรงเรียน 4.3 โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ถ้าผู้ปกครองไม่อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร 5. การรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน นักเรียนพึงปฏิบัติดังนี้ 5.1 ทิ้งสิ่งที่ไม่ต้องการ ลงในถังขยะที่รองรับให้ถูกประเภท 5.2 ไม่เด็ด หัก หรือท�ำลายไม้ดอก ไม้ประดับหรือไม้ยืนต้นของโรงเรียน 5.3 ไม่ขีดเขียนผนังอาคาร โต๊ะ เก้าอี้ ม้าหิน ห้องน�้ำของโรงเรียน 5.4 ช่วยกันรักษาความสะอาดของโรงเรียน ห้องเรียนและผนังอาคารเรียน 5.5 ช่วยกันรักษาความสะอาด โดยเฉพาะบริเวณที่มีบริการน�้ำดื่ม - น�้ำใช้ 5.6 ไม่ท�ำลายทรัพย์สินของโรงเรียน หากพบเห็นสิ่งใดช�ำรุด แจ้งให้ครูทราบ 5.7 ถ้านักเรียนคนใดท�ำลายทรัพย์สมบัติของโรงเรียน ในลักษณะใดก็ตามนักเรียน จะได้รับการปรับ พฤติกรรมตามระเบียบของโรงเรียน และชดใช้ค่าเสียหายในการนั้น ๆ
  • 23. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 23 6. การใช้เครื่องมือสื่อสารของนักเรียน โรงเรียนไม่มีนโยบายให้นักเรียนน�ำเครื่องมือสื่อสารใด ๆ มาใช้ในโรงเรียน อนุโลมให้ใช้ได้ในช่วงเวลาก่อน และหลังเลิกเรียนเท่านั้นใช้ผิดจากข้อก�ำหนดจะถูกยึดไว้ 7 วันท�ำการ และหากเกิดความสูญหายทางโรงเรียนจะ ไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนชาร์ตแบตเตอรี่เครื่องมือสื่อสาร และ Power Bank ใน โรงเรียนเด็ดขาด หากพบการกระท�ำดังกล่าวนักเรียนจะได้รับการปรับพฤติกรรมตามระเบียบของโรงเรียน 7. การเดินบนถนนหรือระเบียง และขึ้นบันไดในโรงเรียน การเดินในบริเวณโรงเรียนให้เดินชิดขวาเสมอ โดยเฉพาะเวลาเปลี่ยนคาบเรียนให้เดินเป็นแถวให้เรียบร้อย ไม่พูดคุยกันเสียงดัง 8. การมาพบและเยี่ยมนักเรียน การขอพบนักเรียน ผู้มาขอพบต้องแต่งกายสุภาพเป็นแบบอย่างที่ดีกับนักเรียน และให้ติดต่อขอพบที่์ ฝ่ายงานธุรการ ชั้น 1 การอนุญาตให้พบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ปกครองตามใบมอบตัว และอยู่ในดุลยพินิจของ โรงเรียนเท่านั้น 9. การติดต่อกับผู้ปกครอง เมื่อนักเรียนมีปัญหาเรื่องความประพฤติ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียนจะแจ้งผู้ปกครองเชิญมาพบที่โรงเรียน เพื่อปรึกษาหารือในการที่จะช่วยดูแลนักเรียน 10. ด้านการเรียน นักเรียนต้องเข้าเรียน ให้ทันเวลาที่ก�ำหนด สนใจในการเรียนเชื่อฟังและปฏิบัติตามที่ครูแนะน�ำไม่วาง อุปกรณ์การเรียนหรือกระเป๋าหนังสือทิ้งไว้โดยไม่มีผู้ดูแล ไม่น�ำอาหาร เครื่องดื่มขึ้นบนอาคารเรียน ถ้านักเรียน มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์จะบันทึกลงในสมุดบันทึกการเรียนประจ�ำวัน เพื่อรับการแก้ไข/ตัดคะแนน พฤติกรรม นักเรียนทุกคนจะอยู่ในความดูแลของครูที่ปรึกษา เมื่อมีปัญหาใด ๆ นักเรียนสามารถ ปรึกษากับครูที่ปรึกษาของ นักเรียน และครูแนะแนว หมายเหตุ คุณสมบัติของผู้ปกครอง นักเรียนโรงเรียนสุเหร่าเขียว 1. เป็นบิดามารดา หรือผู้แสดงเจตจ�ำนงไว้กับทางโรงเรียนขอผู้เป็นผู้ปกครองนักเรียน 2. ต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ (ไม่เป็นนิสิต นักศึกษา) สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับตัวนักเรียนได้ 3. ให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียน และมาพบกับทางโรงเรียนได้เสมอเมื่อทางโรงเรียนเชิญมาพบ 4. ต้องแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เมื่อเข้ามาในบริเวณโรงเรียน เพื่อเป็นแบบอย่างอันดีงามกับนักเรียน
  • 24. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 24 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ..................................... อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและ นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อ�ำนวยการ อธิการบดี หรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษาหรือต�ำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียน หรือสถานศึกษานั้น “กระท�ำความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติ ของนักเรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�ำความผิด โดยมี ความมุ่งหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน ข้อ ๕ โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�ำความผิด มี ๔ สถาน ดังนี้ (๑) ว่ากล่าวตักเตือน (๒) ท�ำทัณฑ์บน (๓) ตัดคะแนนความประพฤติ (๔) ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ ๖ ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือลงโทษด้วย ความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยให้ค�ำนึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรง ของพฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย
  • 25. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 25 การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดีของ นักเรียนหรือนักศึกษาให้รู้ส�ำนึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มี อ�ำนาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ข้อ ๗ การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความผิดไม่ร้ายแรง ข้อ ๘ การท�ำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ นักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีท�ำให้ เสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รับโทษ ว่ากล่าวตักเตือนแล้ว แต่ยังไม่เข็ดหลาบ การท�ำทัณฑ์บนให้ท�ำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด และรับรองการท�ำทัณฑ์บนไว้ด้วย ข้อ ๙ การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนน ความ ประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษาก�ำหนด และให้ท�ำบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน ข้อ ๑๐ ท�ำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนหรือนักศึกษากระท�ำความ ผิดที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ ๑๑ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียนนี้และให้มีอ�ำนาจ ตีความและ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ อดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 26. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 26 กฎกระทรวง ก�ำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ อัน เป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�ำได้โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ นักเรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้ (๑) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน (๒) เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน (๓) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด (๔) ซื้อ จ�ำหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือยาเสพติด (๕) ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น (๖) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ท�ำร้ายร่างกายผู้อื่น เตรียมการหรือกระท�ำการใดๆ อันน่าจะก่อให้เกิด ความไม่สงบเรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน (๗) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ (๘) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี (๙) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความเดือดร้อน ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ข้อ ๒ ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาก�ำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้ ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ จาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาการ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖บัญญัติ ให้นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษาและตามที่ก�ำหนด ในกฎกระทรวง จึงจ�ำเป็นต้องออกกฎ กระทรวงนี้
  • 27. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว | หน้า 27 ระเบียบโรงเรียนสุเหร่าเขียว ว่าด้วยการแต่งกายนักเรียน ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนสุเหร่าเขียว ว่าด้วยการแต่งกายนักเรียน” นักเรียนโรงเรียน สุเหร่าเขียวยทุกคน ต้องปฏิบัติตามระเบียบนี้อย่างเคร่งครัด ตามเครื่องแบบที่ก�ำหนดให้ตามระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ 1. เครื่องแบบนักเรียนชาย 1.1 ระดับอนุบาล 1.1.1 เสื้อ ผ้าสีขาว แบบคอเชิ้ต แขนสั้น มีกระเป๋าติดระดับราวนมเบื้องซ้าย 1 กระเป๋า ปักอักษร ส.ข. ทางด้านหน้าอกขวา และชื่อ-นามสกุลด้วยไหมสีน�้ำเงินตามขนาดและแบบของโรงเรียน ที่หน้าอกด้านซ้าย เหนือกระเป๋าเสื้อ 1.1.2 กางเกง ผ้าสีกรมท่า ขายาว (นักเรียนมุสลิม) ขาสั้น (นักเรียนพุทธ) 1.1.3 รองเท้า หนังสีด�ำ แบบหุ้มส้นปลายเท้า มีสายรัดหลังเท้า 1.1.4 ถุงเท้าสั้น สีขาว 1.1.5 ผม ตัดสั้นทรงรองหวีเบอร์ 1 ผมบนศีรษะยาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร 1.2 ระดับประถมศึกษา 1.1.1 เสื้อ เป็นเสื้อเชิ้ตคอตั้ง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่มีลวดลาย แขนสั้นเพียงข้อศอก มีกระเป๋าติดระดับ ราวนมเบื้องซ้าย 1 กระเป๋า ปักอักษร ส.ข. ทางด้านหน้าอกขวา และชื่อ-นามสกุลด้วยไหมสีน�้ำเงินตามขนาดและ แบบของโรงเรียน ที่หน้าอกด้านซ้ายเหนือกระเป๋าเสื้อ และสอดชายเสื้อไว้ในกางเกงให้เรียบร้อยจนสามารถมอง เห็นเข็มขัดได้อย่างชัดเจนตลอดทั้งเส้น 1.1.2 กางเกง ผ้าสีกากี พื้นผ้าเกลี้ยง ทรงสบาย เป้าไม่สั้น เวลาสวมเอวกางเกงไม่ต�่ำกว่าระดับ สะดือ ขาไม่บานหรือฟิตจนเกินไป - นักเรียนพุทธ กางเกงขาสั้นเหนือเข่า 4 ซ.ม. มีกระเป๋าตรงตะเข็บข้าง ข้างละ 1 กระเป๋าไม่มี กระเป๋าหลัง จ�ำนวน 7 หู ส�ำหรับร้อยเข็มขัด สวมทับชายเสื้อไว้ให้เรียบร้อย - นักเรียนมุสลิม กางเกงขายาวระดับตาตุ่ม ปลายขาพับเข้าข้างในไม่มีกระเป๋าหลัง, กระเป๋าลับ หู กางเกง 7 หู มีจีบด้านหน้าข้างละ 2 จีบ สวมทับชายเสื้อไว้ให้เรียบร้อย 1.1.3 เข็มขัด สายหนังสีนํ้าตาลหัวเข็มขัดโลหะสีทองสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1.1.4 ถุงเท้า สีนํ้าตาล เรียบ สวมดึงให้ตึงไม่พับปลาย 1.1.5 รองเท้า ผ้าใบหุ้มส้นสีนํ้าตาล ไม่มีลวดลาย 1.1.6 ผม ตัดสั้นทรงรองหวีเบอร์ 1 ผมบนศีรษะยาวไม่เกิน 4 เซนติเมต