SlideShare a Scribd company logo
239




              กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
         ตามหลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา
             พุทธศักราช 255 ٢




                    กิ จ กรรมพั ฒ นาผู ้ เ รี ย น
  ตามหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน พ.ศ.2551

1. ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น


               หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
240

      1.1 กำาหนดกิจกรรมและจำานวนชั่วโมงที่จัดการเรียนการสอน
เป็น 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน กิจกรรมที่จัดมีดังนี้
            1. กิจกรรมแนะแนว จำานวน 20 ชั่วโมง
            2. กิจกรรมชุมนุม     จำานวน 20 ชั่วโมง
            3. กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด จำานวน ١٣ ชั่วโมง (ใน
ภาคเรียนที่ ١) และ จำานวน ١٢ ชั่วโมง (ในภาคเรียนที่ ٢)
            4. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จำานวน ٧
ชั่วโมง (ในภาคเรียนที่ ١) และ จำานวน ٨ ชั่วโมง (ในภาคเรียนที่ ٢)
หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมอยู่ใน
กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด

     กำ า หนดเกณฑ์ ก ารวั ด ประเมิ น ผลในแต่ ล ะกิ จ กรรมดั ง นี ้
           1. มีเวลาเรียน ไม่ตำ่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาที่กำาหนด
           2. ผ่านจุดประสงค์สำาคัญตามที่สถานศึกษากำาหนดกำาหนด
           3. ผ่านกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

      แผนการจั ด การเรี ย นรู ้
           1. กิจกรรมแนะแนว จัดการเรียนการสอนจำานวน 1 ชั่วโมง/
สัปดาห์/ภาคเรียน
                  แนวการจัดตามหลักสูตร
                  - ระดับชั้น ม.1 การรู้จักงานแนะแนวการเรียนให้มี
ประสิทธิภาพ การใช้เวลาอย่างมีคุณค่า การสำารวจตนปรับปรุงผลการ
เรียน การอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ปัญหาและ แนวทางแก้ไข
การเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น จิตสาธารณะ รู้จักอาชีพใน
ครอบครัว การรับฟังข่าวสารข้อมูล
                  - ระดับชั้น ม.2 การสำารวจและปรับปรุงผลการเรียน
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี การรู้จักตนเองเข้าสู่อาชีพ คุณธรรมนำา
ชีวิตที่ดี การใช้เวลา การรู้จักข้อมูลอาชีพเบื้องต้น การลด
ความเครียด การทำางานเป็นกลุ่ม
                  - ระดับชั้น ม.3 การรู้จักตนเองเส้นทางสู่ดวงดาว
ทักษะการแก้ปัญหา มองตลาดแรงงาน การวางแผนเลือกอาชีพที่
ใฝ่ฝัน โลกกว้างทางอาชีพ การรู้จักและเข้าใจตนเองด้าน          การ
เรียน
           2. กิจกรรมชุมนุม จัดการเรียนการสอนจำานวน 1 ชั่วโมง/
สัปดาห์/ภาคเรียน
                    แนวการจัดตามหลักสูตร


              หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
241

                  - จัดทำาโครงการ กำาหนดวัตถุประสงค์การเรียนเพิ่ม
เติม ในด้านผู้เรียนเกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้
เรียน โดยระบุให้ชัดเจน
         3. กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด จัดการเรียนการสอนจำานวน 1
ชั่วโมง/สัปดาห์/ภาคเรียน
                    แนวการจัดตามหลักสูตร
                  - จัดทำาโครงการ กำาหนดวัตถุประสงค์การเรียน
เกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยระบุให้
ชัดเจน
                  - จัดทำาโครงการสอน ให้ระบุกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณะประโยชน์ ตามวัตถุประสงค์ในโครงการ พร้อมทั้งกำาหนด
กิจกรรมดังกล่าว ตามความเหมาะสม พร้อมทั้งประเมินผลตามเกณฑ์
วัดผลที่สถานศึกษากำาหนด
         4. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จัดรวมกับ
กิจกรรม ลูกเสือ ยุวกาชาด และจัดทำาแบบบันทึกกิจกรรมสำาหรับ
นักเรียน




              หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
242




         การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
                และเขียน
        ตามหลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา
            พุทธศักราช 255 ٢




                การประเมิ น การอ่ า น คิ ด วิ เ คราะห์ และเขี ย น
มาตรฐาน
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ โดยการวิเคราะห์ และเขียน สือความ      ่
จากการอ่าน และคิดวิเคราะห์
อย่างมีประสิทธิภาพ ตามตัวชี้วัดที่ประเมินมีดังนี้
ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ١ สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูล
สารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถสร้าง
                       ความเข้าใจและประยุกต์ใช้ความรู้จากการอ่าน

              หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
243

ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٢ สามารถจับประเด็นสำาคัญและประเด็นสนับสนุนต็แย้ง
ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٣ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่า
เชื่อถือ ลำาดับและความเป็นไปได้ของ
                        เรื่องที่อ่าน
ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٤ สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน
ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٥ สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความคิดเห็น
โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าว โดยการ
                       เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่น ผังความคิดเป็นต้น


     เกณฑ์ ร ะดั บ คุ ณ ภาพการประเมิ น การอ่ า น คิ ด
                    วิ เ คราะห์ แ ละเขี ย น

ระดับคุณภาพ ٣ (ดีเยี่ยม) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการ
อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพ
                       ดีเลิศอยู่เสมอ
ระดับคุณภาพ ٢ (ดี) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่
                      ยอมรับ
ระดับคุณภาพ ١ (ผ่าน) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียน ที่มีข้อบกพร่อง
                     บางประการ
ระดับคุณภาพ ٠ (ไม่ผ่าน) ไม่มีผลงานที่แสดงความสามารถในการ
อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน หรือถ้ามี
                       ผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่อง ต้องได้รับ
แก้ไข




               หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
244




      คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   ตามหลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา
       พุทธศักราช 255 ٢




        คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนสุธี
                     วิทยา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ ได้แก่
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย

         หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
245

      4. ใฝ่เรียนรู้
      5. อยู่อย่างพอเพียง
      6. มุ่งมั่นในการทำางาน
      7. รักความเป็นไทย
      8. มีจิตสาธารณะ
      การนำาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ ไปพัฒนาผู้เรียน
      ให้มีประสิทธิภาพ และ
เกิดประสิทธิผลนั้ น ครูต้องมีความเข้าใจเกี่ ยวกั บคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์อย่างชัดเจน โดยพิจารณาจากนิยาม ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
และเกณฑ์การให้คะแนนของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งมีราย
ละเอียดดังนี้




นิ ย าม ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ และเกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน
      ข้ อ ที ่ ๑ รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์
      นิ ย าม
      รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ หมายถึ ง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ
เป็นพลเมืองดีของชาติ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา
และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
       ผู ้ ท ี ่ ร ั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ คื อ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการ
เป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นชาติไทย
ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือและแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระ
มหากษัตริย์
      ตั ว ชี ้ ว ั ด
      ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ

                        หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
246

       ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
       ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา
       ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
ตั ว ชี ้ ว ั ด                   พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
๑.๑ เป็ น พลเมื อ งดี ข อง        ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และ
ชาติ                              อธิบายความหมายของเพลงชาติได้ถูกต้อง
                                  ๑.๑.๒ ปฏิบติตนตามสิทธิและ หน้าที่พลเมืองดี
                                              ั
                                  ของชาติ
                                  ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง
๑.๒ ธำ า รงไว้ ซ ึ ่ ง ความ       ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้าง
เป็ น ชาติ ไ ทย                   ความสามัคคี ปรองดอง
                                  ที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม
                                  ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกย่องความเป็นชาติ
                                  ไทย
๑.๓ ศรั ท ธา ยึ ด มั ่ น และ      ๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ
ปฏิ บ ั ต ิ ต นตามหลั ก ของ       ๑.๓.๒ ปฏิบติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือ
                                                ั
ศาสนา                             ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน

๑.๔ เคารพเทิ ด ทู น               ๑.๔.๑ เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่
สถาบั น                           เกี่ยวกับสถาบัน
พระมหากษั ต ริ ย ์                พระมหากษัตริย์
                                  ๑.๔.๒ แสดงความสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณ
                                  ของพระมหากษัตริย์
                                  ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบัน
                                  พระมหากษัตริย์




เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น
     ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๑ เป็ น พลเมื อ งดี ข องชาติ
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้           ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑) ดี (๒)             ดี
                              (๐)                                          เยี ่ ย ม(๓)
๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพ              ไม่ยืนตรง     ยืนตรงเมือ่    ยืนตรงเมือ่    ยืนตรงเมือ
                                                                                    ่
ธงชาติ ร้องเพลงชาติ            เคารพ         ได้ยนเพลง
                                                 ิ          ได้ยนเพลง
                                                                ิ          ได้ยน
                                                                               ิ
และอธิบายความหมาย              ธงชาติ        ชาติ ร้อง      ชาติ ร้อง      เพลงชาติ ร้อง
ของเพลงชาติได้ถูกต้อง                        เพลงชาติและ    เพลงชาติ       เพลงชาติ
๑.๑.๒ ปฏิบัตตนตาม
              ิ                              อธิบาความ      และอธิบาย      และ
สิทธิหน้าที่ พลเมืองดี                       หมายของ        ความ หมาย      อธิบาความ


                   หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
247

ของชาติ                                    เพลงชาติได้     ของเพลงชาติ      หมาย
๑.๑.๓ มีความสามัคคี                        ถูกต้อง         ได้ถกต้อง
                                                                ู           ของเพลงชาติ
ปรองดอง                                    ปฏิบตตนตาม
                                                ั ิ        ปฏิบตตนตาม
                                                                  ั ิ       ได้
                                           สิทธิและ        สิทธิและ         ถูกต้อง ปฏิบติ
                                                                                        ั
                                           หน้าทีของนัก
                                                    ่      หน้าทีของ  ่     ตนตามสิทธิ
                                           เรียน และให้    นักเรียน และ     และ
                                           ความร่วมมือ     ให้ความร่วม      หน้าทีของ
                                                                                   ่
                                           ร่วมใจในการ     มือร่วมใจใน      พลเมืองดีและ
                                           ทำากิจกรรม      การทำา           ให้ความร่วม
                                           กับสมาชิกใน     กิจกรรมกับ       มือ ร่วมใจใน
                                           ชันเรียน
                                             ้             สมาชิกใน         การทำา
                                                           โรงเรียน         กิจกรรมกับ
                                                                            สมาชิกใน
                                                                            โรงเรียนและ
                                                                            ชุมชน


     ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๒ ธำ า รงไว้ ซ ึ ่ ง ความเป็ น ชาติ ไ ทย
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้            ไม่ ผ ่ า น        ผ่ า น (๑) ดี (๒)          ดี
                               (๐)                                           เยี ่ ย ม(๓)
๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม     ไม่เข้าร่วม     เข้าร่วม        เข้าร่วม         เข้าร่วม
สนับสนุน                    กิจกรรมที่      กิจกรรมที่      กิจกรรม          กิจกรรมและ
กิจกรรมที่สร้างความ         สร้างความ       สร้างความ       และมีส่วน        มีสวนร่วมใน
                                                                                 ่
สามัคคี                     สามัคคี         สามัคคี         ร่วมในการ        การจัดกิจ
ปรองดอง ที่เป็นประโยชน์                     ปรองดอง         จัดกิจกรรมที่    กรรม ทีสร้าง
                                                                                       ่
ต่อ                                         และเป็น         สร้าง ความ       ความสามัคคี
โรงเรียน ชุมชนและสังคม                      ประโยชน์ตอ ่    สามัคคี          ปรองดอง และ
๑.๒.๒ หวงแหนปกป้อง                          โรงเรียน        ปรองดอง          เป็นประโยชน์
ยกย่อง                                      และชุมชน        และเป็น          ต่อโรงเรียน
ความเป็นชาติไทย                                             ประโยชน์ต่อ      ชุมชนและ
                                                            โรงเรียน         สังคมชืนชม
                                                                                     ่
                                                            และชุมชน         ในความเป็น
                                                                             ชาติไทย




   ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๓ ศรั ท ธา ยึ ด มั ่ น และปฏิ บ ั ต ิ ต นตามหลั ก
ของศาสนา


                 หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
248

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้      ไม่ ผ ่ า น   ผ่ า น (๑)     ดี (๒)          ดี
                         (๐)                                          เยี ่ ย ม(๓)
๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรม    ไม่เข้าร่วม   เข้าร่วม       เข้าร่วม        เข้าร่วม
ทางศาสนาที่ตนนับถือ      กิจกรรมทาง    กิจกรรม        กิจกรรมทาง      กิจกรรม
๑.๓.๒ ปฏิบัตตนตาม
             ิ           ศาสนาทีตน ่   ทางศาสนาที่    ศาสนาที่ตน      ทางศาสนาที่
หลักของศาสนาที่ตน        นับถือ        ตนนับถือและ    นับถือและ       ตน
นับถือ                                 ปฏิบัติตน      ปฏิบติ ตน
                                                            ั         นับถือปฏิบัติ
๑.๓.๓ เป็นแบบอย่าง ที่                 ตาม            ตาม             ตนตามหลัก
ดีของ                                  หลักของ        หลักของ         ของศาสนา
ศาสนิกชน                               ศาสนาตาม       ศาสนา           อย่าง
                                       โอกาส          อย่าง           สมำ่าเสมอ
                                                      สมำ่าเสมอ       และ
                                                                      เป็นแบบ
                                                                      อย่างที่ดีของ
                                                                      ศาสนิกชน

     ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๔ เคารพเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้           ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒)      ดี
                              (๐)                                เยี ่ ย ม(๓)
๑.๔.๑ เข้าร่วมและมี      ไม่เข้าร่วม   เข้าร่วม       เข้าร่วม        เข้าร่วม
ส่วนร่วมในการจัด         กิจกรรมที่    กิจกรรมที่     กิจกรรม         กิจกรรม
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ      เกี่ยวกับ     เกี่ยวกับ      และมีส่วน       และมีส่วน
สถาบัน                   สถาบัน        สถาบันพระ      ร่วมในการ       ร่วมในการ
พระมหากษัตริย์           พระมหา        มหากษัตริย์    จัดกิจกรรมที่   จัดกิจกรรมที่
๑.๔.๒ แสดงความ           กษัตริย์      ตามที่         เกี่ยวกับ       เกี่ยวกับ
สำานึกในพระ                            โรงเรียนและ    สถาบัน          สถาบัน
มหากรุณาธิคุณของ                       ชุมชนจัดขึ้น   พระมหา          พระมหา
พระมหากษัตริย์                                        กษัตริย์        กษัตริย์
๑.๔.๓ แสดงออกซึ่ง                                     ตามที่          ตามที่
ความจงรักภักดีต่อ                                     โรงเรียนและ     โรงเรียนและ
สถาบันพระมหากษัตริย์                                  ชุมชนจัดขึ้น    ชุมชนจัดขึ้น
                                                                      ชื่นชมใน
                                                                      พระราช
                                                                      กรณียกิจ
                                                                      พระปรีชา
                                                                      สามารถของ
                                                                      พระมหา
                                                                      กษัตริย์
                                                                      และพร
                                                                      ราชวงศ์




                หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
249




เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
     ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๑ เป็ น พลเมื อ งดี ข องชาติ
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้           ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑) ดี (๒)                ดี
                              (๐)                                             เยี ่ ย ม(๓)
๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพ          ไม่ยืนตรง       ยืนตรงเมือ   ่   ยืนตรงเมือ    ่   ยืนตรงเมือ
                                                                                       ่
ธงชาติ ร้องเพลงชาติ        เคารพ           ได้ยนเพลง
                                                ิ           ได้ยนเพลง
                                                                ิ             ได้ยนิ
และอธิบายความหมาย          ธงชาติ          ชาติ ร้อง        ชาติ ร้อง         เพลงชาติ ร้อง
ของเพลงชาติได้ถูกต้อง                      เพลงชาติและ      เพลงชาติ          เพลงชาติ
๑.๑.๒ ปฏิบัตตนตาม
              ิ                            อธิบาความ        และอธิบาย         และ
สิทธิหน้าที่ พลเมืองดี                     หมายของ          ความ หมาย         อธิบาความ
ของชาติ                                    เพลงชาติได้      ของเพลงชาติ       หมาย
๑.๑.๓ มีความสามัคคี                        ถูกต้อง          ได้ถกต้อง
                                                                  ู           ของเพลงชาติ
ปรองดอง                                    ปฏิบตตนตาม
                                                  ั ิ       ปฏิบตตนตาม
                                                                    ั ิ       ได้
                                           สิทธิและ         สิทธิและ          ถูกต้อง ปฏิบติ
                                                                                          ั
                                           หน้าทีของนัก
                                                      ่     หน้าทีของ   ่     ตนตามสิทธิ
                                           เรียน และให้     พลเมืองดี ให้     และ
                                           ความร่วมมือ      ความร่วมมือ       หน้าทีของ
                                                                                     ่
                                           ร่วมใจในการ      ร่วมใจในการ       พลเมืองดีและ
                                           ทำากิจกรรม       ทำากิจกรรม        ให้ความร่วม
                                           กับสมาชิกใน      กับสมาชิกใน       มือ ร่วมใจใน
                                           ชันเรียน
                                             ้              โรงเรียนและ       การทำา
                                                            ชุมชน             กิจกรรมกับ
                                                                              สมาชิกใน
                                                                              โรงเรียน
                                                                              ชุมชนและ สัว
                                                                              คม


     ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๒ ธำ า รงไว้ ซ ึ ่ ง ความเป็ น ชาติ ไ ทย
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้            ไม่ ผ ่ า น        ผ่ า น (๑) ดี (๒)            ดี
                               (๐)                                             เยี ่ ย ม(๓)
๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม     ไม่เข้าร่วม     เข้าร่วม         เข้าร่วม          เป็นผูนำาหรือ
                                                                                     ้

                 หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
250

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้         ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑)      ดี (๒)          ดี
                            (๐)                                            เยี ่ ย ม(๓)
สนับสนุน                กิจกรรมที่         กิจกรรมและมี    กิจกรรม         เป็นแบบอย่าง
กิจกรรมที่สร้างความ     สร้างความ          ส่วนร่วมใน      และมีสวนร่วม
                                                                  ่        ในการจัด
สามัคคี                 สามัคคี            การจัด          ในการจัด        กิจกรรมที่
ปรองดอง ที่เป็นประโยชน์                    กิจกรรมที่      กิจกรรมที่      สร้างความ
ต่อ                                        สร้างความ       สร้าง ความ      สามัคคี
โรงเรียน ชุมชนและสังคม                     สามัคคี         สามัคคี         ปรองดองและ
๑.๒.๒ หวงแหนปกป้อง                         ปรองดองและ      ปรองดอง         เป็นประโยชน์
ยกย่อง                                     เป็นประโยชน์    และเป็น         ต่อโรงเรียน
ความเป็นชาติไทย                            ต่อโรงเรียน     ประโยชน์ตอ ่    ชุมชนปกป้อง
                                           และชุมชน        โรงเรียน        ความเป็นชาติ
                                                           ชุมชนและ        ไทย
                                                           สังคมชืนชม
                                                                    ่
                                                           ความเป็นชาติ
                                                           ไทย




     ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๓ ศรั ท ธา ยึ ด มั ่ น และปฏิ บ ั ต ิ ต นตามหลั ก
ของศาสนา
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้           ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑) ดี (๒)            ดี
                              (๐)                                         เยี ่ ย ม(๓)
๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรม      ไม่เข้าร่วม    เข้าร่วม        เข้าร่วม        เข้าร่วม
ทางศาสนาที่ตนนับถือ        กิจกรรมทาง     กิจกรรม         กิจกรรมทาง      กิจกรรม
๑.๓.๒ ปฏิบัตตนตาม
             ิ             ศาสนาทีตน ่    ทางศาสนาที่     ศาสนาที่ตน      ทางศาสนาที่
หลักของศาสนาที่ตน          นับถือ         ตนนับถือและ     นับถือและ       ตน
นับถือ                                    ปฏิบัติตน       ปฏิบติ ตน
                                                                ั         นับถือปฏิบัติ
๑.๓.๓ เป็นแบบอย่าง ที่                    ตาม             ตาม             ตนตามหลัก
ดีของ                                     หลักของ         หลักของ         ของศาสนา
ศาสนิกชน                                  ศาสนาตาม        ศาสนา           อย่าง
                                          โอกาส           อย่าง           สมำ่าเสมอ
                                                          สมำ่าเสมอ       และ
                                                                          เป็นแบบ
                                                                          อย่างที่ดีของ
                                                                          ศาสนิกชน

      ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๔ เคารพเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์


                 หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
251

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้             ไม่ ผ ่ า น   ผ่ า น (๑)       ดี (๒)           ดี
                                (๐)                                             เยี ่ ย ม(๓)
๑.๔.๑ เข้าร่วมและมี             ไม่เข้าร่วม   เข้าร่วม         เข้าร่วม         เข้าร่วม
ส่วนร่วมในการจัด                กิจกรรมที่    กิจกรรมที่       กิจกรรม          กิจกรรม
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ             เกี่ยวกับ     เกี่ยวกับ        และมีส่วน        และมีส่วน
สถาบัน                          สถาบัน        สถาบันพระ        ร่วมในการ        ร่วมในการ
พระมหากษัตริย์                  พระมหา        มหากษัตริย์      จัดกิจกรรมที่    จัดกิจกรรมที่
๑.๔.๒ แสดงความ                  กษัตริย์      ตามที่           เกี่ยวกับ        เกี่ยวกับ
สำานึกในพระ                                   โรงเรียนและ      สถาบัน           สถาบัน
มหากรุณาธิคุณของ                              ชุมชนจัดขึ้น     พระมหา           พระมหา
พระมหากษัตริย์                                                 กษัตริย์         กษัตริย์
๑.๔.๓ แสดงออกซึ่ง                                              ตามที่           ตามที่
ความจงรักภักดีต่อ                                              โรงเรียนและ      โรงเรียนและ
สถาบันพระมหากษัตริย์                                           ชุมชนจัดขึ้น     ชุมชนจัดขึ้น
                                                                                ชื่นชมใน
                                                                                พระราช
                                                                                กรณียกิจ
                                                                                พระปรีชา
                                                                                สามารถของ
                                                                                พระมหา
                                                                                กษัตริย์
                                                                                และพร
                                                                                ราชวงศ์




         ข้ อ ที ่ ๒ ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต
         นิ ย าม
ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูก
ต้อง ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ
       ผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริง
ทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการดำาเนินชีวิต มี
ความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำาผิด
       ตั ว ชี ้ ว ั ด

                         หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
252

          ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ
          ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ
         ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้

ตั ว ชี ้ ว ั ด               พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
๒.๑ ประพฤติตรงตาม             ๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง
ความเป็น                      ๒.๑.๒ ปฏิบัตตนโดยคำานึงถึงความถูกต้อง ละอาย
                                          ิ
       จริงต่อตนเองทั้ง       และเกรงกลัวต่อการกระทำาผิด
ทางกาย                        ๒.๑.๓ ปฏิบัติตามคำามั่นสัญญา
     วาจา ใจ
๒.๒ ประพฤติตรงตาม             ๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็น
ความเป็น                      ของตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบติตนต่อผู้อื่นด้วยความ
                                                    ั
    จริง ต่อผู้อื่นทั้งทาง    ซื่อตรง
กาย                           ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
    วาจา ใจ




          เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น
ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๑ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ตนเองทั ้ ง
ทางกาย วาจา ใจ

   พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น          ผ่ า น (๑)   ดี (๒)         ดี เ ยี ่ ย ม
                       (๐)                                              (๓)
   ๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูก ไม่ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่    ให้ข้อมูลที่   ให้ข้อมูลที่
   ต้อง                  ถูกต้องและ      ถูกต้องและ      ถูกต้องและ     ถูกต้องและ
   และเป็นจริง           เป็นจริง        เป็นจริง        เป็นจริง       เป็นจริง


                    หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
253

  ๒.๑.๒ปฏิบัติตนโดย                           ปฏิบัติในสิ่งที่   ปฏิบติในสิ่งที่
                                                                      ั            ปฏิบัติในสิ่งที่
  คำา นึ ง ถึ ง ค ว า ม ถู ก                  ถูกต้องทำา         ถูกต้อง           ถูกต้อง
  ต้องละอายและเกรง                            ตามสัญญาที่        ละอายและ          ละอายและ
  กลั ว ต่ อ การกร ะทำา                       ตนให้ไว้กับ        เกรงกลัวที่จะ     เกรงกลัวที่จะ
  ผิด                                         เพื่อน พ่อแม่      กระทำาผิดทำา      กระทำาผิดทำา
  ๒ .๑ .๓ ป ฏิ บั ติ ต า ม                    หรือผู้            ตามสัญญาที่       ตามสัญญา
  คำามั่น         สัญญา                       ปกครอง             ตนให้ไว้กับ       ที่ตนให้ไว้กับ
                                                                 เพื่อน พ่อแม่     เพื่อน พ่อแม่
                                                                 หรือผู้           หรือผู้
                                                                 ปกครองและ         ปกครองและ
                                                                 ครู               ครู เป็นแบบ
                                                                                   อย่างที่ดีด้าน
                                                                                   ความซื่อสัตย์

ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๒ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ผู ้ อ ื ่ น ทั ้ ง
ทางกาย วาจา ใจ

  พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น             ผ่ า น (๑)         ดี (๒)            ดี เ ยี ่ ย ม
                      (๐)                                                          (๓)
  ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา              นำาสิ่งของ     ไม่นำาสิ่งของ      ไม่เคยนำา         ไม่นำาสิ่งของ
  สิ่งของหรือผลงาน             ของ            และผลงาน           สิ่งของ และ       และผลงาน
  ของผู้อื่นมาเป็นของ          คนอื่นมาเป็น   ของผู้อื่นมา       ผลงานของผู้       ของผู้อื่นมา
  ตนเอง                        ของตนเอง       เป็นของ            อื่นมาเป็น        เป็นของ
  ๒.๒.๒ ปฏิบัตตนต่อ
                ิ                             ตนเอง ปฏิบติ ั     ของตนเอง          ตนเอง ปฏิบติ ั
  ผู้อื่น                                     ตนต่อผู้อื่น       ปฏิบติตนต่อ
                                                                        ั          ตนต่อผู้อื่น
  ด้วยความซื่อตรง                             ด้วยความ           ผู้อื่นด้วย       ด้วยความ
  ๒.๒.๓ ไม่หา                                 ซื่อตรง            ความซื่อตรง       ซื่อตรง ไม่หา
  ประโยชน์                                                       ไม่หา             ประโยชน์ใน
  ในทางที่ไม่ถูกต้อง                                             ประโยชน์ใน        ทางที่ไม่ถูก
                                                                 ทาง               ต้อง และเป็น
                                                                 ที่ไม่ถูกต้อง     แบบอย่างที่ดี
                                                                                   แก่เพื่อนด้าน
                                                                                   ความซื่อสัตย์




       เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย


                    หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
254

ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๑ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ตนเองทั ้ ง
ทางกาย วาจา ใจ

 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น         ผ่ า น (๑)        ดี (๒)             ดี เ ยี ่ ย ม
                     (๐)                                                      (๓)
 ๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูก ไม่ให้ข้อมูลที่   ให้ข้อมูลที่      ให้ข้อมูลที่       ให้ข้อมูลที่
 ต้องและเป็นจริง       ถูกต้องและ        ถูกต้องและ        ถูกต้องและ         ถูกต้องและ
 ๒.๑.๒ ปฏิบติตน
            ั          เป็นจริง          เป็นจริง          เป็นจริง           เป็นจริง
 โดยคำานึงถึงความ                        ปฏิบติในสิ่งที่
                                              ั            ปฏิบัติในสิ่งที่   ปฏิบติในสิ่งที่
                                                                                   ั
 ถูกต้อง ละอายและ                        ถูกต้องทำา        ถูกต้อง            ถูกต้อง
 เกรงกลัวต่อการกระ                       ตามสัญญาที่       ละอายและ           ละอายและ
 ทำาผิด                                  ตนให้ไว้กับ       เกรงกลัวที่จะ      เกรงกลัวที่จะ
 ๒.๑.๓ ปฏิบัตตาม
              ิ                          เพื่อน พ่อแม่     กระทำาผิดทำา       กระทำาผิดทำา
 คำามั่นสัญญา                            หรือผู้           ตามสัญญาที่        ตามสัญญาที่
                                         ปกครอง            ตนให้ไว้กับ        ตนให้ไว้กับ
                                                           เพื่อน พ่อแม่      เพื่อน พ่อแม่
                                                           หรือผู้            หรือผู้
                                                           ปกครองและ          ปกครองและ
                                                           ครู                ครู เป็นแบบ
                                                                              อย่างที่ดีด้าน
                                                                              ความซื่อสัตย์

ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๒ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ผู ้ อ ื ่ น ทั ้ ง
ทางกาย วาจา ใจ

 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น         ผ่ า น (๑)        ดี (๒)             ดี เ ยี ่ ย ม
                     (๐)                                                      (๓)
 ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา         นำาสิ่งของ      ไม่นำาสิ่งของ     ไม่เคยนำา          ไม่นำาสิ่งของ
 สิ่งของหรือผลงาน        ของ             และผลงาน          สิ่งของ และ        และผลงาน
 ของผู้อื่นมาเป็นของ     คนอื่นมาเป็น    ของผู้อื่นมา      ผลงานของผู้        ของผู้อื่นมา
 ตนเอง                   ของตนเอง        เป็นของ           อื่นมาเป็น         เป็นของ
 ๒.๒.๒ ปฏิบติตนต่อ
              ั                          ตนเอง ปฏิบัติ     ของตนเอง           ตนเอง ปฏิบัติ
 ผู้อื่น                                 ตนต่อผู้อื่น      ปฏิบัติตนต่อ       ตนต่อผู้อื่น
 ด้วยความซื่อตรง                         ด้วยความ          ผู้อื่นด้วย        ด้วยความ
 ๒.๒.๓ ไม่หา                             ซื่อตรง           ความซื่อตรง        ซื่อตรง ไม่หา
 ประโยชน์ในทางที่                                          ไม่หา              ประโยชน์ใน
 ไม่ถูกต้อง                                                ประโยชน์ใน         ทางที่ไม่ถูก
                                                           ทาง                ต้อง และเป็น
                                                           ที่ไม่ถูกต้อง      แบบอย่างที่ดี
                                                                              แก่เพื่อนด้าน
                                                                              ความซื่อสัตย์

                  หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
255




ข้ อ ที ่ ๓ มี ว ิ น ั ย
        นิ ย าม
       มี ว ิ น ั ย หมายถึ ง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎ
เกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่
ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวโรงเรียน และ
สังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
          ตั ว ชี ้ ว ั ด ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบี ย บข้ อ
บั ง คั บ ของครอบครั ว โรงเรี ย น และสั ง คม
ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้

ตั ว ชี ้ ว ั ด                               พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต าม ข้ อ ตกลงกฎ              ๓.๑.๑ ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์
เกณฑ์ ระเบี ย บ                               ระเบียบ ข้อบังคับ
ข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว                   ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิด
โรงเรี ย น และสั ง คม                         สิทธิของผู้อื่น
                                              ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง
                                              ๆ ในชีวต ประจำาวัน และรับผิดชอบในการ
                                                     ิ
                                              ทำางาน

เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น
        ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบี ย บ
ข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว โรงเรี ย นและสั ง คม

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้             ไม่ ผ ่ า น        ผ่ า น (๑)       ดี (๒)         ดี
                                (๐)                                                เยี ่ ย ม(๓)
๓.๑.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต น           ไม่ปฏิบัติตน       ปฏิบัติตาม       ปฏิบติตาม
                                                                         ั         ปฏิบตตามข้อ
                                                                                        ั ิ
ตามข้ อ ตกลง กฎ                 ตาม                ข้อตกลงกฎ        ข้อตกลงกฎ      ตกลงกฎ
เกณฑ์ ร ะเบี ย บข้ อ            ข้อตกลงกฎ          เกณฑ์            เกณฑ์          เกณฑ์
บั ง คั บ ของครอบครั ว          เกณฑ์              ระเบียบข้อ       ระเบียบข้อ     ระเบียบข้อ
โรงเรี ย น และสั ง คม           ระเบียบ ข้อ        บังคับของ        บังคับ ของ     บังคับของ
ไม่ ล ะเมิ ด สิ ท ธิ ข องผู ้   บังคับของ          ครอบครัว         ครอบครัว       ครอบครัว
อื ่ น                          ครอบครัว           และโรงเรียน      และโรงเรียน    โรงเรียน และ
๓.๑.๒ ตรงต่ อ เวลา              และโรงเรียน        ตรงต่อเวลา       ตรงต่อเวลา     สังคม ไม่
ในการปฏิ บ ั ต ิ                                   ในการปฏิบัติ     ในการปฏิบัติ   ละเมิดสิทธิ


                      หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
256

 กิ จ กรรมต่ า ง ๆใน                         กิจกรรม         กิจกรรมต่าง     ของผูอืนตรง
                                                                                   ้ ่
 ชี ว ิ ต ประจำ า วั น และ                   ต่าง ๆ ใน       ๆ ในชีวต
                                                                    ิ        ต่อเวลาใน
 รั บ ผิ ด ชอบในการ                          ชีวิต ประจำา    ประจำาวัน       การปฏิบติ ั
 ทำ า งาน                                    วัน             และรับผิด       กิจกรรมต่าง ๆ
                                                             ชอบในการ        ในชีวตประจำา
                                                                                    ิ
                                                             ทำางาน          วันและรับผิด
                                                                             ชอบในการ
                                                                             ทำางาน




 เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
         ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบี ย บ
 ข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว โรงเรี ย นและสั ง คม
พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้             ไม่ ผ ่ า น      ผ่ า น (๑) ดี (๒)    ดี
                                (๐)                                   เยี ่ ย ม(๓)
๓.๑.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต น        ไม่ปฏิบัติตน   ปฏิบัติตาม      ปฏิบติตาม
                                                                 ั          ปฏิบัติตามข้อ
ตามข้ อ ตกลง                 ตาม            ข้อ ตกลงกฎ      ข้อ ตกลงกฎ      ตกลงกฎ
กฎเกณฑ์ ระเบี ย บ            ข้อตกลงกฎ      เกณฑ์           เกณฑ์           เกณฑ์
ข้ อ บั ง คั บ ของ           เกณฑ์          ระเบียบข้อ      ระเบียบข้อ      ระเบียบข้อ
ครอบครั ว โรงเรี ย น         ระเบียบ ข้อ    ตกลง ของ        ตกลงของ         ตกลง ของ
และสั ง คมไม่ ล ะเมิ ด       บังคับของ      ครอบครัว        ครอบครัว        ครอบครัว
สิ ท ธิ ข องผู ้ อ ื ่ น     ครอบครัว       และโรงเรียน     โรงเรียนและ     โรงเรียน และ
๓.๑.๒ ตรงต่ อ เวลา           และโรงเรียน    ตรงต่อเวลา      สังคมไม่        สังคม ไม่
ในการปฏิ บ ั ต ิ                            ในการปฏิบัติ    ละเมิดสิทธิ     ละเมิดสิทธิ
กิ จ กรรมต่ า ง ๆใน                         กิจกรรมต่าง     ของผู้อื่นตรง   ของผู้อื่นตรง
ชี ว ิ ต ประจำ า วั น และ                   ๆ ในชีวิต       ต่อเวลาใน       ต่อเวลาใน
รั บ ผิ ด ชอบในการ                          ประจำาวัน       การปฏิบัติกิจ   การปฏิบัติ
ทำ า งาน                                    และรับผิด       กรรต่างๆใน      กิจกรรม
                                            ชอบในการ        ชีวิตประจำา     ต่างๆในชีวิต
                                            ทำางาน          วันและรับผิด    ประจำาวัน
                                                            ชอบในการ        และรับผิด
                                                            ทำางาน          ชอบใน
                                                                            การทำางาน
                                                                            ปฏิบัติ
                                                                            เป็นปกติวิสัย
                                                                            และ
                                                                            เป็นแบบ
                                                                            อย่างที่ดี



                     หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
257




ข้ อ ที ่ ๔ ใฝ่ เ รี ย นรู ้
        นิ ย าม
        ใฝ่ เ รี ย นรู ้ หมายถึ ง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน
        ผู ้ ท ี ่ ใ ฝ่ เ รี ย นรู ้ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสมำ่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด
เผยแพร่ และนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้
      ตั ว ชี ้ ว ั ด
       ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
       ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำา
ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้
          ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
ตั ว ชี ้ ว ั ด                       พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
๔.๑ ตั ้ ง ใจ เพี ย รพยายาม           ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน
ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม           ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามใน
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้               การเรียนรู้
                                      ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
๔.๒ แสวงหาความรู ้ จ ากทั ้ ง         ๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ
ภายในและภายนอก                        เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆแหล่ง
โรงเรี ย น ด้ ว ยการเลื อ กใช้        เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และ

                        หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
258

สื ่ อ อย่ า งเหมาะสม สรุ ป เป็ น    เลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
องค์ ค วามรู ้ และสามารถนำ า         ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จาก
ไปใช้ ใ นชี ว ิ ต ประจำ า วั น ได้   สิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้
                                     ๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ
                                     และนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน




เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น
       ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๑ ตั ้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและ
เข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรม

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้       ไม่ ผ ่ า น     ผ่ า น (๑)      ดี (๒)           ดี
                          (๐)                                              เยี ่ ย ม(๓)
๔.๑.๑ ตั ้ ง ใจเรี ย น    ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรง     เข้าเรียนตรง     เข้าเรียนตรง
๔.๑.๒ เอาใจใส่                           เวลา ตังใจ
                                                  ้       เวลา             เวลา
และมี ค วามเพี ย ร                       เรียน เอาใจ      ตั้งใจเรียน      ตังใจเรียน
                                                                             ้
พยายามในการ                              ใส่ในการ         เอาใจใส่และ      เอาใจใส่และ
เรี ย นรู ้                              เรียน มีส่วน     มีความเพียร      มีความเพียร
๔.๑.๓ เข้ า ร่ ว ม                       ร่วมในการ        พยายามใน         พยายามใน
กิ จ กรรมการเรี ย น                      เรียนรู้ และ     การเรียนรู้มี    การเรียนรู้ มี
รู ้ ต ่ า ง ๆ                           เข้าร่วม         ส่วนร่วมใน       ส่วนร่วมใน
                                         กิจกรรมการ       การเรียนรู้      การเรียนรู้
                                         เรียนรู้ต่าง ๆ   และเข้าร่วม      และเข้าร่วม
                                         เป็นบางครั้ง     กิจกรรมการ       กิจกรรมการ
                                                          เรียนรู้ต่าง ๆ   เรียนรู้ต่าง ๆ
                                                          บ่อยครั้ง        ทั้งภายใน
                                                                           และภายนอก
                                                                           โรงเรียนเป็น
                                                                           ประจำา




                  หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
259

ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๒ แสวงหาความรู ้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู ้ ต่ า ง ๆ ทั ้ ง
ภายในและภายนอกโรงเรี ย น ด้ ว ยการเลื อ กใช้ ส ื ่ อ
อย่ า งเหมาะสม สรุ ป เป็ น องค์ ค วามรู ้ สามารถนำ า ไปใช้ ใ น
ชี ว ิ ต ประจำ า วั น ได้

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้         ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑)       ดี (๒)           ดี เ ยี ่ ย ม(๓)
                            (๐)
๔.๒.๑ ศึ ก ษา                  ไม่ศึกษา    ศึกษาค้นคว้า     ศึกษาค้นคว้า     มีการบันทึกความ
ค้ น คว้ า หาความรู ้          ค้นคว้า     ความรู้จาก       หาความรู้        รู้วิเคราะห์ข้อมูล
จากหนั ง สื อ                  หาความรู้   หนังสือ          จากหนังสือ       สรุปเป็นองค์ความ
เอกสาร สิ ่ ง พิ ม พ์                      เอกสาร           เอกสาร           รู้ และแลกเปลี่ยน
สื ่ อ เทคโนโลยี ต ่ า ง                   สิ่งพิมพ์ สื่อ   สิ่งพิมพ์ สื่อ   เรียนรู้กับผู้อื่นได้
ๆแหล่ ง เรี ย นรู ้ ท ั ้ ง                เทคโนโลยี        เทคโนโลยี        ศึกษาค้นคว้า
ภายในและ                                   แหล่ง            และ              หาความรู้จา
ภายนอก                                     เรียนรู้ ทั้ง    สารสนเทศ         หนังสือ
โรงเรี ย น และเลื อ ก                      ภายในและ         แหล่ง            เอกสาร สิ่งพิมพ์
ใช้ ส ื ่ อ ได้                            ภายนอก           เรียนรู้ ทั้ง    สื่อเทคโนโลยี และ
อย่ า งเหมาะสม                             โรงเรียน         ภายในและ         สารสนเทศ แหล่ง
๔.๒.๒ บั น ทึ ก ความ                       เลือกใช้สื่อ     ภายนอก           เรียนรู้ทั้งภายใน
รู ้ ว ิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล               ได้อย่าง         โรงเรียนและ      และภายนอก
จากสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้                เหมาะสม          เลือกใช้สื่อ     โรงเรียน เลือกใช้
สรุ ป                                      และ              ได้อย่าง         สื่อได้อย่างเหมาะ
เป็ น องค์ ค วามรู ้                       มีการบันทึก      เหมาะสม          สมมีการบันทึก
๔.๒.๓ แลกเปลี ่ ย น                        ความรู้                           ความรู้วิเคราะห์
เรี ย นรู ้ ด ้ ว ยวิ ธ ี ก าร                                               ข้อมูลสรุปเป็นองค์
ต่ า ง ๆและนำ า ไปใช้                                                        ความรู้และแลก
ในชี ว ิ ต ประจำ า วั น                                                      เปลี่ยนเรียนรู้ด้วย
                                                                             วิธีการที่หลาก
                                                                             หลาย และนำาไป
                                                                             ใช้ในชีวิตประจำา
                                                                             วันได้
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๑ ตั ้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม
กิ จ กรรม

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้         ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑)       ดี (๒)           ดี
                            (๐)                                              เยี ่ ย ม(๓)
๔.๑.๑ ตั ้ ง ใจเรี ย น      ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรง     เข้าเรียนตรง     เข้าเรียนตรง
๔.๑.๒ เอาใจใส่                             เวลาตั้งใจ       เวลาตั้งใจ       เวลาตังใจ
                                                                                     ้
และมี ค วามเพี ย ร                         เรียนเอาใจ       เรียน เอาใจ      เรียน เอาใจ


                    หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
260

พยายามในการ                                ใส่และมี         ใส่และมี         ใส่และมีความ
เรี ย นรู ้                                ความเพียร        ความเพียร        เพียรพยามใน
๔.๑.๓ เข้ า ร่ ว ม                         พยายามใน         พยายามใน         การเรียนมี
กิ จ กรรมการเรี ย น                        การเรียนรู้มี    การเรียนรู้มี    ส่วนร่วมใน
รู ้ ต ่ า ง ๆ                             ส่วนร่วมใน       ส่วนร่วมใน       การเรียนรูและ
                                           การเรียนรู้      การเรียนรู้      เข้าร่วม
                                           และเข้าร่วม      และเข้าร่วม      กิจกรรมการ
                                           กิจกรรมการ       กิจกรรมการ       เรียนรูต่าง ๆ
                                                                                    ้
                                           เรียนรู้ต่าง ๆ   เรียนรู้ต่าง ๆ   ทังภายในและ
                                                                               ้
                                           บางครั้ง         ทั้งภายใน        ภายนอก
                                                            และภายนอก        โรงเรียนเป็น
                                                            โรงเรียนบ่อย     ประจำาและ
                                                            ครั้ง            เป็นแบบอย่าง
                                                                             ทีดี่

ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๒ แสวงหาความรู ้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู ้ ต่ า ง ๆ ทั ้ ง
ภายในและภายนอกโรงเรี ย น ด้ ว ยการเลื อ กใช้ ส ื ่ อ
อย่ า งเหมาะสม สรุ ป เป็ น องค์ ค วามรู ้ สามารถนำ า ไปใช้ ใ น
ชี ว ิ ต ประจำ า วั น ได้

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้         ไม่ ผ ่ า น    ผ่ า น (๑)       ดี (๒)           ดี เ ยี ่ ย ม(๓)
                            (๐)
๔.๒.๑ ศึ ก ษา                  ไม่ศึกษา    ศึกษาค้นคว้า     ศึกษาค้นคว้า     ศึกษาค้นคว้า
ค้ น คว้ า หาความรู ้          ค้นคว้า     หาความรู้        หาความรู้จาก     หาคามรู้จาก
จากหนั ง สื อ                  หาความรู้   จาก              หนังสือ          หนังสือ
เอกสาร สิ ่ ง พิ ม พ์                      หนังสือพิมพ์     เอกสาร สิ่ง      เอกสาร สิ่ง
สื ่ อ เทคโนโลยี ต ่ า ง                   สื่อ             พิมพ์ สื่อ       พิมพ์ สื่อ
ๆแหล่ ง เรี ย นรู ้ ท ั ้ ง                เทคโนโลยี        เทคโนโลยี        เทคโนโลยี
ภายในและ                                   แหล่งเรียนรู้    และ              และ
ภายนอก                                     ทั้งภายใน        สารสนเทศ         สารสนเทศ
โรงเรี ย น และเลื อ ก                      และภายนอก        แหล่งเรียนรู้    แหล่งเรียนรู้
ใช้ ส ื ่ อ ได้                            โรงเรียน         ทั้งภายในและ     ทั้งภายในและ
อย่ า งเหมาะสม                             เลือกใช้สื่อ     ภายนอก           ภายนอก
๔.๒.๒ บั น ทึ ก ความ                       ได้อย่าง         โรงเรียนและ      โรงเรียนเลือก
รู ้ ว ิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล               เหมาะสมมี        เลือกใช้สื่อไอ   ใช้สื่อได้อย่าง
จากสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้                การบันทึก        ย่างเหมาะสมมี    เหมาะสมมีการ
สรุ ป                                      ความรู้          การบันทึก        บันทึกความรู้
เป็ น องค์ ค วามรู ้                                        ความรู้          วิเคราะห์
๔.๒.๓ แลกเปลี ่ ย น                                         วิเคราะห์        ข้อมูลสรุปเป็น
เรี ย นรู ้ ด ้ ว ยวิ ธ ี ก าร                              ข้อมูลสรุปเป็น   องความรู้แลก
ต่ า ง ๆและนำ า ไปใช้                                       องค์ความรู้      เปลี่ยนเรียนรู้


                    หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
261

พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้             ไม่ ผ ่ า น   ผ่ า น (๑)    ดี (๒)               ดี เ ยี ่ ย ม(๓)
                                (๐)
ในชี ว ิ ต ประจำ า วั น                                     แลกเปลี่ยน           ด้วยวิธีการที่
                                                            เรียนรู้กับผู้อื่น   หลาก หลาย
                                                            ได้ แบะนำาไป         และเผย แพร่
                                                            ใช้ในชีวิต           แก่บุคคล
                                                            ประจำาวันได้         ทั่วไปนำาไปใช้
                                                                                 ในชีวิตประจำา
                                                                                 วัน
         ข้ อ ที ่ ๕ อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง
         นิ ย าม
         อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำาเนิน
ชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และ
ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
       ผู ้ ท ี ่ อ ยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง คือ ผู้ที่ดำาเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล
รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็น
คุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกันความเสี่ยง และพร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลง
         ตั ว ชี ้ ว ั ด
         ๕.๑ ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม
         ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้

ตั ว ชี ้ ว ั ด                    พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้
๕.๑ ดำาเนินชีวิตอย่างพอ ๕.๑.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ
ประมาณมีเหตุผล            เครื่องใช้ ฯลฯอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา
รอบคอบ มีคุณธรรม          ดูแลอย่างดีรวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม
                          ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้ม
                          ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
                          ๕.๑.๓ ปฏิบัตตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มี
                                        ิ
                          เหตุผล
                          ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทำาให้ผู้อื่นเดือด
                          ร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่นกระทำาผิดพลาด
๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ ๕.๒.๑ วางแผนการเรียน การทำางาน และการใช้
ดีปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคม ชีวิตประจำาวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล
ได้อย่างมีความสุข         ข่าวสาร
                           ๕.๒.๒ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
                          สภาพแวดล้อมยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้
                          อื่นได้อย่างมีความสุข




                           หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล

More Related Content

What's hot

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
YingZaa TK
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์kunkrukularb
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
พัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
Sasiprapha Srisaeng
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
Aopja
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
Kruthai Kidsdee
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 

Viewers also liked

แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
Pakornkrits
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555Ict Krutao
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
Phajon Kamta
 
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)ดอย บาน ลือ
 
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
Ailada_oa
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
Natthawut Sutthi
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
komjankong
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
Teacher Sophonnawit
 

Viewers also liked (20)

แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 2 สำนักวิชาการฯ-2555
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 
แนะแนว ปพ
แนะแนว ปพแนะแนว ปพ
แนะแนว ปพ
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 1 สำนักวิชาการฯ-2555
 
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว ตามหลักสูตร 2551 ชั้น ม 3 สำนักวิชาการฯ-2555
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
 
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 

Similar to 12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล

คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51Narongchai Wanmanee
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51Kul Kully
 
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์nang_phy29
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
Nattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 

Similar to 12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล (20)

คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
 
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 

More from sasiton sangangam

6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์sasiton sangangam
 
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศsasiton sangangam
 
9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะsasiton sangangam
 
8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษา8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษาsasiton sangangam
 
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้นsasiton sangangam
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์sasiton sangangam
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้นsasiton sangangam
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์sasiton sangangam
 
4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทยsasiton sangangam
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯsasiton sangangam
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์sasiton sangangam
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailsasiton sangangam
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailsasiton sangangam
 

More from sasiton sangangam (18)

6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
 
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
11หลักสูตรภาษาต่างประเทศ
 
9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ
 
8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษา8หลักสูตรสุขศึกษา
8หลักสูตรสุขศึกษา
 
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
7หลักสูตรสังคมศึกษาต้น
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
5หลักสูตรคณิตศาสตร์ต้น
 
5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์5หลักสูตรคณิตศาสตร์
5หลักสูตรคณิตศาสตร์
 
4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย4หลักสูตรภาษาไทย
4หลักสูตรภาษาไทย
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
2สารบัญ
2สารบัญ2สารบัญ
2สารบัญ
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
10หลักสูตรการงานอาชีพ ฯ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmail
 
การสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmailการสมัคร Hotmail
การสมัคร Hotmail
 
อิอิอิ
อิอิอิอิอิอิ
อิอิอิ
 
อิอิอิ
อิอิอิอิอิอิ
อิอิอิ
 

12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล

  • 1. 239 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช 255 ٢ กิ จ กรรมพั ฒ นาผู ้ เ รี ย น ตามหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน พ.ศ.2551 1. ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 2. 240 1.1 กำาหนดกิจกรรมและจำานวนชั่วโมงที่จัดการเรียนการสอน เป็น 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน กิจกรรมที่จัดมีดังนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว จำานวน 20 ชั่วโมง 2. กิจกรรมชุมนุม จำานวน 20 ชั่วโมง 3. กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด จำานวน ١٣ ชั่วโมง (ใน ภาคเรียนที่ ١) และ จำานวน ١٢ ชั่วโมง (ในภาคเรียนที่ ٢) 4. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จำานวน ٧ ชั่วโมง (ในภาคเรียนที่ ١) และ จำานวน ٨ ชั่วโมง (ในภาคเรียนที่ ٢) หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมอยู่ใน กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด กำ า หนดเกณฑ์ ก ารวั ด ประเมิ น ผลในแต่ ล ะกิ จ กรรมดั ง นี ้ 1. มีเวลาเรียน ไม่ตำ่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาที่กำาหนด 2. ผ่านจุดประสงค์สำาคัญตามที่สถานศึกษากำาหนดกำาหนด 3. ผ่านกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ 1. กิจกรรมแนะแนว จัดการเรียนการสอนจำานวน 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์/ภาคเรียน แนวการจัดตามหลักสูตร - ระดับชั้น ม.1 การรู้จักงานแนะแนวการเรียนให้มี ประสิทธิภาพ การใช้เวลาอย่างมีคุณค่า การสำารวจตนปรับปรุงผลการ เรียน การอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ปัญหาและ แนวทางแก้ไข การเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น จิตสาธารณะ รู้จักอาชีพใน ครอบครัว การรับฟังข่าวสารข้อมูล - ระดับชั้น ม.2 การสำารวจและปรับปรุงผลการเรียน การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี การรู้จักตนเองเข้าสู่อาชีพ คุณธรรมนำา ชีวิตที่ดี การใช้เวลา การรู้จักข้อมูลอาชีพเบื้องต้น การลด ความเครียด การทำางานเป็นกลุ่ม - ระดับชั้น ม.3 การรู้จักตนเองเส้นทางสู่ดวงดาว ทักษะการแก้ปัญหา มองตลาดแรงงาน การวางแผนเลือกอาชีพที่ ใฝ่ฝัน โลกกว้างทางอาชีพ การรู้จักและเข้าใจตนเองด้าน การ เรียน 2. กิจกรรมชุมนุม จัดการเรียนการสอนจำานวน 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์/ภาคเรียน แนวการจัดตามหลักสูตร หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 3. 241 - จัดทำาโครงการ กำาหนดวัตถุประสงค์การเรียนเพิ่ม เติม ในด้านผู้เรียนเกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้ เรียน โดยระบุให้ชัดเจน 3. กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด จัดการเรียนการสอนจำานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์/ภาคเรียน แนวการจัดตามหลักสูตร - จัดทำาโครงการ กำาหนดวัตถุประสงค์การเรียน เกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยระบุให้ ชัดเจน - จัดทำาโครงการสอน ให้ระบุกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณะประโยชน์ ตามวัตถุประสงค์ในโครงการ พร้อมทั้งกำาหนด กิจกรรมดังกล่าว ตามความเหมาะสม พร้อมทั้งประเมินผลตามเกณฑ์ วัดผลที่สถานศึกษากำาหนด 4. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จัดรวมกับ กิจกรรม ลูกเสือ ยุวกาชาด และจัดทำาแบบบันทึกกิจกรรมสำาหรับ นักเรียน หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 4. 242 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช 255 ٢ การประเมิ น การอ่ า น คิ ด วิ เ คราะห์ และเขี ย น มาตรฐาน ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ โดยการวิเคราะห์ และเขียน สือความ ่ จากการอ่าน และคิดวิเคราะห์ อย่างมีประสิทธิภาพ ตามตัวชี้วัดที่ประเมินมีดังนี้ ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ١ สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูล สารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถสร้าง ความเข้าใจและประยุกต์ใช้ความรู้จากการอ่าน หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 5. 243 ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٢ สามารถจับประเด็นสำาคัญและประเด็นสนับสนุนต็แย้ง ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٣ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่า เชื่อถือ ลำาดับและความเป็นไปได้ของ เรื่องที่อ่าน ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٤ สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ٥ สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าว โดยการ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่น ผังความคิดเป็นต้น เกณฑ์ ร ะดั บ คุ ณ ภาพการประเมิ น การอ่ า น คิ ด วิ เ คราะห์ แ ละเขี ย น ระดับคุณภาพ ٣ (ดีเยี่ยม) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพ ดีเลิศอยู่เสมอ ระดับคุณภาพ ٢ (ดี) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ ยอมรับ ระดับคุณภาพ ١ (ผ่าน) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ที่มีข้อบกพร่อง บางประการ ระดับคุณภาพ ٠ (ไม่ผ่าน) ไม่มีผลงานที่แสดงความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน หรือถ้ามี ผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่อง ต้องได้รับ แก้ไข หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 6. 244 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช 255 ٢ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนสุธี วิทยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ ได้แก่ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 7. 245 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ การนำาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ ไปพัฒนาผู้เรียน ให้มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธิผลนั้ น ครูต้องมีความเข้าใจเกี่ ยวกั บคุณลักษณะอันพึง ประสงค์อย่างชัดเจน โดยพิจารณาจากนิยาม ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนนของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งมีราย ละเอียดดังนี้ นิ ย าม ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ และเกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ข้ อ ที ่ ๑ รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ นิ ย าม รั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ หมายถึ ง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ เป็นพลเมืองดีของชาติ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู ้ ท ี ่ ร ั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ คื อ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการ เป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือและแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระ มหากษัตริย์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 8. 246 ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ๑.๑ เป็ น พลเมื อ งดี ข อง ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และ ชาติ อธิบายความหมายของเพลงชาติได้ถูกต้อง ๑.๑.๒ ปฏิบติตนตามสิทธิและ หน้าที่พลเมืองดี ั ของชาติ ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง ๑.๒ ธำ า รงไว้ ซ ึ ่ ง ความ ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้าง เป็ น ชาติ ไ ทย ความสามัคคี ปรองดอง ที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกย่องความเป็นชาติ ไทย ๑.๓ ศรั ท ธา ยึ ด มั ่ น และ ๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิ บ ั ต ิ ต นตามหลั ก ของ ๑.๓.๒ ปฏิบติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือ ั ศาสนา ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน ๑.๔ เคารพเทิ ด ทู น ๑.๔.๑ เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่ สถาบั น เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์ พระมหากษัตริย์ ๑.๔.๒ แสดงความสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษัตริย์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๑ เป็ น พลเมื อ งดี ข องชาติ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพ ไม่ยืนตรง ยืนตรงเมือ่ ยืนตรงเมือ่ ยืนตรงเมือ ่ ธงชาติ ร้องเพลงชาติ เคารพ ได้ยนเพลง ิ ได้ยนเพลง ิ ได้ยน ิ และอธิบายความหมาย ธงชาติ ชาติ ร้อง ชาติ ร้อง เพลงชาติ ร้อง ของเพลงชาติได้ถูกต้อง เพลงชาติและ เพลงชาติ เพลงชาติ ๑.๑.๒ ปฏิบัตตนตาม ิ อธิบาความ และอธิบาย และ สิทธิหน้าที่ พลเมืองดี หมายของ ความ หมาย อธิบาความ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 9. 247 ของชาติ เพลงชาติได้ ของเพลงชาติ หมาย ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ถูกต้อง ได้ถกต้อง ู ของเพลงชาติ ปรองดอง ปฏิบตตนตาม ั ิ ปฏิบตตนตาม ั ิ ได้ สิทธิและ สิทธิและ ถูกต้อง ปฏิบติ ั หน้าทีของนัก ่ หน้าทีของ ่ ตนตามสิทธิ เรียน และให้ นักเรียน และ และ ความร่วมมือ ให้ความร่วม หน้าทีของ ่ ร่วมใจในการ มือร่วมใจใน พลเมืองดีและ ทำากิจกรรม การทำา ให้ความร่วม กับสมาชิกใน กิจกรรมกับ มือ ร่วมใจใน ชันเรียน ้ สมาชิกใน การทำา โรงเรียน กิจกรรมกับ สมาชิกใน โรงเรียนและ ชุมชน ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๒ ธำ า รงไว้ ซ ึ ่ ง ความเป็ น ชาติ ไ ทย พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม สนับสนุน กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรม กิจกรรมและ กิจกรรมที่สร้างความ สร้างความ สร้างความ และมีส่วน มีสวนร่วมใน ่ สามัคคี สามัคคี สามัคคี ร่วมในการ การจัดกิจ ปรองดอง ที่เป็นประโยชน์ ปรองดอง จัดกิจกรรมที่ กรรม ทีสร้าง ่ ต่อ และเป็น สร้าง ความ ความสามัคคี โรงเรียน ชุมชนและสังคม ประโยชน์ตอ ่ สามัคคี ปรองดอง และ ๑.๒.๒ หวงแหนปกป้อง โรงเรียน ปรองดอง เป็นประโยชน์ ยกย่อง และชุมชน และเป็น ต่อโรงเรียน ความเป็นชาติไทย ประโยชน์ต่อ ชุมชนและ โรงเรียน สังคมชืนชม ่ และชุมชน ในความเป็น ชาติไทย ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๓ ศรั ท ธา ยึ ด มั ่ น และปฏิ บ ั ต ิ ต นตามหลั ก ของศาสนา หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 10. 248 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม ทางศาสนาที่ตนนับถือ กิจกรรมทาง กิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม ๑.๓.๒ ปฏิบัตตนตาม ิ ศาสนาทีตน ่ ทางศาสนาที่ ศาสนาที่ตน ทางศาสนาที่ หลักของศาสนาที่ตน นับถือ ตนนับถือและ นับถือและ ตน นับถือ ปฏิบัติตน ปฏิบติ ตน ั นับถือปฏิบัติ ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่าง ที่ ตาม ตาม ตนตามหลัก ดีของ หลักของ หลักของ ของศาสนา ศาสนิกชน ศาสนาตาม ศาสนา อย่าง โอกาส อย่าง สมำ่าเสมอ สมำ่าเสมอ และ เป็นแบบ อย่างที่ดีของ ศาสนิกชน ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๔ เคารพเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๔.๑ เข้าร่วมและมี ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม ส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ และมีส่วน และมีส่วน สถาบัน สถาบัน สถาบันพระ ร่วมในการ ร่วมในการ พระมหากษัตริย์ พระมหา มหากษัตริย์ จัดกิจกรรมที่ จัดกิจกรรมที่ ๑.๔.๒ แสดงความ กษัตริย์ ตามที่ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ สำานึกในพระ โรงเรียนและ สถาบัน สถาบัน มหากรุณาธิคุณของ ชุมชนจัดขึ้น พระมหา พระมหา พระมหากษัตริย์ กษัตริย์ กษัตริย์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่ง ตามที่ ตามที่ ความจงรักภักดีต่อ โรงเรียนและ โรงเรียนและ สถาบันพระมหากษัตริย์ ชุมชนจัดขึ้น ชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราช กรณียกิจ พระปรีชา สามารถของ พระมหา กษัตริย์ และพร ราชวงศ์ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 11. 249 เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๑ เป็ น พลเมื อ งดี ข องชาติ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพ ไม่ยืนตรง ยืนตรงเมือ ่ ยืนตรงเมือ ่ ยืนตรงเมือ ่ ธงชาติ ร้องเพลงชาติ เคารพ ได้ยนเพลง ิ ได้ยนเพลง ิ ได้ยนิ และอธิบายความหมาย ธงชาติ ชาติ ร้อง ชาติ ร้อง เพลงชาติ ร้อง ของเพลงชาติได้ถูกต้อง เพลงชาติและ เพลงชาติ เพลงชาติ ๑.๑.๒ ปฏิบัตตนตาม ิ อธิบาความ และอธิบาย และ สิทธิหน้าที่ พลเมืองดี หมายของ ความ หมาย อธิบาความ ของชาติ เพลงชาติได้ ของเพลงชาติ หมาย ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ถูกต้อง ได้ถกต้อง ู ของเพลงชาติ ปรองดอง ปฏิบตตนตาม ั ิ ปฏิบตตนตาม ั ิ ได้ สิทธิและ สิทธิและ ถูกต้อง ปฏิบติ ั หน้าทีของนัก ่ หน้าทีของ ่ ตนตามสิทธิ เรียน และให้ พลเมืองดี ให้ และ ความร่วมมือ ความร่วมมือ หน้าทีของ ่ ร่วมใจในการ ร่วมใจในการ พลเมืองดีและ ทำากิจกรรม ทำากิจกรรม ให้ความร่วม กับสมาชิกใน กับสมาชิกใน มือ ร่วมใจใน ชันเรียน ้ โรงเรียนและ การทำา ชุมชน กิจกรรมกับ สมาชิกใน โรงเรียน ชุมชนและ สัว คม ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๒ ธำ า รงไว้ ซ ึ ่ ง ความเป็ น ชาติ ไ ทย พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เป็นผูนำาหรือ ้ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 12. 250 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) สนับสนุน กิจกรรมที่ กิจกรรมและมี กิจกรรม เป็นแบบอย่าง กิจกรรมที่สร้างความ สร้างความ ส่วนร่วมใน และมีสวนร่วม ่ ในการจัด สามัคคี สามัคคี การจัด ในการจัด กิจกรรมที่ ปรองดอง ที่เป็นประโยชน์ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ สร้างความ ต่อ สร้างความ สร้าง ความ สามัคคี โรงเรียน ชุมชนและสังคม สามัคคี สามัคคี ปรองดองและ ๑.๒.๒ หวงแหนปกป้อง ปรองดองและ ปรองดอง เป็นประโยชน์ ยกย่อง เป็นประโยชน์ และเป็น ต่อโรงเรียน ความเป็นชาติไทย ต่อโรงเรียน ประโยชน์ตอ ่ ชุมชนปกป้อง และชุมชน โรงเรียน ความเป็นชาติ ชุมชนและ ไทย สังคมชืนชม ่ ความเป็นชาติ ไทย ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๓ ศรั ท ธา ยึ ด มั ่ น และปฏิ บ ั ต ิ ต นตามหลั ก ของศาสนา พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม ทางศาสนาที่ตนนับถือ กิจกรรมทาง กิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม ๑.๓.๒ ปฏิบัตตนตาม ิ ศาสนาทีตน ่ ทางศาสนาที่ ศาสนาที่ตน ทางศาสนาที่ หลักของศาสนาที่ตน นับถือ ตนนับถือและ นับถือและ ตน นับถือ ปฏิบัติตน ปฏิบติ ตน ั นับถือปฏิบัติ ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่าง ที่ ตาม ตาม ตนตามหลัก ดีของ หลักของ หลักของ ของศาสนา ศาสนิกชน ศาสนาตาม ศาสนา อย่าง โอกาส อย่าง สมำ่าเสมอ สมำ่าเสมอ และ เป็นแบบ อย่างที่ดีของ ศาสนิกชน ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๑.๔ เคารพเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 13. 251 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๑.๔.๑ เข้าร่วมและมี ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม ส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ และมีส่วน และมีส่วน สถาบัน สถาบัน สถาบันพระ ร่วมในการ ร่วมในการ พระมหากษัตริย์ พระมหา มหากษัตริย์ จัดกิจกรรมที่ จัดกิจกรรมที่ ๑.๔.๒ แสดงความ กษัตริย์ ตามที่ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ สำานึกในพระ โรงเรียนและ สถาบัน สถาบัน มหากรุณาธิคุณของ ชุมชนจัดขึ้น พระมหา พระมหา พระมหากษัตริย์ กษัตริย์ กษัตริย์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่ง ตามที่ ตามที่ ความจงรักภักดีต่อ โรงเรียนและ โรงเรียนและ สถาบันพระมหากษัตริย์ ชุมชนจัดขึ้น ชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราช กรณียกิจ พระปรีชา สามารถของ พระมหา กษัตริย์ และพร ราชวงศ์ ข้ อ ที ่ ๒ ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต นิ ย าม ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูก ต้อง ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริง ทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการดำาเนินชีวิต มี ความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำาผิด ตั ว ชี ้ ว ั ด หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 14. 252 ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ๒.๑ ประพฤติตรงตาม ๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ความเป็น ๒.๑.๒ ปฏิบัตตนโดยคำานึงถึงความถูกต้อง ละอาย ิ จริงต่อตนเองทั้ง และเกรงกลัวต่อการกระทำาผิด ทางกาย ๒.๑.๓ ปฏิบัติตามคำามั่นสัญญา วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตาม ๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็น ความเป็น ของตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบติตนต่อผู้อื่นด้วยความ ั จริง ต่อผู้อื่นทั้งทาง ซื่อตรง กาย ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง วาจา ใจ เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๑ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ตนเองทั ้ ง ทางกาย วาจา ใจ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม (๐) (๓) ๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูก ไม่ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ต้อง ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถูกต้องและ และเป็นจริง เป็นจริง เป็นจริง เป็นจริง เป็นจริง หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 15. 253 ๒.๑.๒ปฏิบัติตนโดย ปฏิบัติในสิ่งที่ ปฏิบติในสิ่งที่ ั ปฏิบัติในสิ่งที่ คำา นึ ง ถึ ง ค ว า ม ถู ก ถูกต้องทำา ถูกต้อง ถูกต้อง ต้องละอายและเกรง ตามสัญญาที่ ละอายและ ละอายและ กลั ว ต่ อ การกร ะทำา ตนให้ไว้กับ เกรงกลัวที่จะ เกรงกลัวที่จะ ผิด เพื่อน พ่อแม่ กระทำาผิดทำา กระทำาผิดทำา ๒ .๑ .๓ ป ฏิ บั ติ ต า ม หรือผู้ ตามสัญญาที่ ตามสัญญา คำามั่น สัญญา ปกครอง ตนให้ไว้กับ ที่ตนให้ไว้กับ เพื่อน พ่อแม่ เพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ หรือผู้ ปกครองและ ปกครองและ ครู ครู เป็นแบบ อย่างที่ดีด้าน ความซื่อสัตย์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๒ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ผู ้ อ ื ่ น ทั ้ ง ทางกาย วาจา ใจ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม (๐) (๓) ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา นำาสิ่งของ ไม่นำาสิ่งของ ไม่เคยนำา ไม่นำาสิ่งของ สิ่งของหรือผลงาน ของ และผลงาน สิ่งของ และ และผลงาน ของผู้อื่นมาเป็นของ คนอื่นมาเป็น ของผู้อื่นมา ผลงานของผู้ ของผู้อื่นมา ตนเอง ของตนเอง เป็นของ อื่นมาเป็น เป็นของ ๒.๒.๒ ปฏิบัตตนต่อ ิ ตนเอง ปฏิบติ ั ของตนเอง ตนเอง ปฏิบติ ั ผู้อื่น ตนต่อผู้อื่น ปฏิบติตนต่อ ั ตนต่อผู้อื่น ด้วยความซื่อตรง ด้วยความ ผู้อื่นด้วย ด้วยความ ๒.๒.๓ ไม่หา ซื่อตรง ความซื่อตรง ซื่อตรง ไม่หา ประโยชน์ ไม่หา ประโยชน์ใน ในทางที่ไม่ถูกต้อง ประโยชน์ใน ทางที่ไม่ถูก ทาง ต้อง และเป็น ที่ไม่ถูกต้อง แบบอย่างที่ดี แก่เพื่อนด้าน ความซื่อสัตย์ เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 16. 254 ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๑ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ตนเองทั ้ ง ทางกาย วาจา ใจ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม (๐) (๓) ๒.๑.๑ ให้ข้อมูลที่ถูก ไม่ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ต้องและเป็นจริง ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถูกต้องและ ๒.๑.๒ ปฏิบติตน ั เป็นจริง เป็นจริง เป็นจริง เป็นจริง โดยคำานึงถึงความ ปฏิบติในสิ่งที่ ั ปฏิบัติในสิ่งที่ ปฏิบติในสิ่งที่ ั ถูกต้อง ละอายและ ถูกต้องทำา ถูกต้อง ถูกต้อง เกรงกลัวต่อการกระ ตามสัญญาที่ ละอายและ ละอายและ ทำาผิด ตนให้ไว้กับ เกรงกลัวที่จะ เกรงกลัวที่จะ ๒.๑.๓ ปฏิบัตตาม ิ เพื่อน พ่อแม่ กระทำาผิดทำา กระทำาผิดทำา คำามั่นสัญญา หรือผู้ ตามสัญญาที่ ตามสัญญาที่ ปกครอง ตนให้ไว้กับ ตนให้ไว้กับ เพื่อน พ่อแม่ เพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ หรือผู้ ปกครองและ ปกครองและ ครู ครู เป็นแบบ อย่างที่ดีด้าน ความซื่อสัตย์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๒.๒ ประพฤติ ต รงตามความเป็ น จริ ง ต่ อ ผู ้ อ ื ่ น ทั ้ ง ทางกาย วาจา ใจ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม (๐) (๓) ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา นำาสิ่งของ ไม่นำาสิ่งของ ไม่เคยนำา ไม่นำาสิ่งของ สิ่งของหรือผลงาน ของ และผลงาน สิ่งของ และ และผลงาน ของผู้อื่นมาเป็นของ คนอื่นมาเป็น ของผู้อื่นมา ผลงานของผู้ ของผู้อื่นมา ตนเอง ของตนเอง เป็นของ อื่นมาเป็น เป็นของ ๒.๒.๒ ปฏิบติตนต่อ ั ตนเอง ปฏิบัติ ของตนเอง ตนเอง ปฏิบัติ ผู้อื่น ตนต่อผู้อื่น ปฏิบัติตนต่อ ตนต่อผู้อื่น ด้วยความซื่อตรง ด้วยความ ผู้อื่นด้วย ด้วยความ ๒.๒.๓ ไม่หา ซื่อตรง ความซื่อตรง ซื่อตรง ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ ไม่หา ประโยชน์ใน ไม่ถูกต้อง ประโยชน์ใน ทางที่ไม่ถูก ทาง ต้อง และเป็น ที่ไม่ถูกต้อง แบบอย่างที่ดี แก่เพื่อนด้าน ความซื่อสัตย์ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 17. 255 ข้ อ ที ่ ๓ มี ว ิ น ั ย นิ ย าม มี ว ิ น ั ย หมายถึ ง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎ เกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวโรงเรียน และ สังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตั ว ชี ้ ว ั ด ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว โรงเรี ย น และสั ง คม ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต าม ข้ อ ตกลงกฎ ๓.๑.๑ ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ เกณฑ์ ระเบี ย บ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิด โรงเรี ย น และสั ง คม สิทธิของผู้อื่น ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวต ประจำาวัน และรับผิดชอบในการ ิ ทำางาน เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว โรงเรี ย นและสั ง คม พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๓.๑.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต น ไม่ปฏิบัติตน ปฏิบัติตาม ปฏิบติตาม ั ปฏิบตตามข้อ ั ิ ตามข้ อ ตกลง กฎ ตาม ข้อตกลงกฎ ข้อตกลงกฎ ตกลงกฎ เกณฑ์ ร ะเบี ย บข้ อ ข้อตกลงกฎ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ บั ง คั บ ของครอบครั ว เกณฑ์ ระเบียบข้อ ระเบียบข้อ ระเบียบข้อ โรงเรี ย น และสั ง คม ระเบียบ ข้อ บังคับของ บังคับ ของ บังคับของ ไม่ ล ะเมิ ด สิ ท ธิ ข องผู ้ บังคับของ ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว อื ่ น ครอบครัว และโรงเรียน และโรงเรียน โรงเรียน และ ๓.๑.๒ ตรงต่ อ เวลา และโรงเรียน ตรงต่อเวลา ตรงต่อเวลา สังคม ไม่ ในการปฏิ บ ั ต ิ ในการปฏิบัติ ในการปฏิบัติ ละเมิดสิทธิ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 18. 256 กิ จ กรรมต่ า ง ๆใน กิจกรรม กิจกรรมต่าง ของผูอืนตรง ้ ่ ชี ว ิ ต ประจำ า วั น และ ต่าง ๆ ใน ๆ ในชีวต ิ ต่อเวลาใน รั บ ผิ ด ชอบในการ ชีวิต ประจำา ประจำาวัน การปฏิบติ ั ทำ า งาน วัน และรับผิด กิจกรรมต่าง ๆ ชอบในการ ในชีวตประจำา ิ ทำางาน วันและรับผิด ชอบในการ ทำางาน เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๓.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามข้ อ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ของครอบครั ว โรงเรี ย นและสั ง คม พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๓.๑.๑ ปฏิ บ ั ต ิ ต น ไม่ปฏิบัติตน ปฏิบัติตาม ปฏิบติตาม ั ปฏิบัติตามข้อ ตามข้ อ ตกลง ตาม ข้อ ตกลงกฎ ข้อ ตกลงกฎ ตกลงกฎ กฎเกณฑ์ ระเบี ย บ ข้อตกลงกฎ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ ข้ อ บั ง คั บ ของ เกณฑ์ ระเบียบข้อ ระเบียบข้อ ระเบียบข้อ ครอบครั ว โรงเรี ย น ระเบียบ ข้อ ตกลง ของ ตกลงของ ตกลง ของ และสั ง คมไม่ ล ะเมิ ด บังคับของ ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว สิ ท ธิ ข องผู ้ อ ื ่ น ครอบครัว และโรงเรียน โรงเรียนและ โรงเรียน และ ๓.๑.๒ ตรงต่ อ เวลา และโรงเรียน ตรงต่อเวลา สังคมไม่ สังคม ไม่ ในการปฏิ บ ั ต ิ ในการปฏิบัติ ละเมิดสิทธิ ละเมิดสิทธิ กิ จ กรรมต่ า ง ๆใน กิจกรรมต่าง ของผู้อื่นตรง ของผู้อื่นตรง ชี ว ิ ต ประจำ า วั น และ ๆ ในชีวิต ต่อเวลาใน ต่อเวลาใน รั บ ผิ ด ชอบในการ ประจำาวัน การปฏิบัติกิจ การปฏิบัติ ทำ า งาน และรับผิด กรรต่างๆใน กิจกรรม ชอบในการ ชีวิตประจำา ต่างๆในชีวิต ทำางาน วันและรับผิด ประจำาวัน ชอบในการ และรับผิด ทำางาน ชอบใน การทำางาน ปฏิบัติ เป็นปกติวิสัย และ เป็นแบบ อย่างที่ดี หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 19. 257 ข้ อ ที ่ ๔ ใฝ่ เ รี ย นรู ้ นิ ย าม ใฝ่ เ รี ย นรู ้ หมายถึ ง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร พยายามในการเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียน ผู ้ ท ี ่ ใ ฝ่ เ รี ย นรู ้ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสมำ่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ตั ว ชี ้ ว ั ด ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก โรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำา ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ๔.๑ ตั ้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามใน กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ การเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔.๒ แสวงหาความรู ้ จ ากทั ้ ง ๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ ภายในและภายนอก เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆแหล่ง โรงเรี ย น ด้ ว ยการเลื อ กใช้ เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 20. 258 สื ่ อ อย่ า งเหมาะสม สรุ ป เป็ น เลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม องค์ ค วามรู ้ และสามารถนำ า ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จาก ไปใช้ ใ นชี ว ิ ต ประจำ า วั น ได้ สิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๑ ตั ้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและ เข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรม พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๔.๑.๑ ตั ้ ง ใจเรี ย น ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง ๔.๑.๒ เอาใจใส่ เวลา ตังใจ ้ เวลา เวลา และมี ค วามเพี ย ร เรียน เอาใจ ตั้งใจเรียน ตังใจเรียน ้ พยายามในการ ใส่ในการ เอาใจใส่และ เอาใจใส่และ เรี ย นรู ้ เรียน มีส่วน มีความเพียร มีความเพียร ๔.๑.๓ เข้ า ร่ ว ม ร่วมในการ พยายามใน พยายามใน กิ จ กรรมการเรี ย น เรียนรู้ และ การเรียนรู้มี การเรียนรู้ มี รู ้ ต ่ า ง ๆ เข้าร่วม ส่วนร่วมใน ส่วนร่วมใน กิจกรรมการ การเรียนรู้ การเรียนรู้ เรียนรู้ต่าง ๆ และเข้าร่วม และเข้าร่วม เป็นบางครั้ง กิจกรรมการ กิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เรียนรู้ต่าง ๆ บ่อยครั้ง ทั้งภายใน และภายนอก โรงเรียนเป็น ประจำา หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 21. 259 ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๒ แสวงหาความรู ้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู ้ ต่ า ง ๆ ทั ้ ง ภายในและภายนอกโรงเรี ย น ด้ ว ยการเลื อ กใช้ ส ื ่ อ อย่ า งเหมาะสม สรุ ป เป็ น องค์ ค วามรู ้ สามารถนำ า ไปใช้ ใ น ชี ว ิ ต ประจำ า วั น ได้ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม(๓) (๐) ๔.๒.๑ ศึ ก ษา ไม่ศึกษา ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า มีการบันทึกความ ค้ น คว้ า หาความรู ้ ค้นคว้า ความรู้จาก หาความรู้ รู้วิเคราะห์ข้อมูล จากหนั ง สื อ หาความรู้ หนังสือ จากหนังสือ สรุปเป็นองค์ความ เอกสาร สิ ่ ง พิ ม พ์ เอกสาร เอกสาร รู้ และแลกเปลี่ยน สื ่ อ เทคโนโลยี ต ่ า ง สิ่งพิมพ์ สื่อ สิ่งพิมพ์ สื่อ เรียนรู้กับผู้อื่นได้ ๆแหล่ ง เรี ย นรู ้ ท ั ้ ง เทคโนโลยี เทคโนโลยี ศึกษาค้นคว้า ภายในและ แหล่ง และ หาความรู้จา ภายนอก เรียนรู้ ทั้ง สารสนเทศ หนังสือ โรงเรี ย น และเลื อ ก ภายในและ แหล่ง เอกสาร สิ่งพิมพ์ ใช้ ส ื ่ อ ได้ ภายนอก เรียนรู้ ทั้ง สื่อเทคโนโลยี และ อย่ า งเหมาะสม โรงเรียน ภายในและ สารสนเทศ แหล่ง ๔.๒.๒ บั น ทึ ก ความ เลือกใช้สื่อ ภายนอก เรียนรู้ทั้งภายใน รู ้ ว ิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ได้อย่าง โรงเรียนและ และภายนอก จากสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ เหมาะสม เลือกใช้สื่อ โรงเรียน เลือกใช้ สรุ ป และ ได้อย่าง สื่อได้อย่างเหมาะ เป็ น องค์ ค วามรู ้ มีการบันทึก เหมาะสม สมมีการบันทึก ๔.๒.๓ แลกเปลี ่ ย น ความรู้ ความรู้วิเคราะห์ เรี ย นรู ้ ด ้ ว ยวิ ธ ี ก าร ข้อมูลสรุปเป็นองค์ ต่ า ง ๆและนำ า ไปใช้ ความรู้และแลก ในชี ว ิ ต ประจำ า วั น เปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการที่หลาก หลาย และนำาไป ใช้ในชีวิตประจำา วันได้ เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๑ ตั ้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรม พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี (๐) เยี ่ ย ม(๓) ๔.๑.๑ ตั ้ ง ใจเรี ย น ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง ๔.๑.๒ เอาใจใส่ เวลาตั้งใจ เวลาตั้งใจ เวลาตังใจ ้ และมี ค วามเพี ย ร เรียนเอาใจ เรียน เอาใจ เรียน เอาใจ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 22. 260 พยายามในการ ใส่และมี ใส่และมี ใส่และมีความ เรี ย นรู ้ ความเพียร ความเพียร เพียรพยามใน ๔.๑.๓ เข้ า ร่ ว ม พยายามใน พยายามใน การเรียนมี กิ จ กรรมการเรี ย น การเรียนรู้มี การเรียนรู้มี ส่วนร่วมใน รู ้ ต ่ า ง ๆ ส่วนร่วมใน ส่วนร่วมใน การเรียนรูและ การเรียนรู้ การเรียนรู้ เข้าร่วม และเข้าร่วม และเข้าร่วม กิจกรรมการ กิจกรรมการ กิจกรรมการ เรียนรูต่าง ๆ ้ เรียนรู้ต่าง ๆ เรียนรู้ต่าง ๆ ทังภายในและ ้ บางครั้ง ทั้งภายใน ภายนอก และภายนอก โรงเรียนเป็น โรงเรียนบ่อย ประจำาและ ครั้ง เป็นแบบอย่าง ทีดี่ ตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ๔.๒ แสวงหาความรู ้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู ้ ต่ า ง ๆ ทั ้ ง ภายในและภายนอกโรงเรี ย น ด้ ว ยการเลื อ กใช้ ส ื ่ อ อย่ า งเหมาะสม สรุ ป เป็ น องค์ ค วามรู ้ สามารถนำ า ไปใช้ ใ น ชี ว ิ ต ประจำ า วั น ได้ พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม(๓) (๐) ๔.๒.๑ ศึ ก ษา ไม่ศึกษา ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ค้ น คว้ า หาความรู ้ ค้นคว้า หาความรู้ หาความรู้จาก หาคามรู้จาก จากหนั ง สื อ หาความรู้ จาก หนังสือ หนังสือ เอกสาร สิ ่ ง พิ ม พ์ หนังสือพิมพ์ เอกสาร สิ่ง เอกสาร สิ่ง สื ่ อ เทคโนโลยี ต ่ า ง สื่อ พิมพ์ สื่อ พิมพ์ สื่อ ๆแหล่ ง เรี ย นรู ้ ท ั ้ ง เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี ภายในและ แหล่งเรียนรู้ และ และ ภายนอก ทั้งภายใน สารสนเทศ สารสนเทศ โรงเรี ย น และเลื อ ก และภายนอก แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ใช้ ส ื ่ อ ได้ โรงเรียน ทั้งภายในและ ทั้งภายในและ อย่ า งเหมาะสม เลือกใช้สื่อ ภายนอก ภายนอก ๔.๒.๒ บั น ทึ ก ความ ได้อย่าง โรงเรียนและ โรงเรียนเลือก รู ้ ว ิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เหมาะสมมี เลือกใช้สื่อไอ ใช้สื่อได้อย่าง จากสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ การบันทึก ย่างเหมาะสมมี เหมาะสมมีการ สรุ ป ความรู้ การบันทึก บันทึกความรู้ เป็ น องค์ ค วามรู ้ ความรู้ วิเคราะห์ ๔.๒.๓ แลกเปลี ่ ย น วิเคราะห์ ข้อมูลสรุปเป็น เรี ย นรู ้ ด ้ ว ยวิ ธ ี ก าร ข้อมูลสรุปเป็น องความรู้แลก ต่ า ง ๆและนำ า ไปใช้ องค์ความรู้ เปลี่ยนเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢
  • 23. 261 พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ไม่ ผ ่ า น ผ่ า น (๑) ดี (๒) ดี เ ยี ่ ย ม(๓) (๐) ในชี ว ิ ต ประจำ า วั น แลกเปลี่ยน ด้วยวิธีการที่ เรียนรู้กับผู้อื่น หลาก หลาย ได้ แบะนำาไป และเผย แพร่ ใช้ในชีวิต แก่บุคคล ประจำาวันได้ ทั่วไปนำาไปใช้ ในชีวิตประจำา วัน ข้ อ ที ่ ๕ อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง นิ ย าม อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำาเนิน ชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และ ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู ้ ท ี ่ อ ยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง คือ ผู้ที่ดำาเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็น คุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกันความเสี่ยง และพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลง ตั ว ชี ้ ว ั ด ๕.๑ ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตั ว ชี ้ ว ั ด และพฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ตั ว ชี ้ ว ั ด พฤติ ก รรมบ่ ง ชี ้ ๕.๑ ดำาเนินชีวิตอย่างพอ ๕.๑.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ ประมาณมีเหตุผล เครื่องใช้ ฯลฯอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา รอบคอบ มีคุณธรรม ดูแลอย่างดีรวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้ม ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี ๕.๑.๓ ปฏิบัตตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มี ิ เหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทำาให้ผู้อื่นเดือด ร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่นกระทำาผิดพลาด ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ ๕.๒.๑ วางแผนการเรียน การทำางาน และการใช้ ดีปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคม ชีวิตประจำาวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ได้อย่างมีความสุข ข่าวสาร ๕.๒.๒ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อมยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้ อื่นได้อย่างมีความสุข หลักสูตรโรงเรียนสุธีวิทยา พุทธศักราช ٢٥٥٢