SlideShare a Scribd company logo
รายงานการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง อาเภอชุมแพ
(AMPER CHUMPHAE)
รายวิชา
รายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
รหัสวิชา IS22202
จัดทาโดย
1. เด็กชายภานุเดช อุดม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 เลขที่ 24
2. เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 เลขที่ 27
3. เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 เลขที่ 38
เสนอโดย
คุณครูอุไร ทองดี
ภาคเรียนที่2ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอนแก่น เขต 5
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ขอนแก่น เขต 25
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาและสร้าง
องค์ความรู้ (IS1)และรายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
จัดทาขึ้นมาเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องราวและประวัติความเป็นมาต่างๆของอาเภอชุมแพ
รวมทั้งข้อมูลที่สาคัญอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้า
และนาความรู้ที่ได้จากรายงานฉบับนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจ
คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ฉบับนี้
จะมีประโยชน์ในด้านต่างๆและเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ที่ให้นักเรียน นักศึกษา
ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับอาเภอชุมแพไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทาก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ
เด็กชายภานุเดช อุดม
เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ (ก)
กิตติกรรมประกาศ (ข)
บทที่ 1 บทนา
- บทนา 1
- วัตถุประสงค์ 1
- ประเด็นปัญหาและสมมุติฐาน 1
- ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ 3
- ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอชุมแพ 5
- ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ 6
- ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ 8
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 11
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
- วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 14
- วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า 14
บทที่ 4 ผลการศึกษา
- ผลการศึกษา 15
- ความรู้ที่ได้ 15
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะ
- การดาเนินการศึกษาค้นคว้า 16
- สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า 16
- ข้อเสนอแนะ 17
บรรณานุกรม 18
ภาคผนวก
- เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
- ประวัติคณะผู้จัดทา
(ก)
ชื่อเรื่องการศึกษาค้นคว้า อาเภอชุมแพ (AMPER CHUMPHAE)
ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้า เด็กชาย วุฒิไกร ใจซื่อ
เด็กชาย ภานุเดช อุดม
เด็กชาย เกียรติพงษ์ กกรัมย์
คุณครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า คุณครู อุไร ทองดี
ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
โรงเรียน โรงเรียน ชุมแพศึกษา
ปีการศึกษาที่ค้นคว้า 2556
บทคัดย่อ
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องอาเภอชุมแพ
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กและเยาวชนหรือประชาชนทั่วไปได้ความรู้เกี่ยวกับอาเภอชุมแพ
ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ตั้งประเด็นปัญหาว่า อาเภอชุมแพนั้นมีที่มาอย่างไร โดยสมมุติฐานคือ
อาเภอชุมแพมีมานานแล้ว ซึ่งจากการดาเนินการศึกษาค้นคว้า โดยสืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ หนังสือนิตยสาร
ซึ่งผลการศึกษาและวิเคราะห์จึงสรุปได้ว่าอาเภอชุมแพนั้นมีประวัติมายาวนานหลายชั่วอายุคน
มีความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ในยุคอดีตกาล มีอายธรรมโบราณหลายพันปี
มีวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์
มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่มีความสงบสุขเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งตรงกับสมมุติฐานที่ได้ตั้งเอาไว้
(ข)
กิตติกรรมประกาศ
รายงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้(IS1) เรื่อง อาเภอชุมแพ
ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและนาเสนอ (IS2)
ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์
ซึ่งรายงานดังกล่าวได้เสร็จสมบูรณ์แล้วโดยได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน
ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ท่านแรกคือ คุณครู อุไร ทองดี ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน
และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน
เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้สมบูรณ์
ขอขอบคุณเพื่อนๆ ในห้อง ม.2/1 ทุกคน
ที่ได้เสนอข้อแนะนาในเรื่องของข้อมูลที่ได้ค้นคว้ามาและคาวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ
ซึ่งทาให้การเขียนรายงานค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้สมบูรณ์
ขอขอบคุณครูทุกท่านในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ที่ได้ให้คาแนะนาและได้ให้ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาเภอชุมแพ
ซึ่งช่วยในการจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้
จนสามารถนาข้อมูลที่ได้ไปนาเสนอในการสื่อสารและนาเสนอ (IS2)
และขอขอบพระคุณบิดามารดา ที่ให้กาลังใจอีกทั้งช่วยเหลือสนับสนุนทุนทรัพย์
ทาให้รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผู้จัดทา
เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ
เด็กชายภานุเดช อุดม
เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์
บทที่ 1
บทนา
แนวคิด ที่มาและความสาคัญ
อาเภอชุมแพนั้นมีประวัติมายาวนานหลายชั่วอายุคน มีความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ในยุคอดีตกาล
มีอายธรรมโบราณหลายพันปี มีวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์
มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่มีความสงบสุขเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันนี้ได้มีเทคโนโลยีต่างๆ ที่ทันสมัย
เข้ามามีบทบาทที่สาคัญในการพัฒนาทางด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ ซึ่งทาให้อาเภอชุมแพ
เป็นศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคตะวันตกของจังหวัดขอนแก่น
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศสาสตร์ความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆ
ของอาเภอชุมแพ โดยให้ผู้อ่านได้ตระหนักถึงความสาคัญของอาเภอชุมแพ
ที่มีต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในอาเภอชุมแพ และให้ผู้อ่านได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ
ของอาเภอชุมแพอย่างละเอียดมากขึ้น เพื่อให้ผู้อ่านได้
นาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
ดังนั้นคณะผู้จัดทา จึงได้ศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ
และได้จัดทารายงานเพื่อให้ผู้อ่านนาความรู้ที่ได้จากรายงานฉบับนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจสืบไป
1.1. วัตถุประสงค์
1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศสาสตร์ความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ
2. ตระหนักถึงความสาคัญของอาเภอชุมแพ ที่มีต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในอาเภอชุมแพ
3. เพื่อเผยแพร่ให้คนในท้องถิ่นได้รับรู้ เพื่อตระหนักถึงความสาคัญและมีการอนุรักษ์ชุมชนในท้องถิ่นต่อไป
4. เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพอย่างละเอียดมากขึ้น
เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
1.2.ประเด็นปัญหาและสมมุติฐาน
ประเด็นปัญหา อาเภอชุมแพมีที่มาอย่างไร
สมมุติฐาน อาเภอชุมแพน่าจะมีมายาวนานแล้ว
2
1.3. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ด้านเนื้อหาสาระ
- ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของอาเภอชุมแพว่ามีความเป็นมาอย่างไรได้บ้าง
- ศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาเภอชุมแพ
ด้านสถานที่
- โรงเรียนชุมแพศึกษาโดยศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต
- บ้านของคณะผู้จัดทา โดยศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต หนังสือ และนิตยสารต่างๆ
ด้านระยะเวลา
- ระยะเวลาในการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ตั้งแต่วันที่ 22 ตุลาคม 2556 –17 กุมภาพันธ์ 2557
1.4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดประโยชน์ต่างๆ กับประชาชนทั่วไปที่ได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพ
2. เกิดประโยชน์ในด้านการศึกษา
หรือเด็กและเยาวชนได้รับรู้เพื่อทาให้ได้ตระหนักถึงความเป็นมาของอาเภอชุมแพ
3.
เกิดความรักบ้านเกิดต่อประชาชนและอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีของอาเภอชุมแพสืบไป
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเรื่อง อาเภอชุมแพ
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับอาเภอชุมแพซึ่งคณะผู้จัดทาจะนาเสนอ
ข้อมูลดังนี้
2.1. ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ
2.2. ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอชุมแพ
2.3. ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ
2.4. ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ
2.5. คาขวัญ สัญลักษณ์ และข้อมูลอื่นๆ ของอาเภอชุมแพ
2.6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1. ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ (ศิริญากรณ์, 2556:บทคัดย่อ)
ประมาณปี พ.ศ. 2400 พระครูหงส์ได้ชักชวนญาติพี่น้อง 8
ครอบครัวอพยพออกจากเมืองภูเวียง ครั้งสุดท้ายได้หยุดพักเกวียนที่บ้านกุดจอกน้อย
แล้วแบ่งครอบครัวออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเลือกตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้กุดแห่น้อย บ้านแห่
ส่วนกลุ่มที่นาโดยพระครูหงส์มีบุตร 3 คน คือ นายโฮม (ต้นตระกูลโฮมหงส์) นายโชค และนายหลอด
(ต้นตระกูลหงส์ชุมแพ) ได้เดินทางต่อมาและเลือกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านร้าง
มีวัดร้างและกุดแห่งหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก
วัดร้างนี้มีธาตุและต้นโพธิ์จึงตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์ธาตุ พร้อมกับตั้งชื่อว่าบ้านกุดธาตุ กุดธาตุมีน้าลึกมาก มีจระเข้
และป่าทึบทาให้จับปลาได้ยาก ประกอบกับรอบ ๆกุดธาตุมีกอไผ่ขึ้นหนาแน่น
ชาวบ้านจึงตัดไม้ไผ่มามัดเป็นแพใช้ยืนหว่านแหแล้วตีวงล้อมเข้าหากัน นานเข้าจึงเรียกว่า "กุดชุมแพ" และ
"บ้านชุมแพ" เดิมสุขาภิบาลชุมแพได้ตราประจาประกอบด้วยสัญญาลักษณ์เป็นเจดีย์ใบโพธิ์
และคลื่นฟองน้าอยู่ภายในวงกลม ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตาบลอาเภอชุมแพขึ้นอีก
เปลี่ยนตราประจาสานักงานเทศบาลตามที่กรมศิลปกรออกแบบให้ตราใหม่มีลักษณ์เป็น
วงกรมมีสัญญาลักษณ์เป็นรูปเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีประทับ อยู่บน
แพมือขวาถือลูกธนูมือซ้ายถือคันธนูมีนายทหารคนสนิท 2 ชายนั่งถือธงปลายหอกอยู่คนละข้าง
(ประกาศเทศบาลตาบลชุมแพ วันที่ 23 มีนาคม 2530) สมัยรัชกาลที่ 5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้จัดทัพไปปราบฮ่อ ในเมืองพวน เมืองหัวพันทั้งห้าทั้งหกดังนี้ 1. พระเจ้าน้องยาเธอ
กรมหมื่นประจักรศิบปาคมเป็นแม่ทัพฝ่ายใต้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองหนองคาย 2. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
(เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี) เป็นแม่ทัพฝ่ายเหนือยกกองทัพขึ้นไปทางหลวงพระบาง โดยให้ยกทัพไปปราบฮ่อ
เมื่อวันอังคาร แรม 11ค่า เดือน 11 พ.ศ. 2428(ยงศิลป และโขมพัตร เรืองศุข 2540: 180)
จากประวัติการยกทัพครั้งนี้ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีได้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองพิชัย เมืองน่าน
เมืองหลวงพระบาง เมืองหัว
4
พันทั้งห้าทั้งหก ตลอดจนถึงเมืองสิบสองจุไทย แสดงว่าไม่ได้ยกกองทัพผ่านบ้านชุมแพเลย
บ้านชุมแพตั้งอยู่บนทาเลที่อุดมสมบูรณ์ จงมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น ๆ แบ่งได้เป็น 2คุ้มอู่ระหว่าง 3วัด
ได้แก่ วัดเหนือ (ปัจจุบันเป็นที่ทาการประปา) วัดกลาง (วัดโพธิ์ธาตุ) และวัดใต้
(ปัจจุบันเป็นโรงเรียนบ้านชุมแพ) ปีพุทธศักราช 2543 ในระหว่างที่ท้าวอุปชิต มิตตะปิด
เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2ได้เกิดเพลิงไม้กอไผ่ริมหนองอีเลิงด้านใต้แล้วลุกลามไหม้บ้านนายคาน
หงส์ชุมแพจนถึงด้านทิศเหนือ ชาวบ้านไม่มีที่อยู่อาศัย จึงอพยพไปอยู่ตามที่นาของตนเอง
ตั้งเป็นหมู่บ้านใหม่บ้านหนองไผ่ (บ้านหนองไผ่ใต้) และบ้านโคกไม้งานในปัจจุบัน
ประมาณปี พ.ศ. 2470 เริ่มมีครอบครัวชาวจีนอพยพเข้ามาค้าขายในบริเวณถนนราษฎร์บารุง
ทิศเหนือของวัดโพธิ์ธาตุ การค้าได้ขยายตัวมากขึ้น ปี พ.ศ. 2485 กานันเลี้ยง ดีบุญมี
ได้บริจาคที่ดินเพื่อตัดถนนราษฎร์บารุงให้ยาวขึ้นไปทางทิศเหนือ สร้างศูนย์ราชการและโรงเรียนชุมแพ
นอกจากนี้ยังได้สร้างบ้านเรือนแถวไม้ชั้นเดียวบริเวณตลาดเหนือและตลาดใต้ให้เช่าทาการค้า ต่อมา
กานันจาก 4ตาบลของอาเภอภูเวียง ได้แก่ตาบลชุมแพ ตาบลโนนหัน ตาบลขัวเรียง และตาบลสีสุก (ศรีสุข)
ได้ร่วมมือกันยื่นคาร้องต่อกระทรวงมหาดไทยขอตั้งอาเภอชุมแพ พระยาสุนทรพิพิธ
(ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น) ได้มาตรวจที่ ประกอบกับระยะนั้นอาเภอชนบทถูกไฟไหม้ เมื่อวันที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ.
2486 กระทรวงมหาดไทยจึงอนุมัติให้ตั้งอาเภอชุมแพโดยยุบอาเภอชนบทไปเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอบ้านไ
ผ่
วันที่ 1 ก.ค. 2486กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ 132 ลว 1ก.ค. 2486
ยกฐานะตาบลชุมแพขึ้นเป็นอาเภอชุมแพมีตาบลในเขตปกครอง 4ตาบล คือ ต.ชุมแพ ต.โนนหัน ต.ขัวเรียง
ต.ครีสุขมี นายพิชญ พรมนารถ เป็นนายอาเภอคนแรก
ปีพุทธศักราช 2499กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลชุมแพ
คืนวันที่ 25ธันวาคม พ.ศ. 2510เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่บริเวณตลาดใต้
ตลาดสดดีบุญมีและโรงภาพยนตร์ชุมแพ
ปีพุทธศักราช 2510พื้นที่ตาบลนาจาน ศรีสุข และสีชมพู แยกไปขึ้นอยู่กับอาเภอ สีชมพู
ปีพุทธศักราช 2524แยกตาบลโนนคอมไปตั้งกิ่งอาเภอภูผาม่าน
15 ตุลาคม พ.ศ. 2528 สุขาภิบาลชุมแพได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลชุมแพ
5
2.2. ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอชุมแพ
 ลักษณะภูมิประเทศ
อาเภอชุมแพมีเนื้อที่ทั้งหมด 318,750 ไร่พื้นที่โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบสูง
ทิศเหนือมีภูเขาสูงและที่ราบสูงลาดเอียงไปทางทิศใต้
บริเวณทางทิศใต้มีลาน้าเชิญเป็นเส้นกั้นอาณาเขตระหว่างอาเภอชุมแพกับอาเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ พื้นที่ทาง
ทิศเหนือบางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติภูเวียง พื้นที่ทางทิศตะวันตกบางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติด
งลาน รวมพื้นที่ป่าสงวนในเขตอาเภอชุมแพทั้งหมด 90,250 ไร่
ลักษณะภูมิอากาศ
 ลักษณะภูมิอากาศของอาเภอชุมแพ แบ่งออกเป็น 3ฤดู คือ
1. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 30.13 องศาเซลเซียส
2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ปริมาณน้าฝนวัดได้ 845 มิลลิเมตร
3. ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23.48 องศาเซลเซียส
แม้ฤดูฝนจะมีระยะเวลา 6 เดือนดังกล่าว
แต่โดยทั่วไปจะมีสภาวะฝนทิ้งช่วงในราวเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม
และจะตกใหม่ในช่วงเดือนกันยายน เป็นเหตุให้การเพาะปลูกมักประสบปัญหาฝนแล้งอยู่เป็นประจา
 ทรัพยากรธรรมชาติ
อาเภอชุมแพมีทรัพยากรที่สาคัญทางธรรมชาติ ดังนี้ ดิน ลักษณะของดินเป็นดินร่วน
เหมาะแก่การเพาะปลูก ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทานา ทาไร่ ทาสวนแหล่งน้า
แหล่งน้าที่สาคัญของอาเภอชุมแพคือ ลาน้าเชิญเป็นแม่น้าที่สาคัญที่หล่อเลี้ยงประชากรในอาเภอชุมแพและ
อาเภอใกล้เคียง ชาวอาเภอชุมแพได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ
ให้มีการสร้างเขื่อนกั้นลาน้าเชิญที่บ้านดอนหัน
ซึ่งเป็นเขื่อนที่เอื้อประโยชน์ให้ชาวชุมแพด้านการเกษตรและสาธารณูปโภค ป่าไม้
อาเภอชุมแพมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติดงลานที่ให้ประโยชน์แก่ประชาชนที่อยู่ใกล้เคียงทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม สัตว์ ประชากรในอาเภอนิยมเลี้ยงสุกร โค กระบือ ไว้บริโภคและจาหน่าย
บางครอบครัวยังได้ยึดเป็นอาชีพหลัก
6
2.3. ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ
การปกครองส่วนภูมิภาคของอาเภอชุมแพแบ่งเขตการปกครองย่อยเป็น 12ตาบล 143หมู่บ้าน ได้แก่
1. ชุมแพ (Chum Phae) 18 หมู่บ้าน
2. โนนหัน (NonHan) 10 หมู่บ้าน
3. นาหนองทุ่ม (Na Nong Thum) 13 หมู่บ้าน
4. โนนอุดม (NonUdom) 11 หมู่บ้าน
5. ขัวเรียง (Khua Riang) 12 หมู่บ้าน
6. หนองไผ่ (Nong Phai) 19 หมู่บ้าน
7. ไชยสอ (Chai So) 10 หมู่บ้าน
8. วังหินลาด (Wang Hin Lat) 12 หมู่บ้าน
9. นาเพียง (Na Phiang) 14 หมู่บ้าน
10. หนองเขียด (Nong Khiat) 10 หมู่บ้าน
11. หนองเสาเล้า (Nong SaoLao) 10 หมู่บ้าน
12. โนนสะอาด (NonSa-at) 9 หมู่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ท้องที่อาเภอชุมแพประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 15 แห่ง ได้แก่
 เทศบาลเมืองชุมแพ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลชุมแพ บางส่วนของตาบลหนองไผ่
และบางส่วนของตาบลไชยสอ
 เทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลโนนอุดมและบางส่วนของตาบลขัว
เรียง
 เทศบาลตาบลโนนหัน ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลโนนหันและบางส่วนของตาบลโนนสะอา
ด
 เทศบาลตาบลหนองเสาเล้าครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองเสาเล้าทั้งตาบล
 เทศบาลตาบลหนองไผ่ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองไผ่ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองชุมแพ)
 เทศบาลตาบลนาเพียง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลนาเพียงทั้งตาบล
 เทศบาลตาบลโนนสะอาด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนสะอาด (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโนนหัน)
 องค์การบริหารส่วนตาบลชุมแพ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลชุมแพ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองชุมแพ)
 องค์การบริหารส่วนตาบลโนนหัน ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนหัน
(เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโนนหัน)
7
 องค์การบริหารส่วนตาบลนาหนองทุ่ม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลนาหนองทุ่มทั้งตาบล
 องค์การบริหารส่วนตาบลโนนอุดม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนอุดม
(เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์)
 องค์การบริหารส่วนตาบลขัวเรียง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลขัวเรียง
(เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์)
 องค์การบริหารส่วนตาบลไชยสอ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลไชยสอ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองชุมแพ)
 องค์การบริหารส่วนตาบลวังหินลาด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลวังหินลาดทั้งตาบล
 องค์การบริหารส่วนตาบลหนองเขียด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองเขียดทั้งตาบล
ประชากร
อาเภอชุมแพนั้นมีประชากร ทั้งสิ้น 122,685 คน แยกเป็น ชาย61,015 คน หญิง 61,670 คน
มีความหนาแน่นเฉลี่ยต่อพื้นที่ 240.14 คน/ตารางกิโลเมตร แยกเป็นรายตาบล
ลาดับ ตาบล ชาย หญิง รวม จานวนครอบครัว
1 ชุมแพ 3,047 3,128 6,175 1,444
2 โนนหัน 1,774 1,864 3,638 827
3 นาหนองทุ่ม 4,569 4,462 9,031 2,433
4 โนนอุดม 2,067 2,126 4,193 983
5 ขัวเรียง 3,474 3,625 7,099 1,508
6 หนองไผ่ 4,958 4,889 9,847 2,505
7 ไชยสอ 2,199 2,328 4,527 1,207
8 วังหินลาด 4,301 4,229 8,530 1,858
9 นาเพียง 4,263 4,438 8,701 1,982
10 หนองเขียด 3,273 3,331 6,604 1,519
11 หนองเสาเล้า 3,295 3,281 6,576 1,434
12 โนนสะอาด 3,752 2,900 6,652 1,657
นอกเขต เทศบาลเมืองชุมแพ เทศบาลตาบลโนนหัน และเทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์ ประชากร
ชาย 40,972 คน หญิง 40,621 คน รวม 81,573 คน ในเขตเทศบาลเมืองชุมแพ ประชากร ชาย15,606 คน
หญิง 16,203 คน รวม 31,809 คน ในเขตเทศบาลตาบลโนนหัน ประชากร ชาย 2,329 คน หญิง 2,548 คน
รวม 4,877 คน ในเขตเทศบาลโคกสูงสัมพันธ์ ประชากร ชาย 2,108 คน หญิง 2,318 คน รวม 4,426 คน
8
2.4. ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ
รายได้ประชากร/หัว/ปี โดยแยกเป็นรายตาบล ดังนี้
ลาดับ ตาบล รายได้เฉลี่ย/คน/ปี(บาท)
1 วังหินลาด 32,237.36
2 นาเพียง 33,572.55
3 หนองเสาเล้า 34,827.27
4 โนนหัน 35,782.97
1 นาหนองทุ่ม 38,231.60
6 โนนสะอาด 39,142.85
7 หนองไผ่ 40,717.16
8 ขัวเรียง 41,356.02
9 ชุมแพ 41,828.29
10 โนนอุดม 42,580.29
11 หนองเขียด 43,189.00
12 ไชยสอ 57,315.65
รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของคนในพื้นที่อาเภอชุมแพ 40,399.35 บาท
สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของประชาชน
 ขนมจีน
ขนมจีน ทาจากข้าวจ้าว กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลไชยสอ
 ขนมจีนอบแห้ง
ขนมจีนอบแห้ง(สินค้าพื้นเมือง) กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลชุมแพ
 ข้าวหลาม
ผลิตภัณฑ์ข้าวหลาม รสชาติอร่อย สะอาด ถูกหลักอนามัย ไม่ใส่สารกันบูด
เป็นการนาข้าวสารและส่วนประกอบการทาข้าวหลามมาผสมตามสูตรและขั้นตอน หวาน มัน อร่อย
กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอ
ชุมแพ โดยเฉพาะตาบลหนองไผ่
 ตะกร้าไม้ไผ่
แข็งแรง ทนทาน รูปทรงสวยงาม กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลนาเพียง
9
 น้าผลไม้พร้อมดื่ม
น้าฝรั่ง น้ากระเจี๊ยบ ไวน์กระเจี๊ยบ ข้าวหมาก มะม่วงดอง มะม่วงแช่อิ่ม กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอ
ชุมแพ โดยเฉพาะตาบลนาหนองทุ่ม
 ผลิตภัณฑ์จากกระบอกไม้ไผ่
ทาจากไม้ไผ่นามาดัดแปลงเป็นแก้วน้า เหยือกน้า กระปุกออมสิน ที่เสียบปากกา แจกัน กาน้า
กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลโนนสะอาด
 ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่(สินค้าพื้นเมือง) กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลโนนสะอาด
 ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่,ต้นหมาก
ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่, ต้นหมาก (สินค้าพื้นเมือง) กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลชุมแพ
 ผ้าทอด้วยกี่กระตุก
มีหลายประเภท มีทั้ง ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าซิ่น ผ้าขาวม้า ผ้าขิด ผ้าลายยกดอก ฯลฯ มีความปราณีต
สวยงามกระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลโนนหัน
 ผ้าฝ้ ายสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์จากฝ้ายมาทอเป็นผ้าฝ้ ายสีธรรมชาติ กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลชุมแพ
 ผ้ามัดหมี่ธรรมชาติ
ผ้ามัดหมี่ย้อมสีธรรมชาติ, ผ้าพื้นย้อมสีธรรมชาติ, ผ้าลายสก๊อตย้อมสีธรรมชาติ
กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลหนองเสาเล้า
 สุ่มไก่
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไม้ไผ่จักสานทั้งหมด มีความแข็งแรง ใช้งานได้นาน กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ
โดยเฉพาะตาบลวังหินลาด
สถานที่ท่องเที่ยว
 เมืองโบราณโนนเมือง
ตั้งอยู่บ้านโนนเมือง หมู่ที่ 4ตาบลชุมแพ โนนเมืองเป็นเมืองโบราณที่มีคูน้าคันดินล้อมรอบ 2 ชั้น
เมืองชั้นในรูปทรงค่อนข้างกลม มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 420 เมตร เมืองชั้นนอกทรงยาวรี
มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 600เมตร หรือมีเนื้อที่ประมาณ 216 ไร่เป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี
(พุทธศตวรรษที่ 12- 16) ในปี พ.ศ. 2513 หน่วยศิลปากรที่ 7 ได้สารวจพบเป็นครั้งแรก
ต่อมาได้ดาเนินการขุดตรวจ ขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์ (อายุประมาณ 2,500-2,000 ปี) ภาชนะดินเผา
เครื่องประดับ เครื่องใช้กระดูกสัตว์ จานวน 13หลุม จึงได้ทาหลังคาคลุมไว้
เพื่อแสดงในลักษณะพิพิธภัณฑ์สถานกลางแจ้ง
10
 ผาพระนอน (พระปางไสยาสน์)
ตั้งอยู่บนยอดเขาภูเวียง บ้านโนนสะอาดหมู่ที่ 8 ตาบลหนองไผ่
เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ศิลปสมัยทวาราวดีที่งดงาม สลักอยู่บนหน้าผายาวกว่า 3.75 เมตร
หันพระเศียรไปทางทิศตะวันตก และหันพระพักตร์ไปทางทิศใต้
นอนตะแคงพระเศียรหนุนแนบกับลาแขนขวา
แขนซ้ายทอดไปตามลาพระองค์เป็นท่านอนแบบเก่าที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย
อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอชุมแพไปตามถนน มลิวรรณ (ชุมแพ - ขอนแก่น) แยกซ้ายบ้านโนนสะอาด -
วัดผาพระนอนพัฒนาราม ประมาณ 6- 7 กิโลเมตร (รถยนต์ถึง)
เดินเท้าขึ้นเขาภูเวียงต่อระยะเดินเท้าประมาณ 2-3 กิโลเมตร ความสูงจากพื้นดินประมาณ 450เมตร
ใช้เวลาเดินเท้าประมาณ 1.5 - 2ชั่วโมง
บนผาพระนอนจะมองเห็นทิวทัศนียภาพเมืองชุมแพที่สวยงามมาก
จะมีงานนมัสการในวันตรุษสงกรานต์ทุกปี
 อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน
ที่ตั้งที่ทาการอุทยานบ้านซาผักหนาม หมู่ที่ 12 ตาบลนาหนองทุ่ม " อุทยานแห่งชาติภูผาม่านมี
อาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดขอนแก่น และจังหวัดเลย เป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 72
(เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2543) มีเนื้อที่ประมาณ 350กม.2 หรือประมาณ 218,750 ไร่
มีจุดเด่นทางธรรมชาติหลายแห่งโดยเฉพาะถ้าและน้าตก เป็นแหล่งต้นกาเนิด “ลาน้าพอง " อีกด้วย
 ถ้าปู่หลุบ
อยู่ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201(ชุมแพ - เลย) ห่างจากอาเภอชุมแพประมาณ 35 กิโลเมตร
ภายในถ้ามีหินงอกหินย้อยเป็นห้อง ๆนับได้ 5 ห้อง มีเกล็ดแวววาว ระยิบระยับสวยงาม
และมีน้าขังอยู่ตลอดปี ด้านหน้าถ้ามีศาลปู่หลุบเป็นที่เคารพสักการบูชาของผู้คนที่ผ่านไป –มา
 วนอุทยานถ้าผาพวง
อยู่ในเขตตาบลนาหนองทุ่ม จากอาเภอชุมแพไปตามถนนชุมแพ - เลย ประมาณ 30กิโลเมตร
มีทางแยกขวามือเข้าสู่ถ้าอีกประมาณ 5 กิโลเมตร (เป็นทางดินและทางเดินป่า) เดิมเรียกว่า “ถ้าร้อยพวง
"เป็นถ้าบนภูเขาที่มีขนาดใหญ่ ภายในถ้ามีเสาหินเกิดจากหินย้อยลงมาลักษณะเป็นพวง
จากเพดานถ้าดูสวยและแปลกตา ปากถ้าอยู่สูงและทะลุออกไปบนยอดเขาสามารถมองเห็นทัศนียภาพรอบๆ
ได้สวยงามยิ่ง
 ผานกเค้า
เป็นภูเขาสูงตระหง่านอยู่ริมน้าพองในเขตอาเภอกระดึง จังหวัดเลย อยู่ห่างจากอาเภอชุมแพ ประมาณ
40 กิโลเมตร ตามถนนชุมแพ - เลย ลักษณะของผานกเค้าเป็นภูเขาหินสีดา
บางส่วนกะเทาะออกเป็นเนื้อหินสีส้ม
มองเห็นลักษณะคล้ายนกเค้าที่กางปีกออกสองข้างถือเป็นสัญลักษณ์ที่สาคัญประการหนึ่งของอาเภอภูกระดึง
11
2.5.คาขวัญและตราประจาเทศบาลเมืองชุมแพ
คาขวัญประจาอาเภอชุมแพ
หลักเมืองเก่าชุมแพ แลผาพระนอนล้าค่า อารยธรรมโนนเมือง ลือเลื่องเศรษฐกิจติดตา ผานกเค้า
เข้าชมถ้าผาพวง บวงสรวงปู่หลุบ
ตราประจาเทศบาลเมืองชุมแพ
ที่มาของตราประจาเทศบาลเมืองชุมแพ
เดิมสุขาภิบาลชุมแพได้ตราประจาประกอบด้วยสัญญาลักษณ์เป็นเจดีย์ใบโพธิ์
และคลื่นฟองน้าอยู่ภายในวงกลม ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตาบลอาเภอชุมแพขึ้นอีก
เปลี่ยนตราประจาสานักงานเทศบาลตามที่กรมศิลปกรออกแบบให้ตราใหม่มีลักษณ์เป็น
วงกรมมีสัญญาลักษณ์เป็นรูปเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีประทับ อยู่บน
แพมือขวาถือลูกธนูมือซ้ายถือคันธนูมีนายทหารคนสนิท 2 ชายนั่งถือธงปลายหอกอยู่คนละข้าง
(ประกาศเทศบาลตาบลชุมแพ วันที่ 23 มีนาคม 2530)
12
2.5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กรี กันติยานารา (2556:บทคัดย่อ) เมืองชุมแพมีความเป็นมาอย่างไร ประวัติศาสตร์เมืองชุมแพ
ที่รวบรวมไว้มีสองนัย นัยแรกจากคาบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ นัยที่สองจากพงศาวดารชาติไทย เล่มที่ 1
เรียบเรียงโดย พระเทพธานี และหนังสือตรวจมณฑลอุดรธานี ของพระเจ้าน้องยาเธอกรมพระยาดารงราชา -
นุภาพความนัยแรก ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่ได้บอกเล่าต่อกันมา หลวงพ่อหงษ์ (ต้นตระกูลหงษ์ชุมแพ) เป็นคนอาเภอ
ภูเวียง ก่อนจะมีภรรยาและบุตร เคยบวชเรียนมาแล้ว 10 พรรษา จนได้รับยศพระครู
แล้วลาสิกขามาแต่งงานจนมีบุตร 3 คน คือ 1.นายโฮม (ต้นตระกูลโฮมหงษ์) 2.นายโชค
หงษ์ชุมแพ 3.นายหลอด หงษ์ชุมแพ ต่อมาภรรยานายหงษ์ ถึงแก่กรรม นายหงษ์
จึงกลับมาบวชใหม่อีกครั้งหนึ่ง หลวงพ่อพระครูหงษ์ จึงได้ชักชวนพี่น้องจานวน 8ครอบครัว
อพยพจากอาเภอภูเวียง มุ่งหน้าไปทางทิศใต้ของ ฮ่องบอง ซึ่งเป็นทางออกจากภูเวียงด้วยกระบวนเกวียน
เดินทางไปเขตอาเภอผักปัง(ภูเขียว) จังหวัดชัยภูมิ ครั้งสุดท้ายหยุดพักเกวียนที่บริเวณบ้านกุดจอกน้อย
ใกล้ๆท่า ตา-กลอย พักอยู่ประมาณ 3-4วัน จึงตกลงแบ่งครอบครัวออกเป็น 2กลุ่ม กลุ่มละ 4 ครอบครัว
กลุ่มแรกไปตั้งหลักแหล่งอยู่กุดแห่(หรือบ้านแห่ในปัจจุบัน) อีกกลุ่มหนึ่งหลวงพ่อพระครูหงษ์ เป็นหัวหน้า
ไปตั้งหลักแหล่งอยู่กุดธาตุ ซึ่งเป็นหมู่บ้านร้างอยู่ริมห้วย ชาวบ้านเรียก "กุด" เหตุที่เรียก "กุด"
เพราะห้วยน้าล้น บ้่านกุดธาตุมีวัดร้างชื่อ "วัดโพธิ์ธาตุ" สร้างเมื่อครั้งใดไม่ปรากฏ ปัจจุบันต้นโพธิ์ยังมีอยู่
แต่พระธาตุได้ปรักหักพังเหลือแต่ซาก เมื่อเมื่อหลวงพ่อหงษ์ ตั้งบ้านใหม่ๆ ก็เรียกชื่อบ้านว่า "บ้านกุดธาตุ"
ที่กุดแห่งนี้มี ปู ปลา อุดมสมบูรณ์ แม้กุดธาตุจะล้นและลึกมาก
ชาวบ้านลงแหจับปลาไม่ได้ จึงทาแพไม้ไผ่กว้างยาวพอประมาณ เพื่อยืนบนแพทาการหว่านแห
ทาให้ทอดแหได้สะดวก และเป็นพาหนะแทนเรือ
บางครั้งพี้น้องชาวบ้านใกล้เคียงได้นัดกันมาชุมนุมต่างหมู่บ้านต่างคณะ และนาแพมาด้วยเพื่อจับปลา
โดยชวนกันไล่ต้อนปลา จึงเรียกว่า "ชุมแพ" ต่อมานานๆเข้า จึงเรียกเป็น
"บ้านชุมแพ" และใช้ชื่อนี้จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน "กุดธาตุ" หรือ "กุดชุมแพ" อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
ของหมู่บ้านชุมแพ แต่ตื้นเขินมากแล้วไม่ถึงกับแห้งขอด สภาพยังมีน้าขังสามารถใช้สอยได้ตลอดปี
ตามนัยที่ สอง ประวัติเมืองชุมแพ อ้างอิงจากหนังสือพงศาวดารชาติไทย เล่ม 1ซึ่งเรียบเรียงโดย
พระเทพธานี และจากหนังสือตรวจมณฑลอุดรธานี ของพระเจ้าน้องยาเธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ
ความว่า ในสมัยรัชการที่ 5 มีกบฏฮ่อตามหัวเมือง จึงโปรดให้สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ
ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้บังคับบัญชาทหารมหาดเล็ก
พร้อมด้วยทหารจานวนหนึ่งเดินทางล่วงหน้ามารวบรวมทหารเลขสัก (คือทหารเกณฑ์
ที่ทาการสักเลขด้วยหมึกสีดาที่ท้องแขน ว่า ท.บ. , พ.ศ.) จากสระบุรี นครราชสีมา ร้อยเอ็ด
เพื่อเตรียมจัดหาพาหนะ เช่นช้าง , ม้า , เรือ , แพ
เพื่อสนับสนุนทัพหลวงที่จะเดินทางไปปราบฮ่อ จึงให้เดินทางไปทาแพไม้ไผ่ที่หัวภูวง(ภูเวียง)
แล้วนามารวบรวมไว้ที่บ้านกุดธาตุ(ชุมแพ) ซึ่งเป็นบ้านร้าง เมื่อปราบฮ่อได้สาเร็จ
จึงปลดปล่อยทหารเลขสักที่เกณฑ์มาจากหัวเมืองต่างๆให้เป็นอิสระ และปูนบาเหน็จเป็นเงินรางวัล
เพื่อนาไปสร้างตัวแล้ประกอบอาชีพต่อไป ทหารเลขสักจานวนหนึ่งไม่กลับภูมิลาเนา
ได้เลือกเอาที่ลุ่มริมห้วยกุดธาตุ (ที่รวมแพครั้งแรก) ตั้งหลักฐานบ้านช่องมากกว่าที่อื่นๆ
บ้านนี้จึงได้ชื่อบ้านว่า "บ้านชุมแพ"
13
ศิริญากรณ์ (2556: บทคัดย่อ) ประมาณปี พ.ศ. 2400 พระครูหงส์ได้ชักชวนญาติพี่น้อง 8
ครอบครัวอพยพออกจากเมืองภูเวียง ครั้งสุดท้ายได้หยุดพักเกวียนที่บ้านกุดจอกน้อย แล้วแบ่งครอบครัวออกเป็น
2 กลุ่ม กลุ่มแรกเลือกตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้กุดแห่น้อย บ้านแห่ส่วนกลุ่มที่นาโดยพระครูหงส์มีบุตร 3 คน คือ นายโฮม
(ต้นตระกูลโฮมหงส์) นายโชคและนายหลอด (ต้นตระกูลหงส์ชุมแพ)
ได้เดินทางต่อมาและเลือกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านร้าง
มีวัดร้างและกุดแห่งหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก วัดร้างนี้มีธาตุและต้นโพธิ์จึงตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์ธาตุ
พร้อมกับตั้งชื่อว่าบ้านกุดธาตุ กุดธาตุมีน้าลึกมาก มีจระเข้ และป่าทึบทาให้จับปลาได้ยาก ประกอบกับรอบ ๆ
กุดธาตุมีกอไผ่ขึ้นหนาแน่น ชาวบ้านจึงตัดไม้ไผ่มามัดเป็นแพใช้ยืนหว่านแหแล้วตีวงล้อมเข้าหากัน
นานเข้าจึงเรียกว่า "กุดชุมแพ" และ "บ้านชุมแพ"
เดิมสุขาภิบาลชุมแพได้ตราประจาประกอบด้วยสัญญาลักษณ์เป็นเจดีย์ใบโพธิ์ และคลื่นฟองน้าอยู่ภายในวงกลม
ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตาบลอาเภอชุมแพขึ้นอีก
เปลี่ยนตราประจาสานักงานเทศบาลตามที่กรมศิลปกรออกแบบให้ตราใหม่มีลักษณ์เป็น
วงกรมมีสัญญาลักษณ์เป็นรูปเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีประทับ อยู่บน
แพมือขวาถือลูกธนูมือซ้ายถือคันธนูมีนายทหารคนสนิท 2 ชายนั่งถือธงปลายหอกอยู่คนละข้าง
(ประกาศเทศบาลตาบลชุมแพ วันที่ 23 มีนาคม 2530) สมัยรัชกาลที่ 5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้จัดทัพไปปราบฮ่อ ในเมืองพวน เมืองหัวพันทั้งห้าทั้งหกดังนี้ 1. พระเจ้าน้องยาเธอ
กรมหมื่นประจักรศิบปาคมเป็นแม่ทัพฝ่ายใต้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองหนองคาย 2. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
(เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี) เป็นแม่ทัพฝ่ายเหนือยกกองทัพขึ้นไปทางหลวงพระบาง โดยให้ยกทัพไปปราบฮ่อ
เมื่อวันอังคาร แรม 11ค่า เดือน 11 พ.ศ. 2428(ยงศิลป และโขมพัตร เรืองศุข 2540: 180)
จากประวัติการยกทัพครั้งนี้ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีได้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองพิชัย เมืองน่าน
เมืองหลวงพระบาง เมืองหัวพันทั้งห้าทั้งหก ตลอดจนถึงเมืองสิบสองจุไทย
แสดงว่าไม่ได้ยกกองทัพผ่านบ้านชุมแพเลย บ้านชุมแพตั้งอยู่บนทาเลที่อุดมสมบูรณ์ จงมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น
ๆ แบ่งได้เป็น 2 คุ้มอู่ระหว่าง 3วัด ได้แก่วัดเหนือ (ปัจจุบันเป็นที่ทาการประปา) วัดกลาง (วัดโพธิ์ธาตุ) และวัดใต้
(ปัจจุบันเป็นโรงเรียนบ้านชุมแพ ปีพุทธศักราช 2543 ในระหว่างที่ท้าวอุปชิต มิตตะปิด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2
ได้เกิดเพลิงไม้กอไผ่ริมหนองอีเลิงด้านใต้แล้วลุกลามไหม้บ้านนายคาน หงส์ชุมแพจนถึงด้านทิศเหนือ
ชาวบ้านไม่มีที่อยู่อาศัย จึงอพยพไปอยู่ตามที่นาของตนเอง ตั้งเป็นหมู่บ้านใหม่บ้านหนองไผ (บ้านหนองไผ่ใต้)
และล้านโคกไม้งานในปัจจุบัน ประมาณปี พ.ศ. 2470
เริ่มมีครอบครัวชาวจีนอพยพเข้ามาค้าขายในบริเวณถนนราษฎร์บารุง ทิศเหนือของวัดโพธิ์ธาตุ
การค้าได้ขยายตัวมากขึ้น ปี พ.ศ. 2485 กานันเลี้ยง ดีบุญมี
ได้บริจาคที่ดินเพื่อตัดถนนราษฎร์บารุงให้ยาวขึ้นไปทางทิศเหนือ สร้างศูนย์ราชการและโรงเรียนชุมแพ
นอกจากนี้ยังได้สร้างบ้านเรือนแถวไม้ชั้นเดียวบริเวณตลาดเหนือและตลาดใต้ให้เช่าทาการค้า ต่อมากานันจาก 4
ตาบลของอาเภอภูเวียง ได้แก่ตาบลชุมแพ ตาบลโนนหัน ตาบลขัวเรียง และตาบลสีสุก
(ศรีสุข)ได้ร่วมมือกันยื่นคาร้องต่อกระทรวงมหาดไทยขอตั้งอาเภอชุมแพ พระยาสุนทรพิพิธ
(ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น) ได้มาตรวจที่ ประกอบกับระยะนั้นอาเภอชนบทถูกไฟไหม้ เมื่อวันที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ. 2486 กระทรวงมหาดไทยจึงอนุมัติให้ตั้ง อาเภอชุมแพ
โดยยุบอาเภอชนบทไปเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอบ้านไผ่ วันที่ 1 ก.ค. 2486 กระทรวงมหาดไทย
ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ 132 ลว 1 ก.ค. 2486
ยกฐานะตาบลชุมแพขึ้นเป็นอาเภอชุมแพมีตาบลในเขตปกครอง 4ตาบล คือ ต.ชุมแพ ต.โนนหัน ต.ขัวเรียง
ต.ครีสุขมี นายพิชญ พรมนารถ เป็นนายอาเภอคนแรกปีพุทธศักราช 2499
กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลชุมแพ คืนวันที่ 25ธันวาคม พ.ศ. 2510 เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่
14
บริเวณตลาดใต้ ตลาดสดดีบุญมีและโรงภาพยนตร์ชุมแพปีพุทธศักราช 2510พื้นที่ตาบลนาจาน ศรีสุข และสีชมพู
แยกไปขึ้นอยู่กับอาเภอ สีชมพู ปีพุทธศักราช 2524 แยกตาบลโนนคอมไปตั้งกิ่งอาเภอภูผาม่าน 15ตุลาคม พ.ศ.
2528 สุขาภิบาลชุมแพได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลชุมแพ
จากงานวิจัยสรุปได้ว่า พระครูหงส์ได้ชักชวนญาติพี่น้อง 8 ครอบครัวอพยพออกจากเมืองภูเวียง ประมาณปี
พ.ศ. 2400ได้เดินทางต่อมาและเลือกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านร้าง มีวัดร้างและกุดแห่งหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก
วัดร้างนี้มีธาตุและต้นโพธิ์จึงตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์ธาตุ พร้อมกับตั้งชื่อว่าบ้านกุดธาตุ กุดธาตุมีน้าลึกมาก มีจระเข้
และป่าทึบทาให้จับปลาได้ยาก ประกอบกับรอบ ๆกุดธาตุมีกอไผ่ขึ้นหนาแน่น
ชาวบ้านจึงตัดไม้ไผ่มามัดเป็นแพใช้ยืนหว่านแหแล้วตีวงล้อมเข้าหากัน นานเข้าจึงเรียกว่า "กุดชุมแพ" และ
"บ้านชุมแพ" บ้านชุมแพตั้งอยู่บนทาเลที่อุดมสมบูรณ์ จงมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น ๆ แบ่งได้เป็น 2 คุ้มอู่ระหว่าง
3 วัด ได้แก่วัดเหนือ วัดกลาง และวัดใต้ ประมาณปี พ.ศ. 2470
เริ่มมีครอบครัวชาวจีนอพยพเข้ามาค้าขายในบ้านชุมแพ จนทาให้การค้าได้ขยายตัวมากขึ้น ปี พ.ศ. 2485
กานันเลี้ยง ดีบุญมี ได้บริจาคที่ดินเพื่อตัดถนนราษฎร์บารุงและสร้างสถานที่ราชการต่างๆ ต่อมากานันจาก 4
ตาบลของอาเภอภูเวียง ได้แก่ตาบลชุมแพ ตาบลโนนหัน ตาบลขัวเรียง และตาบลสีสุก
(ศรีสุข)ได้ร่วมมือกันยื่นคาร้องต่อกระทรวงมหาดไทยขอตั้งอาเภอชุมแพ พระยาสุนทรพิพิธ
(ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น) ได้มาตรวจที่ ประกอบกับระยะนั้นอาเภอชนบทถูกไฟไหม้ เมื่อวันที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ. 2486 กระทรวงมหาดไทยจึงอนุมัติให้ตั้ง อาเภอชุมแพ
บทที่ 3
ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา
ในการศึกษาเรื่อง อาเภอชุมแพ คณะผู้จัดทาได้ใช้วัสดุ อุปกรณ์
เครื่องมือหรือโปรแกรมในการศึกษาค้นคว้าและมีขั้นตอนวิธีการศึกษาค้นคว้าดังนี้
3.1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
1.สมุดจดบันทึก
2.คอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
3.โปรแกรมสาหรับจัดพิมพ์รายงานทางวิชาการ เช่น โปรแกรม Microsoft word
4. เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร คือ www.facebook.com
3.2. วิธีการศึกษาค้นคว้า
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจคือ อาเภอชุมแพว่า มีเนื้อหามากน้อยเพียงใด
และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป
3. ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจากการเรียน IS 1(การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้เรื่อง อาเภอชุมแพ
4. จัดทาโครงร่างการเขียนรายงานทางวิชาการ
5. จัดทาโครงร่างต่อครูประจาวิชาเพื่อพิจารณาอนุมัติ
6. ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม
7. นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆตามระยะเวลาที่ครูประจาวิชากาหนดเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
8. ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
9. จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม
10. ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ
11. นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูประจาวิชาเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
12. จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
13. จัดทา Power Point นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
บทที่ 4
ผลการศึกษา
การศึกษา เรื่อง อาเภอชุมแพ ใน รายวิชา การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ ( IS1)
และ ได้รวบรวมข้อมูลและพ ร้อมน าเสน อ ใน รายวิชา การสื่ อสารและการน าเสน อ ( IS2)
ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า ไ ด้ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ข้ อ มู ล จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์ ต่ า ง ๆ
แ ล ะ ไ ด้ ส รุ ป เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ที่ ส า คั ญ ที่ เ ป็ น รู ป เ ล่ ม ข อ ง ร า ย ง า น
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และพัฒนาการต่างๆ ของอาเภอชุมแพ
เพื่อให้นักเรียนนักศึกษาและผู้ที่สนใจ นาเนื้อหาสาระความรู้ที่ได้จากรายงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
ซึ่งมีผลการดาเนินงาน ดังนี้
4.1. ผลการศึกษา
การจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ฉบับนี้
คณะผู้จัดทาได้เริ่มทาการดาเนินงานไปตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3ไว้แล้ว
โดยประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าคือ อาเภอชุมแพ และผลที่ได้จากการศึกษามีดังนี้
อาเภอชุมแพนั้นเริ่มต้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2400 มาแล้วมีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะแก่การตั้งถิ่นที่อยู่อาศัย
พร้อมทั้งทรัพยากรธรรมชาติมากมาย อาเภอชุมแพแบ่งการปกครองออกเป็น 12 ตาบล 143 หมู่บ้าน
เศรษฐกิจของอาเภอชุมแพมีความเจริญรุ่งเรือง
มีสินค้าในท้องถิ่นและสถานที่ท่องเที่ยวมีความสวยงามเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว
คาขวัญอาเภอชุมแพคือ และจากที่เพื่อนๆ ในห้องม.2/1 เพิ่มเติมให้มีดังนี้
อาเภอชุมแพนั้นมีมาตั้งแต่สมัยทวารวดีแล้ว เพราะมีการพบหลักฐานที่สาคัญคือ
โครงกระดูกมนุษย์ที่มีอายุประมาณ 2,500-2,000 ปี มาแล้ว
ซึ่งสอดคล้องหรือตรงกับสมมุติฐานที่ได้ตั้งเอาไว้
4.2. ความรู้ที่ได้
ในการศึกษาเรื่อง อาเภอชุมแพ
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับอาเภอชุมแพซึ่งเนื้อหาสาระและข้อมูล
ต่างๆ ที่ได้จากการสืบค้นจากเว็บไซต์ และหนังสือ นิตยสารต่างๆ คณะผู้จัดทาได้นาเสนอในบทที่ 2 ไว้แล้ว
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะ
รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพฉบับนี้
คณะผู้จัดทาสามารถสรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะต่างๆ ได้ดังนี้
5.1. การดาเนินการศึกษาค้นคว้า
1. วัตถุประสงค์
1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศสาสตร์ความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ
2. ตระหนักถึงความสาคัญของอาเภอชุมแพ ที่มีต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในอาเภอชุมแพ
3. เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพ
4. เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
2. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา
1.สมุดจดบันทึก
2.คอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
3.โปรแกรมสาหรับจัดพิมพ์รายงานทางวิชาการ เช่น โปรแกรม Microsoft word
4. เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร คือ www.facebook.com
5.2. สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ซึ่งมีเนื้อหาสาระสาคัญที่ประกอบไปด้วย
ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ ลักษณะทางกายภาพ
สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอ ชุมแพ
ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ
ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ
ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่จะศึกษาค้นคว้าและผู้ที่มีความสนใจ
โดยคณะผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว
โดยรายงานฉบับนี้ได้รวบรวมข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับอาเภอชุมแพจากหลายๆ เว็บไซต์ จากหนังสือ
นิตยสารต่างๆ และจากเพื่อนๆม.2/1 ที่ได้เสนอแนะและเพิ่มเติมข้อมูล
โดยนามาเรียบเรียงและสรุปไว้ในรายงาน ทาให้เนื้อหามีความกะทัดรัดและง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า
18
5.3. ข้อเสนอแนะ
ในการจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ที่คณะผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้นักเรียน
นักศึกษา ตลอดจนผู้ที่สนใจได้นาเนื้อหาสาระต่างๆ ในรายงานฉบับนี้ ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น
การศึกษาภูมิหลังประวัติศาสตร์เกี่ยวกับอาเภอชุมแพ การเดินทางท่องเที่ยวหรือการศึกษาเกี่ยวกับวิถีชีวิต
วัฒนธรรม ประเพณี และเอกลักษณ์ของอาเภอชุมแพ ซึ่งในการพัฒนาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้
1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.ในปัจจุบันนี้ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารในโลกนั้นได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
ท า ใ ห้ ก า ร สื่ อ ส า ร มี ค ว า ม ส ะ ด ว ก ส บ า ย แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว
ดั ง นั้ น ค ว ร มี ก า ร น า เ นื้ อ ห า ข อ ง ร า ย ง า น ไ ป เ ผ ย แ พ ร่ สู่ โ ล ก อ อ น ไ ล น์
ซึ่งจะทาให้สาธารณะชนได้รับรู้เนื้อหาต่างๆ ในรายงานได้มากยิ่งขึ้น
2. ควรจัดทารายงานในรูปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่เป็นสื่อการเรียนการสอน
ของ นักเรียน นักศึกษา ซึง เป็ น การเพิ่มประสิ ทธิภ าพ และคุณภ าพ ใน การเรี ยน การสอน
ทาให้ผู้เรียนเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น
3. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของรายงานให้หลากหลายให้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
เพื่อนาเนื้อหาต่างๆ ในรายงานไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ได้
2. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนา
1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จึงทาให้การจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง
อาเภอชุมแพ เกิดความล่าช้าตามไปด้วย
2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง จึงทาให้การสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนนักเรียน
เกิดการสะดุดไม่ต่อเนื่อง จึงทาให้การจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องอาเภอชุมแพล่าช้ากว่าที่คาดหวังไว้
3. ข้อมูลที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับอาเภอชุมแพ
มีความคล้ายคลึงกัน ซึ่งทาให้การเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทาได้ยาก
4. ข้อมูลที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาจากเว็บไซต์ต่างๆ บางเว็บไซต์ ก็ขาดแหล่งที่อ้างอิงข้อมูล
ซึ่งทาให้ข้อมูลนั้นขาดความน่าเชื่อถือ และไม่สามารถนามาเป็นเนื้อหาของรายงานได้
19
บรรณานุกรม
www.amphoe.com/menu.php?mid=1&am=50&pv=5
www.hoteldirect.in.th › แหล่งท่องเที่ยว › ขอนแก่น
www.ichumphae.com
www.khonkaen.kapook.com › ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ › จ.ขอนแก่น
www.kk.ru.ac.th/chumpair.htm www.th.wikipedia.org/wiki/อาเภอชุมแพ
www.m-culture.in.th
www.thai.siammap.info/provinces/khon-kaen/maps-of-thailand-1148/
www.thai-tour.com/thai-tour/northeast/khonkaen/data/.../chumpae.html
ภาคผนวก
ประวัติของคณะผู้จัดทา
1.เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ ชั้น ม.2/1 เลขที่38
เกิด.............................................................
บิดาชื่อ............................อายุ...................ปี
มารดาชื่อ........................อายุ...................ปี
เบอร์โทร...................................................
Facebook : farm oppabebo
2.เด็กชายภานุเดช อุดมชั้น ม.2/1 เลขที่24
เกิด.............................................................
บิดาชื่อ............................อายุ...................ปี
มารดาชื่อ........................อายุ...................ปี
เบอร์โทร...................................................
Facebook : Paudet Udom
3.เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์ ชั้น ม.2/1 เลขที่27
เกิด.............................................................
บิดาชื่อ............................อายุ...................ปี
มารดาชื่อ........................อายุ...................ปี
เบอร์โทร...................................................
Facebook : เกียรติพงษ์ กกรัมย์

More Related Content

What's hot

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
maerimwittayakom school
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 

What's hot (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Viewers also liked

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
Doungrat Panyawan
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
Nan Su'p
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889CUPress
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
Nattapakwichan Joysena
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
kruthai40
 
9789740331209
97897403312099789740331209
9789740331209CUPress
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่มตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
thanapat yeekhaday
 

Viewers also liked (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทท 2 (1)
บทท  2 (1)บทท  2 (1)
บทท 2 (1)
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
 
9789740331889
97897403318899789740331889
9789740331889
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
อาหาร Fast food
อาหาร Fast foodอาหาร Fast food
อาหาร Fast food
 
9789740331209
97897403312099789740331209
9789740331209
 
บทนำ (1)
บทนำ (1)บทนำ (1)
บทนำ (1)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่มตัวอย่างรายงานกลุ่ม
ตัวอย่างรายงานกลุ่ม
 

Similar to บทนำ

รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
Nattayaporn Dokbua
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
Is3sharinglove
Is3sharingloveIs3sharinglove
Is3sharinglove
kessara61977
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
peter dontoom
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานSunrise Beach
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานDuonghthai Thaigun
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานDuonghthai Thaigun
 
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
Ict Krutao
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
Thidarat Termphon
 
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54Duangnapa Inyayot
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3Wichai Likitponrak
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
reaweewan
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัส
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัสฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัส
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัส
wannaporn kunakornsutipun
 
รายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdf
รายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdfรายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdf
รายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdf
Kru Ice
 

Similar to บทนำ (20)

บทนำ (1)
บทนำ (1)บทนำ (1)
บทนำ (1)
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Is3sharinglove
Is3sharingloveIs3sharinglove
Is3sharinglove
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
สารสนเทศโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ 2559
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัส
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัสฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัส
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน จัส
 
รายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdf
รายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdfรายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdf
รายงาน กตปน. สำหรับกรรมการ 66 (2) ส่งเขต.pdf
 

บทนำ

  • 1. รายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่อง อาเภอชุมแพ (AMPER CHUMPHAE) รายวิชา รายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) รหัสวิชา IS22202 จัดทาโดย 1. เด็กชายภานุเดช อุดม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 เลขที่ 24 2. เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 เลขที่ 27 3. เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 เลขที่ 38 เสนอโดย คุณครูอุไร ทองดี ภาคเรียนที่2ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอนแก่น เขต 5 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ขอนแก่น เขต 25 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาและสร้าง องค์ความรู้ (IS1)และรายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) จัดทาขึ้นมาเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องราวและประวัติความเป็นมาต่างๆของอาเภอชุมแพ รวมทั้งข้อมูลที่สาคัญอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้า และนาความรู้ที่ได้จากรายงานฉบับนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจ คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ฉบับนี้ จะมีประโยชน์ในด้านต่างๆและเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ที่ให้นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับอาเภอชุมแพไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ เด็กชายภานุเดช อุดม เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ (ก) กิตติกรรมประกาศ (ข) บทที่ 1 บทนา - บทนา 1 - วัตถุประสงค์ 1 - ประเด็นปัญหาและสมมุติฐาน 1 - ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2 - ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ 3 - ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอชุมแพ 5 - ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ 6 - ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ 8 - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 11 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า - วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 14 - วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า 14 บทที่ 4 ผลการศึกษา - ผลการศึกษา 15 - ความรู้ที่ได้ 15
  • 4. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะ - การดาเนินการศึกษาค้นคว้า 16 - สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า 16 - ข้อเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก - เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) - ประวัติคณะผู้จัดทา
  • 5. (ก) ชื่อเรื่องการศึกษาค้นคว้า อาเภอชุมแพ (AMPER CHUMPHAE) ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้า เด็กชาย วุฒิไกร ใจซื่อ เด็กชาย ภานุเดช อุดม เด็กชาย เกียรติพงษ์ กกรัมย์ คุณครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า คุณครู อุไร ทองดี ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียน โรงเรียน ชุมแพศึกษา ปีการศึกษาที่ค้นคว้า 2556 บทคัดย่อ ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องอาเภอชุมแพ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กและเยาวชนหรือประชาชนทั่วไปได้ความรู้เกี่ยวกับอาเภอชุมแพ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ตั้งประเด็นปัญหาว่า อาเภอชุมแพนั้นมีที่มาอย่างไร โดยสมมุติฐานคือ อาเภอชุมแพมีมานานแล้ว ซึ่งจากการดาเนินการศึกษาค้นคว้า โดยสืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ หนังสือนิตยสาร ซึ่งผลการศึกษาและวิเคราะห์จึงสรุปได้ว่าอาเภอชุมแพนั้นมีประวัติมายาวนานหลายชั่วอายุคน มีความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ในยุคอดีตกาล มีอายธรรมโบราณหลายพันปี มีวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่มีความสงบสุขเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งตรงกับสมมุติฐานที่ได้ตั้งเอาไว้
  • 6. (ข) กิตติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้(IS1) เรื่อง อาเภอชุมแพ ได้รวบรวมข้อมูลเสร็จสมบูรณ์พร้อมนาเสนอข้อมูลในการสื่อสารและนาเสนอ (IS2) ในรูปแบบรายงานฉบับสาเร็จสมบูรณ์ ซึ่งรายงานดังกล่าวได้เสร็จสมบูรณ์แล้วโดยได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ท่านแรกคือ คุณครู อุไร ทองดี ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้สมบูรณ์ ขอขอบคุณเพื่อนๆ ในห้อง ม.2/1 ทุกคน ที่ได้เสนอข้อแนะนาในเรื่องของข้อมูลที่ได้ค้นคว้ามาและคาวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ ซึ่งทาให้การเขียนรายงานค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้สมบูรณ์ ขอขอบคุณครูทุกท่านในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่ได้ให้คาแนะนาและได้ให้ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาเภอชุมแพ ซึ่งช่วยในการจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้ จนสามารถนาข้อมูลที่ได้ไปนาเสนอในการสื่อสารและนาเสนอ (IS2) และขอขอบพระคุณบิดามารดา ที่ให้กาลังใจอีกทั้งช่วยเหลือสนับสนุนทุนทรัพย์ ทาให้รายงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทา เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ เด็กชายภานุเดช อุดม เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์
  • 7. บทที่ 1 บทนา แนวคิด ที่มาและความสาคัญ อาเภอชุมแพนั้นมีประวัติมายาวนานหลายชั่วอายุคน มีความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ในยุคอดีตกาล มีอายธรรมโบราณหลายพันปี มีวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่มีความสงบสุขเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันนี้ได้มีเทคโนโลยีต่างๆ ที่ทันสมัย เข้ามามีบทบาทที่สาคัญในการพัฒนาทางด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ ซึ่งทาให้อาเภอชุมแพ เป็นศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคตะวันตกของจังหวัดขอนแก่น ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศสาสตร์ความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ โดยให้ผู้อ่านได้ตระหนักถึงความสาคัญของอาเภอชุมแพ ที่มีต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในอาเภอชุมแพ และให้ผู้อ่านได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพอย่างละเอียดมากขึ้น เพื่อให้ผู้อ่านได้ นาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ดังนั้นคณะผู้จัดทา จึงได้ศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ และได้จัดทารายงานเพื่อให้ผู้อ่านนาความรู้ที่ได้จากรายงานฉบับนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจสืบไป 1.1. วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศสาสตร์ความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ 2. ตระหนักถึงความสาคัญของอาเภอชุมแพ ที่มีต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในอาเภอชุมแพ 3. เพื่อเผยแพร่ให้คนในท้องถิ่นได้รับรู้ เพื่อตระหนักถึงความสาคัญและมีการอนุรักษ์ชุมชนในท้องถิ่นต่อไป 4. เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพอย่างละเอียดมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
  • 8. 1.2.ประเด็นปัญหาและสมมุติฐาน ประเด็นปัญหา อาเภอชุมแพมีที่มาอย่างไร สมมุติฐาน อาเภอชุมแพน่าจะมีมายาวนานแล้ว 2 1.3. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ด้านเนื้อหาสาระ - ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของอาเภอชุมแพว่ามีความเป็นมาอย่างไรได้บ้าง - ศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาเภอชุมแพ ด้านสถานที่ - โรงเรียนชุมแพศึกษาโดยศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต - บ้านของคณะผู้จัดทา โดยศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต หนังสือ และนิตยสารต่างๆ ด้านระยะเวลา - ระยะเวลาในการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ตั้งแต่วันที่ 22 ตุลาคม 2556 –17 กุมภาพันธ์ 2557 1.4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดประโยชน์ต่างๆ กับประชาชนทั่วไปที่ได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพ 2. เกิดประโยชน์ในด้านการศึกษา หรือเด็กและเยาวชนได้รับรู้เพื่อทาให้ได้ตระหนักถึงความเป็นมาของอาเภอชุมแพ 3. เกิดความรักบ้านเกิดต่อประชาชนและอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีของอาเภอชุมแพสืบไป
  • 9. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเรื่อง อาเภอชุมแพ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับอาเภอชุมแพซึ่งคณะผู้จัดทาจะนาเสนอ ข้อมูลดังนี้ 2.1. ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ 2.2. ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอชุมแพ 2.3. ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ 2.4. ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ 2.5. คาขวัญ สัญลักษณ์ และข้อมูลอื่นๆ ของอาเภอชุมแพ 2.6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1. ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ (ศิริญากรณ์, 2556:บทคัดย่อ) ประมาณปี พ.ศ. 2400 พระครูหงส์ได้ชักชวนญาติพี่น้อง 8 ครอบครัวอพยพออกจากเมืองภูเวียง ครั้งสุดท้ายได้หยุดพักเกวียนที่บ้านกุดจอกน้อย แล้วแบ่งครอบครัวออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเลือกตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้กุดแห่น้อย บ้านแห่ ส่วนกลุ่มที่นาโดยพระครูหงส์มีบุตร 3 คน คือ นายโฮม (ต้นตระกูลโฮมหงส์) นายโชค และนายหลอด (ต้นตระกูลหงส์ชุมแพ) ได้เดินทางต่อมาและเลือกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านร้าง มีวัดร้างและกุดแห่งหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก วัดร้างนี้มีธาตุและต้นโพธิ์จึงตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์ธาตุ พร้อมกับตั้งชื่อว่าบ้านกุดธาตุ กุดธาตุมีน้าลึกมาก มีจระเข้ และป่าทึบทาให้จับปลาได้ยาก ประกอบกับรอบ ๆกุดธาตุมีกอไผ่ขึ้นหนาแน่น ชาวบ้านจึงตัดไม้ไผ่มามัดเป็นแพใช้ยืนหว่านแหแล้วตีวงล้อมเข้าหากัน นานเข้าจึงเรียกว่า "กุดชุมแพ" และ "บ้านชุมแพ" เดิมสุขาภิบาลชุมแพได้ตราประจาประกอบด้วยสัญญาลักษณ์เป็นเจดีย์ใบโพธิ์
  • 10. และคลื่นฟองน้าอยู่ภายในวงกลม ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตาบลอาเภอชุมแพขึ้นอีก เปลี่ยนตราประจาสานักงานเทศบาลตามที่กรมศิลปกรออกแบบให้ตราใหม่มีลักษณ์เป็น วงกรมมีสัญญาลักษณ์เป็นรูปเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีประทับ อยู่บน แพมือขวาถือลูกธนูมือซ้ายถือคันธนูมีนายทหารคนสนิท 2 ชายนั่งถือธงปลายหอกอยู่คนละข้าง (ประกาศเทศบาลตาบลชุมแพ วันที่ 23 มีนาคม 2530) สมัยรัชกาลที่ 5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดทัพไปปราบฮ่อ ในเมืองพวน เมืองหัวพันทั้งห้าทั้งหกดังนี้ 1. พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักรศิบปาคมเป็นแม่ทัพฝ่ายใต้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองหนองคาย 2. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ (เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี) เป็นแม่ทัพฝ่ายเหนือยกกองทัพขึ้นไปทางหลวงพระบาง โดยให้ยกทัพไปปราบฮ่อ เมื่อวันอังคาร แรม 11ค่า เดือน 11 พ.ศ. 2428(ยงศิลป และโขมพัตร เรืองศุข 2540: 180) จากประวัติการยกทัพครั้งนี้ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีได้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองพิชัย เมืองน่าน เมืองหลวงพระบาง เมืองหัว 4 พันทั้งห้าทั้งหก ตลอดจนถึงเมืองสิบสองจุไทย แสดงว่าไม่ได้ยกกองทัพผ่านบ้านชุมแพเลย บ้านชุมแพตั้งอยู่บนทาเลที่อุดมสมบูรณ์ จงมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น ๆ แบ่งได้เป็น 2คุ้มอู่ระหว่าง 3วัด ได้แก่ วัดเหนือ (ปัจจุบันเป็นที่ทาการประปา) วัดกลาง (วัดโพธิ์ธาตุ) และวัดใต้ (ปัจจุบันเป็นโรงเรียนบ้านชุมแพ) ปีพุทธศักราช 2543 ในระหว่างที่ท้าวอุปชิต มิตตะปิด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2ได้เกิดเพลิงไม้กอไผ่ริมหนองอีเลิงด้านใต้แล้วลุกลามไหม้บ้านนายคาน หงส์ชุมแพจนถึงด้านทิศเหนือ ชาวบ้านไม่มีที่อยู่อาศัย จึงอพยพไปอยู่ตามที่นาของตนเอง ตั้งเป็นหมู่บ้านใหม่บ้านหนองไผ่ (บ้านหนองไผ่ใต้) และบ้านโคกไม้งานในปัจจุบัน ประมาณปี พ.ศ. 2470 เริ่มมีครอบครัวชาวจีนอพยพเข้ามาค้าขายในบริเวณถนนราษฎร์บารุง ทิศเหนือของวัดโพธิ์ธาตุ การค้าได้ขยายตัวมากขึ้น ปี พ.ศ. 2485 กานันเลี้ยง ดีบุญมี ได้บริจาคที่ดินเพื่อตัดถนนราษฎร์บารุงให้ยาวขึ้นไปทางทิศเหนือ สร้างศูนย์ราชการและโรงเรียนชุมแพ นอกจากนี้ยังได้สร้างบ้านเรือนแถวไม้ชั้นเดียวบริเวณตลาดเหนือและตลาดใต้ให้เช่าทาการค้า ต่อมา กานันจาก 4ตาบลของอาเภอภูเวียง ได้แก่ตาบลชุมแพ ตาบลโนนหัน ตาบลขัวเรียง และตาบลสีสุก (ศรีสุข) ได้ร่วมมือกันยื่นคาร้องต่อกระทรวงมหาดไทยขอตั้งอาเภอชุมแพ พระยาสุนทรพิพิธ (ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น) ได้มาตรวจที่ ประกอบกับระยะนั้นอาเภอชนบทถูกไฟไหม้ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 กระทรวงมหาดไทยจึงอนุมัติให้ตั้งอาเภอชุมแพโดยยุบอาเภอชนบทไปเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอบ้านไ ผ่
  • 11. วันที่ 1 ก.ค. 2486กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ 132 ลว 1ก.ค. 2486 ยกฐานะตาบลชุมแพขึ้นเป็นอาเภอชุมแพมีตาบลในเขตปกครอง 4ตาบล คือ ต.ชุมแพ ต.โนนหัน ต.ขัวเรียง ต.ครีสุขมี นายพิชญ พรมนารถ เป็นนายอาเภอคนแรก ปีพุทธศักราช 2499กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลชุมแพ คืนวันที่ 25ธันวาคม พ.ศ. 2510เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่บริเวณตลาดใต้ ตลาดสดดีบุญมีและโรงภาพยนตร์ชุมแพ ปีพุทธศักราช 2510พื้นที่ตาบลนาจาน ศรีสุข และสีชมพู แยกไปขึ้นอยู่กับอาเภอ สีชมพู ปีพุทธศักราช 2524แยกตาบลโนนคอมไปตั้งกิ่งอาเภอภูผาม่าน 15 ตุลาคม พ.ศ. 2528 สุขาภิบาลชุมแพได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลชุมแพ 5 2.2. ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอชุมแพ  ลักษณะภูมิประเทศ อาเภอชุมแพมีเนื้อที่ทั้งหมด 318,750 ไร่พื้นที่โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบสูง ทิศเหนือมีภูเขาสูงและที่ราบสูงลาดเอียงไปทางทิศใต้ บริเวณทางทิศใต้มีลาน้าเชิญเป็นเส้นกั้นอาณาเขตระหว่างอาเภอชุมแพกับอาเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ พื้นที่ทาง ทิศเหนือบางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติภูเวียง พื้นที่ทางทิศตะวันตกบางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติด งลาน รวมพื้นที่ป่าสงวนในเขตอาเภอชุมแพทั้งหมด 90,250 ไร่ ลักษณะภูมิอากาศ  ลักษณะภูมิอากาศของอาเภอชุมแพ แบ่งออกเป็น 3ฤดู คือ 1. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 30.13 องศาเซลเซียส 2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ปริมาณน้าฝนวัดได้ 845 มิลลิเมตร 3. ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23.48 องศาเซลเซียส
  • 12. แม้ฤดูฝนจะมีระยะเวลา 6 เดือนดังกล่าว แต่โดยทั่วไปจะมีสภาวะฝนทิ้งช่วงในราวเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม และจะตกใหม่ในช่วงเดือนกันยายน เป็นเหตุให้การเพาะปลูกมักประสบปัญหาฝนแล้งอยู่เป็นประจา  ทรัพยากรธรรมชาติ อาเภอชุมแพมีทรัพยากรที่สาคัญทางธรรมชาติ ดังนี้ ดิน ลักษณะของดินเป็นดินร่วน เหมาะแก่การเพาะปลูก ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทานา ทาไร่ ทาสวนแหล่งน้า แหล่งน้าที่สาคัญของอาเภอชุมแพคือ ลาน้าเชิญเป็นแม่น้าที่สาคัญที่หล่อเลี้ยงประชากรในอาเภอชุมแพและ อาเภอใกล้เคียง ชาวอาเภอชุมแพได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีการสร้างเขื่อนกั้นลาน้าเชิญที่บ้านดอนหัน ซึ่งเป็นเขื่อนที่เอื้อประโยชน์ให้ชาวชุมแพด้านการเกษตรและสาธารณูปโภค ป่าไม้ อาเภอชุมแพมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติดงลานที่ให้ประโยชน์แก่ประชาชนที่อยู่ใกล้เคียงทั้ง ทางตรงและทางอ้อม สัตว์ ประชากรในอาเภอนิยมเลี้ยงสุกร โค กระบือ ไว้บริโภคและจาหน่าย บางครอบครัวยังได้ยึดเป็นอาชีพหลัก 6 2.3. ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ การปกครองส่วนภูมิภาคของอาเภอชุมแพแบ่งเขตการปกครองย่อยเป็น 12ตาบล 143หมู่บ้าน ได้แก่ 1. ชุมแพ (Chum Phae) 18 หมู่บ้าน 2. โนนหัน (NonHan) 10 หมู่บ้าน 3. นาหนองทุ่ม (Na Nong Thum) 13 หมู่บ้าน 4. โนนอุดม (NonUdom) 11 หมู่บ้าน 5. ขัวเรียง (Khua Riang) 12 หมู่บ้าน 6. หนองไผ่ (Nong Phai) 19 หมู่บ้าน 7. ไชยสอ (Chai So) 10 หมู่บ้าน 8. วังหินลาด (Wang Hin Lat) 12 หมู่บ้าน
  • 13. 9. นาเพียง (Na Phiang) 14 หมู่บ้าน 10. หนองเขียด (Nong Khiat) 10 หมู่บ้าน 11. หนองเสาเล้า (Nong SaoLao) 10 หมู่บ้าน 12. โนนสะอาด (NonSa-at) 9 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องที่อาเภอชุมแพประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 15 แห่ง ได้แก่  เทศบาลเมืองชุมแพ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลชุมแพ บางส่วนของตาบลหนองไผ่ และบางส่วนของตาบลไชยสอ  เทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลโนนอุดมและบางส่วนของตาบลขัว เรียง  เทศบาลตาบลโนนหัน ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตาบลโนนหันและบางส่วนของตาบลโนนสะอา ด  เทศบาลตาบลหนองเสาเล้าครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองเสาเล้าทั้งตาบล  เทศบาลตาบลหนองไผ่ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองไผ่ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองชุมแพ)  เทศบาลตาบลนาเพียง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลนาเพียงทั้งตาบล  เทศบาลตาบลโนนสะอาด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนสะอาด (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโนนหัน)  องค์การบริหารส่วนตาบลชุมแพ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลชุมแพ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองชุมแพ)  องค์การบริหารส่วนตาบลโนนหัน ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนหัน (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโนนหัน) 7  องค์การบริหารส่วนตาบลนาหนองทุ่ม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลนาหนองทุ่มทั้งตาบล  องค์การบริหารส่วนตาบลโนนอุดม ครอบคลุมพื้นที่ตาบลโนนอุดม (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์)  องค์การบริหารส่วนตาบลขัวเรียง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลขัวเรียง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์)  องค์การบริหารส่วนตาบลไชยสอ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลไชยสอ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองชุมแพ)  องค์การบริหารส่วนตาบลวังหินลาด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลวังหินลาดทั้งตาบล  องค์การบริหารส่วนตาบลหนองเขียด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลหนองเขียดทั้งตาบล
  • 14. ประชากร อาเภอชุมแพนั้นมีประชากร ทั้งสิ้น 122,685 คน แยกเป็น ชาย61,015 คน หญิง 61,670 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ยต่อพื้นที่ 240.14 คน/ตารางกิโลเมตร แยกเป็นรายตาบล ลาดับ ตาบล ชาย หญิง รวม จานวนครอบครัว 1 ชุมแพ 3,047 3,128 6,175 1,444 2 โนนหัน 1,774 1,864 3,638 827 3 นาหนองทุ่ม 4,569 4,462 9,031 2,433 4 โนนอุดม 2,067 2,126 4,193 983 5 ขัวเรียง 3,474 3,625 7,099 1,508 6 หนองไผ่ 4,958 4,889 9,847 2,505 7 ไชยสอ 2,199 2,328 4,527 1,207 8 วังหินลาด 4,301 4,229 8,530 1,858 9 นาเพียง 4,263 4,438 8,701 1,982 10 หนองเขียด 3,273 3,331 6,604 1,519 11 หนองเสาเล้า 3,295 3,281 6,576 1,434 12 โนนสะอาด 3,752 2,900 6,652 1,657 นอกเขต เทศบาลเมืองชุมแพ เทศบาลตาบลโนนหัน และเทศบาลตาบลโคกสูงสัมพันธ์ ประชากร ชาย 40,972 คน หญิง 40,621 คน รวม 81,573 คน ในเขตเทศบาลเมืองชุมแพ ประชากร ชาย15,606 คน หญิง 16,203 คน รวม 31,809 คน ในเขตเทศบาลตาบลโนนหัน ประชากร ชาย 2,329 คน หญิง 2,548 คน รวม 4,877 คน ในเขตเทศบาลโคกสูงสัมพันธ์ ประชากร ชาย 2,108 คน หญิง 2,318 คน รวม 4,426 คน 8 2.4. ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ รายได้ประชากร/หัว/ปี โดยแยกเป็นรายตาบล ดังนี้ ลาดับ ตาบล รายได้เฉลี่ย/คน/ปี(บาท) 1 วังหินลาด 32,237.36 2 นาเพียง 33,572.55 3 หนองเสาเล้า 34,827.27 4 โนนหัน 35,782.97 1 นาหนองทุ่ม 38,231.60 6 โนนสะอาด 39,142.85
  • 15. 7 หนองไผ่ 40,717.16 8 ขัวเรียง 41,356.02 9 ชุมแพ 41,828.29 10 โนนอุดม 42,580.29 11 หนองเขียด 43,189.00 12 ไชยสอ 57,315.65 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของคนในพื้นที่อาเภอชุมแพ 40,399.35 บาท สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของประชาชน  ขนมจีน ขนมจีน ทาจากข้าวจ้าว กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลไชยสอ  ขนมจีนอบแห้ง ขนมจีนอบแห้ง(สินค้าพื้นเมือง) กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลชุมแพ  ข้าวหลาม ผลิตภัณฑ์ข้าวหลาม รสชาติอร่อย สะอาด ถูกหลักอนามัย ไม่ใส่สารกันบูด เป็นการนาข้าวสารและส่วนประกอบการทาข้าวหลามมาผสมตามสูตรและขั้นตอน หวาน มัน อร่อย กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอ ชุมแพ โดยเฉพาะตาบลหนองไผ่  ตะกร้าไม้ไผ่ แข็งแรง ทนทาน รูปทรงสวยงาม กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลนาเพียง 9  น้าผลไม้พร้อมดื่ม น้าฝรั่ง น้ากระเจี๊ยบ ไวน์กระเจี๊ยบ ข้าวหมาก มะม่วงดอง มะม่วงแช่อิ่ม กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอ ชุมแพ โดยเฉพาะตาบลนาหนองทุ่ม  ผลิตภัณฑ์จากกระบอกไม้ไผ่ ทาจากไม้ไผ่นามาดัดแปลงเป็นแก้วน้า เหยือกน้า กระปุกออมสิน ที่เสียบปากกา แจกัน กาน้า กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลโนนสะอาด  ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่(สินค้าพื้นเมือง) กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลโนนสะอาด  ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่,ต้นหมาก
  • 16. ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่, ต้นหมาก (สินค้าพื้นเมือง) กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลชุมแพ  ผ้าทอด้วยกี่กระตุก มีหลายประเภท มีทั้ง ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าซิ่น ผ้าขาวม้า ผ้าขิด ผ้าลายยกดอก ฯลฯ มีความปราณีต สวยงามกระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลโนนหัน  ผ้าฝ้ ายสีธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์จากฝ้ายมาทอเป็นผ้าฝ้ ายสีธรรมชาติ กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลชุมแพ  ผ้ามัดหมี่ธรรมชาติ ผ้ามัดหมี่ย้อมสีธรรมชาติ, ผ้าพื้นย้อมสีธรรมชาติ, ผ้าลายสก๊อตย้อมสีธรรมชาติ กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลหนองเสาเล้า  สุ่มไก่ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไม้ไผ่จักสานทั้งหมด มีความแข็งแรง ใช้งานได้นาน กระจายอยู่ในพื้นที่อาเภอชุมแพ โดยเฉพาะตาบลวังหินลาด สถานที่ท่องเที่ยว  เมืองโบราณโนนเมือง ตั้งอยู่บ้านโนนเมือง หมู่ที่ 4ตาบลชุมแพ โนนเมืองเป็นเมืองโบราณที่มีคูน้าคันดินล้อมรอบ 2 ชั้น เมืองชั้นในรูปทรงค่อนข้างกลม มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 420 เมตร เมืองชั้นนอกทรงยาวรี มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 600เมตร หรือมีเนื้อที่ประมาณ 216 ไร่เป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 12- 16) ในปี พ.ศ. 2513 หน่วยศิลปากรที่ 7 ได้สารวจพบเป็นครั้งแรก ต่อมาได้ดาเนินการขุดตรวจ ขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์ (อายุประมาณ 2,500-2,000 ปี) ภาชนะดินเผา เครื่องประดับ เครื่องใช้กระดูกสัตว์ จานวน 13หลุม จึงได้ทาหลังคาคลุมไว้ เพื่อแสดงในลักษณะพิพิธภัณฑ์สถานกลางแจ้ง 10  ผาพระนอน (พระปางไสยาสน์) ตั้งอยู่บนยอดเขาภูเวียง บ้านโนนสะอาดหมู่ที่ 8 ตาบลหนองไผ่ เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ศิลปสมัยทวาราวดีที่งดงาม สลักอยู่บนหน้าผายาวกว่า 3.75 เมตร หันพระเศียรไปทางทิศตะวันตก และหันพระพักตร์ไปทางทิศใต้ นอนตะแคงพระเศียรหนุนแนบกับลาแขนขวา แขนซ้ายทอดไปตามลาพระองค์เป็นท่านอนแบบเก่าที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอชุมแพไปตามถนน มลิวรรณ (ชุมแพ - ขอนแก่น) แยกซ้ายบ้านโนนสะอาด -
  • 17. วัดผาพระนอนพัฒนาราม ประมาณ 6- 7 กิโลเมตร (รถยนต์ถึง) เดินเท้าขึ้นเขาภูเวียงต่อระยะเดินเท้าประมาณ 2-3 กิโลเมตร ความสูงจากพื้นดินประมาณ 450เมตร ใช้เวลาเดินเท้าประมาณ 1.5 - 2ชั่วโมง บนผาพระนอนจะมองเห็นทิวทัศนียภาพเมืองชุมแพที่สวยงามมาก จะมีงานนมัสการในวันตรุษสงกรานต์ทุกปี  อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ที่ตั้งที่ทาการอุทยานบ้านซาผักหนาม หมู่ที่ 12 ตาบลนาหนองทุ่ม " อุทยานแห่งชาติภูผาม่านมี อาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดขอนแก่น และจังหวัดเลย เป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 72 (เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2543) มีเนื้อที่ประมาณ 350กม.2 หรือประมาณ 218,750 ไร่ มีจุดเด่นทางธรรมชาติหลายแห่งโดยเฉพาะถ้าและน้าตก เป็นแหล่งต้นกาเนิด “ลาน้าพอง " อีกด้วย  ถ้าปู่หลุบ อยู่ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201(ชุมแพ - เลย) ห่างจากอาเภอชุมแพประมาณ 35 กิโลเมตร ภายในถ้ามีหินงอกหินย้อยเป็นห้อง ๆนับได้ 5 ห้อง มีเกล็ดแวววาว ระยิบระยับสวยงาม และมีน้าขังอยู่ตลอดปี ด้านหน้าถ้ามีศาลปู่หลุบเป็นที่เคารพสักการบูชาของผู้คนที่ผ่านไป –มา  วนอุทยานถ้าผาพวง อยู่ในเขตตาบลนาหนองทุ่ม จากอาเภอชุมแพไปตามถนนชุมแพ - เลย ประมาณ 30กิโลเมตร มีทางแยกขวามือเข้าสู่ถ้าอีกประมาณ 5 กิโลเมตร (เป็นทางดินและทางเดินป่า) เดิมเรียกว่า “ถ้าร้อยพวง "เป็นถ้าบนภูเขาที่มีขนาดใหญ่ ภายในถ้ามีเสาหินเกิดจากหินย้อยลงมาลักษณะเป็นพวง จากเพดานถ้าดูสวยและแปลกตา ปากถ้าอยู่สูงและทะลุออกไปบนยอดเขาสามารถมองเห็นทัศนียภาพรอบๆ ได้สวยงามยิ่ง  ผานกเค้า เป็นภูเขาสูงตระหง่านอยู่ริมน้าพองในเขตอาเภอกระดึง จังหวัดเลย อยู่ห่างจากอาเภอชุมแพ ประมาณ 40 กิโลเมตร ตามถนนชุมแพ - เลย ลักษณะของผานกเค้าเป็นภูเขาหินสีดา บางส่วนกะเทาะออกเป็นเนื้อหินสีส้ม มองเห็นลักษณะคล้ายนกเค้าที่กางปีกออกสองข้างถือเป็นสัญลักษณ์ที่สาคัญประการหนึ่งของอาเภอภูกระดึง 11 2.5.คาขวัญและตราประจาเทศบาลเมืองชุมแพ คาขวัญประจาอาเภอชุมแพ
  • 18. หลักเมืองเก่าชุมแพ แลผาพระนอนล้าค่า อารยธรรมโนนเมือง ลือเลื่องเศรษฐกิจติดตา ผานกเค้า เข้าชมถ้าผาพวง บวงสรวงปู่หลุบ ตราประจาเทศบาลเมืองชุมแพ ที่มาของตราประจาเทศบาลเมืองชุมแพ เดิมสุขาภิบาลชุมแพได้ตราประจาประกอบด้วยสัญญาลักษณ์เป็นเจดีย์ใบโพธิ์ และคลื่นฟองน้าอยู่ภายในวงกลม ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตาบลอาเภอชุมแพขึ้นอีก เปลี่ยนตราประจาสานักงานเทศบาลตามที่กรมศิลปกรออกแบบให้ตราใหม่มีลักษณ์เป็น วงกรมมีสัญญาลักษณ์เป็นรูปเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีประทับ อยู่บน แพมือขวาถือลูกธนูมือซ้ายถือคันธนูมีนายทหารคนสนิท 2 ชายนั่งถือธงปลายหอกอยู่คนละข้าง (ประกาศเทศบาลตาบลชุมแพ วันที่ 23 มีนาคม 2530) 12 2.5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 19. กรี กันติยานารา (2556:บทคัดย่อ) เมืองชุมแพมีความเป็นมาอย่างไร ประวัติศาสตร์เมืองชุมแพ ที่รวบรวมไว้มีสองนัย นัยแรกจากคาบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ นัยที่สองจากพงศาวดารชาติไทย เล่มที่ 1 เรียบเรียงโดย พระเทพธานี และหนังสือตรวจมณฑลอุดรธานี ของพระเจ้าน้องยาเธอกรมพระยาดารงราชา - นุภาพความนัยแรก ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่ได้บอกเล่าต่อกันมา หลวงพ่อหงษ์ (ต้นตระกูลหงษ์ชุมแพ) เป็นคนอาเภอ ภูเวียง ก่อนจะมีภรรยาและบุตร เคยบวชเรียนมาแล้ว 10 พรรษา จนได้รับยศพระครู แล้วลาสิกขามาแต่งงานจนมีบุตร 3 คน คือ 1.นายโฮม (ต้นตระกูลโฮมหงษ์) 2.นายโชค หงษ์ชุมแพ 3.นายหลอด หงษ์ชุมแพ ต่อมาภรรยานายหงษ์ ถึงแก่กรรม นายหงษ์ จึงกลับมาบวชใหม่อีกครั้งหนึ่ง หลวงพ่อพระครูหงษ์ จึงได้ชักชวนพี่น้องจานวน 8ครอบครัว อพยพจากอาเภอภูเวียง มุ่งหน้าไปทางทิศใต้ของ ฮ่องบอง ซึ่งเป็นทางออกจากภูเวียงด้วยกระบวนเกวียน เดินทางไปเขตอาเภอผักปัง(ภูเขียว) จังหวัดชัยภูมิ ครั้งสุดท้ายหยุดพักเกวียนที่บริเวณบ้านกุดจอกน้อย ใกล้ๆท่า ตา-กลอย พักอยู่ประมาณ 3-4วัน จึงตกลงแบ่งครอบครัวออกเป็น 2กลุ่ม กลุ่มละ 4 ครอบครัว กลุ่มแรกไปตั้งหลักแหล่งอยู่กุดแห่(หรือบ้านแห่ในปัจจุบัน) อีกกลุ่มหนึ่งหลวงพ่อพระครูหงษ์ เป็นหัวหน้า ไปตั้งหลักแหล่งอยู่กุดธาตุ ซึ่งเป็นหมู่บ้านร้างอยู่ริมห้วย ชาวบ้านเรียก "กุด" เหตุที่เรียก "กุด" เพราะห้วยน้าล้น บ้่านกุดธาตุมีวัดร้างชื่อ "วัดโพธิ์ธาตุ" สร้างเมื่อครั้งใดไม่ปรากฏ ปัจจุบันต้นโพธิ์ยังมีอยู่ แต่พระธาตุได้ปรักหักพังเหลือแต่ซาก เมื่อเมื่อหลวงพ่อหงษ์ ตั้งบ้านใหม่ๆ ก็เรียกชื่อบ้านว่า "บ้านกุดธาตุ" ที่กุดแห่งนี้มี ปู ปลา อุดมสมบูรณ์ แม้กุดธาตุจะล้นและลึกมาก ชาวบ้านลงแหจับปลาไม่ได้ จึงทาแพไม้ไผ่กว้างยาวพอประมาณ เพื่อยืนบนแพทาการหว่านแห ทาให้ทอดแหได้สะดวก และเป็นพาหนะแทนเรือ บางครั้งพี้น้องชาวบ้านใกล้เคียงได้นัดกันมาชุมนุมต่างหมู่บ้านต่างคณะ และนาแพมาด้วยเพื่อจับปลา โดยชวนกันไล่ต้อนปลา จึงเรียกว่า "ชุมแพ" ต่อมานานๆเข้า จึงเรียกเป็น "บ้านชุมแพ" และใช้ชื่อนี้จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน "กุดธาตุ" หรือ "กุดชุมแพ" อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของหมู่บ้านชุมแพ แต่ตื้นเขินมากแล้วไม่ถึงกับแห้งขอด สภาพยังมีน้าขังสามารถใช้สอยได้ตลอดปี ตามนัยที่ สอง ประวัติเมืองชุมแพ อ้างอิงจากหนังสือพงศาวดารชาติไทย เล่ม 1ซึ่งเรียบเรียงโดย พระเทพธานี และจากหนังสือตรวจมณฑลอุดรธานี ของพระเจ้าน้องยาเธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ ความว่า ในสมัยรัชการที่ 5 มีกบฏฮ่อตามหัวเมือง จึงโปรดให้สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้บังคับบัญชาทหารมหาดเล็ก พร้อมด้วยทหารจานวนหนึ่งเดินทางล่วงหน้ามารวบรวมทหารเลขสัก (คือทหารเกณฑ์ ที่ทาการสักเลขด้วยหมึกสีดาที่ท้องแขน ว่า ท.บ. , พ.ศ.) จากสระบุรี นครราชสีมา ร้อยเอ็ด เพื่อเตรียมจัดหาพาหนะ เช่นช้าง , ม้า , เรือ , แพ เพื่อสนับสนุนทัพหลวงที่จะเดินทางไปปราบฮ่อ จึงให้เดินทางไปทาแพไม้ไผ่ที่หัวภูวง(ภูเวียง) แล้วนามารวบรวมไว้ที่บ้านกุดธาตุ(ชุมแพ) ซึ่งเป็นบ้านร้าง เมื่อปราบฮ่อได้สาเร็จ จึงปลดปล่อยทหารเลขสักที่เกณฑ์มาจากหัวเมืองต่างๆให้เป็นอิสระ และปูนบาเหน็จเป็นเงินรางวัล เพื่อนาไปสร้างตัวแล้ประกอบอาชีพต่อไป ทหารเลขสักจานวนหนึ่งไม่กลับภูมิลาเนา ได้เลือกเอาที่ลุ่มริมห้วยกุดธาตุ (ที่รวมแพครั้งแรก) ตั้งหลักฐานบ้านช่องมากกว่าที่อื่นๆ บ้านนี้จึงได้ชื่อบ้านว่า "บ้านชุมแพ"
  • 20. 13 ศิริญากรณ์ (2556: บทคัดย่อ) ประมาณปี พ.ศ. 2400 พระครูหงส์ได้ชักชวนญาติพี่น้อง 8 ครอบครัวอพยพออกจากเมืองภูเวียง ครั้งสุดท้ายได้หยุดพักเกวียนที่บ้านกุดจอกน้อย แล้วแบ่งครอบครัวออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเลือกตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้กุดแห่น้อย บ้านแห่ส่วนกลุ่มที่นาโดยพระครูหงส์มีบุตร 3 คน คือ นายโฮม (ต้นตระกูลโฮมหงส์) นายโชคและนายหลอด (ต้นตระกูลหงส์ชุมแพ) ได้เดินทางต่อมาและเลือกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านร้าง มีวัดร้างและกุดแห่งหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก วัดร้างนี้มีธาตุและต้นโพธิ์จึงตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์ธาตุ พร้อมกับตั้งชื่อว่าบ้านกุดธาตุ กุดธาตุมีน้าลึกมาก มีจระเข้ และป่าทึบทาให้จับปลาได้ยาก ประกอบกับรอบ ๆ กุดธาตุมีกอไผ่ขึ้นหนาแน่น ชาวบ้านจึงตัดไม้ไผ่มามัดเป็นแพใช้ยืนหว่านแหแล้วตีวงล้อมเข้าหากัน นานเข้าจึงเรียกว่า "กุดชุมแพ" และ "บ้านชุมแพ" เดิมสุขาภิบาลชุมแพได้ตราประจาประกอบด้วยสัญญาลักษณ์เป็นเจดีย์ใบโพธิ์ และคลื่นฟองน้าอยู่ภายในวงกลม ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตาบลอาเภอชุมแพขึ้นอีก เปลี่ยนตราประจาสานักงานเทศบาลตามที่กรมศิลปกรออกแบบให้ตราใหม่มีลักษณ์เป็น วงกรมมีสัญญาลักษณ์เป็นรูปเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีประทับ อยู่บน แพมือขวาถือลูกธนูมือซ้ายถือคันธนูมีนายทหารคนสนิท 2 ชายนั่งถือธงปลายหอกอยู่คนละข้าง (ประกาศเทศบาลตาบลชุมแพ วันที่ 23 มีนาคม 2530) สมัยรัชกาลที่ 5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดทัพไปปราบฮ่อ ในเมืองพวน เมืองหัวพันทั้งห้าทั้งหกดังนี้ 1. พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักรศิบปาคมเป็นแม่ทัพฝ่ายใต้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองหนองคาย 2. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ (เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี) เป็นแม่ทัพฝ่ายเหนือยกกองทัพขึ้นไปทางหลวงพระบาง โดยให้ยกทัพไปปราบฮ่อ เมื่อวันอังคาร แรม 11ค่า เดือน 11 พ.ศ. 2428(ยงศิลป และโขมพัตร เรืองศุข 2540: 180) จากประวัติการยกทัพครั้งนี้ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีได้ยกกองทัพขึ้นไปทางเมืองพิชัย เมืองน่าน เมืองหลวงพระบาง เมืองหัวพันทั้งห้าทั้งหก ตลอดจนถึงเมืองสิบสองจุไทย แสดงว่าไม่ได้ยกกองทัพผ่านบ้านชุมแพเลย บ้านชุมแพตั้งอยู่บนทาเลที่อุดมสมบูรณ์ จงมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น ๆ แบ่งได้เป็น 2 คุ้มอู่ระหว่าง 3วัด ได้แก่วัดเหนือ (ปัจจุบันเป็นที่ทาการประปา) วัดกลาง (วัดโพธิ์ธาตุ) และวัดใต้ (ปัจจุบันเป็นโรงเรียนบ้านชุมแพ ปีพุทธศักราช 2543 ในระหว่างที่ท้าวอุปชิต มิตตะปิด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 ได้เกิดเพลิงไม้กอไผ่ริมหนองอีเลิงด้านใต้แล้วลุกลามไหม้บ้านนายคาน หงส์ชุมแพจนถึงด้านทิศเหนือ ชาวบ้านไม่มีที่อยู่อาศัย จึงอพยพไปอยู่ตามที่นาของตนเอง ตั้งเป็นหมู่บ้านใหม่บ้านหนองไผ (บ้านหนองไผ่ใต้) และล้านโคกไม้งานในปัจจุบัน ประมาณปี พ.ศ. 2470 เริ่มมีครอบครัวชาวจีนอพยพเข้ามาค้าขายในบริเวณถนนราษฎร์บารุง ทิศเหนือของวัดโพธิ์ธาตุ การค้าได้ขยายตัวมากขึ้น ปี พ.ศ. 2485 กานันเลี้ยง ดีบุญมี ได้บริจาคที่ดินเพื่อตัดถนนราษฎร์บารุงให้ยาวขึ้นไปทางทิศเหนือ สร้างศูนย์ราชการและโรงเรียนชุมแพ นอกจากนี้ยังได้สร้างบ้านเรือนแถวไม้ชั้นเดียวบริเวณตลาดเหนือและตลาดใต้ให้เช่าทาการค้า ต่อมากานันจาก 4
  • 21. ตาบลของอาเภอภูเวียง ได้แก่ตาบลชุมแพ ตาบลโนนหัน ตาบลขัวเรียง และตาบลสีสุก (ศรีสุข)ได้ร่วมมือกันยื่นคาร้องต่อกระทรวงมหาดไทยขอตั้งอาเภอชุมแพ พระยาสุนทรพิพิธ (ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น) ได้มาตรวจที่ ประกอบกับระยะนั้นอาเภอชนบทถูกไฟไหม้ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 กระทรวงมหาดไทยจึงอนุมัติให้ตั้ง อาเภอชุมแพ โดยยุบอาเภอชนบทไปเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอบ้านไผ่ วันที่ 1 ก.ค. 2486 กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ 132 ลว 1 ก.ค. 2486 ยกฐานะตาบลชุมแพขึ้นเป็นอาเภอชุมแพมีตาบลในเขตปกครอง 4ตาบล คือ ต.ชุมแพ ต.โนนหัน ต.ขัวเรียง ต.ครีสุขมี นายพิชญ พรมนารถ เป็นนายอาเภอคนแรกปีพุทธศักราช 2499 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลชุมแพ คืนวันที่ 25ธันวาคม พ.ศ. 2510 เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ 14 บริเวณตลาดใต้ ตลาดสดดีบุญมีและโรงภาพยนตร์ชุมแพปีพุทธศักราช 2510พื้นที่ตาบลนาจาน ศรีสุข และสีชมพู แยกไปขึ้นอยู่กับอาเภอ สีชมพู ปีพุทธศักราช 2524 แยกตาบลโนนคอมไปตั้งกิ่งอาเภอภูผาม่าน 15ตุลาคม พ.ศ. 2528 สุขาภิบาลชุมแพได้ยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลชุมแพ จากงานวิจัยสรุปได้ว่า พระครูหงส์ได้ชักชวนญาติพี่น้อง 8 ครอบครัวอพยพออกจากเมืองภูเวียง ประมาณปี พ.ศ. 2400ได้เดินทางต่อมาและเลือกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านร้าง มีวัดร้างและกุดแห่งหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก วัดร้างนี้มีธาตุและต้นโพธิ์จึงตั้งชื่อว่า วัดโพธิ์ธาตุ พร้อมกับตั้งชื่อว่าบ้านกุดธาตุ กุดธาตุมีน้าลึกมาก มีจระเข้ และป่าทึบทาให้จับปลาได้ยาก ประกอบกับรอบ ๆกุดธาตุมีกอไผ่ขึ้นหนาแน่น ชาวบ้านจึงตัดไม้ไผ่มามัดเป็นแพใช้ยืนหว่านแหแล้วตีวงล้อมเข้าหากัน นานเข้าจึงเรียกว่า "กุดชุมแพ" และ "บ้านชุมแพ" บ้านชุมแพตั้งอยู่บนทาเลที่อุดมสมบูรณ์ จงมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น ๆ แบ่งได้เป็น 2 คุ้มอู่ระหว่าง 3 วัด ได้แก่วัดเหนือ วัดกลาง และวัดใต้ ประมาณปี พ.ศ. 2470 เริ่มมีครอบครัวชาวจีนอพยพเข้ามาค้าขายในบ้านชุมแพ จนทาให้การค้าได้ขยายตัวมากขึ้น ปี พ.ศ. 2485 กานันเลี้ยง ดีบุญมี ได้บริจาคที่ดินเพื่อตัดถนนราษฎร์บารุงและสร้างสถานที่ราชการต่างๆ ต่อมากานันจาก 4 ตาบลของอาเภอภูเวียง ได้แก่ตาบลชุมแพ ตาบลโนนหัน ตาบลขัวเรียง และตาบลสีสุก (ศรีสุข)ได้ร่วมมือกันยื่นคาร้องต่อกระทรวงมหาดไทยขอตั้งอาเภอชุมแพ พระยาสุนทรพิพิธ (ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น) ได้มาตรวจที่ ประกอบกับระยะนั้นอาเภอชนบทถูกไฟไหม้ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 กระทรวงมหาดไทยจึงอนุมัติให้ตั้ง อาเภอชุมแพ
  • 22. บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา ในการศึกษาเรื่อง อาเภอชุมแพ คณะผู้จัดทาได้ใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมในการศึกษาค้นคว้าและมีขั้นตอนวิธีการศึกษาค้นคว้าดังนี้ 3.1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 1.สมุดจดบันทึก 2.คอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 3.โปรแกรมสาหรับจัดพิมพ์รายงานทางวิชาการ เช่น โปรแกรม Microsoft word 4. เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร คือ www.facebook.com 3.2. วิธีการศึกษาค้นคว้า 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจคือ อาเภอชุมแพว่า มีเนื้อหามากน้อยเพียงใด และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป 3. ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจากการเรียน IS 1(การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้เรื่อง อาเภอชุมแพ 4. จัดทาโครงร่างการเขียนรายงานทางวิชาการ 5. จัดทาโครงร่างต่อครูประจาวิชาเพื่อพิจารณาอนุมัติ 6. ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม 7. นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆตามระยะเวลาที่ครูประจาวิชากาหนดเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า 8. ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
  • 23. 9. จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม 10. ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ 11. นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูประจาวิชาเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 12. จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ 13. จัดทา Power Point นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึกษา เรื่อง อาเภอชุมแพ ใน รายวิชา การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ ( IS1) และ ได้รวบรวมข้อมูลและพ ร้อมน าเสน อ ใน รายวิชา การสื่ อสารและการน าเสน อ ( IS2) ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า ไ ด้ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ข้ อ มู ล จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์ ต่ า ง ๆ แ ล ะ ไ ด้ ส รุ ป เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ที่ ส า คั ญ ที่ เ ป็ น รู ป เ ล่ ม ข อ ง ร า ย ง า น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และพัฒนาการต่างๆ ของอาเภอชุมแพ เพื่อให้นักเรียนนักศึกษาและผู้ที่สนใจ นาเนื้อหาสาระความรู้ที่ได้จากรายงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ซึ่งมีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 4.1. ผลการศึกษา การจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ฉบับนี้ คณะผู้จัดทาได้เริ่มทาการดาเนินงานไปตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3ไว้แล้ว โดยประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าคือ อาเภอชุมแพ และผลที่ได้จากการศึกษามีดังนี้ อาเภอชุมแพนั้นเริ่มต้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2400 มาแล้วมีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะแก่การตั้งถิ่นที่อยู่อาศัย พร้อมทั้งทรัพยากรธรรมชาติมากมาย อาเภอชุมแพแบ่งการปกครองออกเป็น 12 ตาบล 143 หมู่บ้าน เศรษฐกิจของอาเภอชุมแพมีความเจริญรุ่งเรือง มีสินค้าในท้องถิ่นและสถานที่ท่องเที่ยวมีความสวยงามเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว คาขวัญอาเภอชุมแพคือ และจากที่เพื่อนๆ ในห้องม.2/1 เพิ่มเติมให้มีดังนี้ อาเภอชุมแพนั้นมีมาตั้งแต่สมัยทวารวดีแล้ว เพราะมีการพบหลักฐานที่สาคัญคือ
  • 24. โครงกระดูกมนุษย์ที่มีอายุประมาณ 2,500-2,000 ปี มาแล้ว ซึ่งสอดคล้องหรือตรงกับสมมุติฐานที่ได้ตั้งเอาไว้ 4.2. ความรู้ที่ได้ ในการศึกษาเรื่อง อาเภอชุมแพ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับอาเภอชุมแพซึ่งเนื้อหาสาระและข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการสืบค้นจากเว็บไซต์ และหนังสือ นิตยสารต่างๆ คณะผู้จัดทาได้นาเสนอในบทที่ 2 ไว้แล้ว บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะ รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพฉบับนี้ คณะผู้จัดทาสามารถสรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะต่างๆ ได้ดังนี้ 5.1. การดาเนินการศึกษาค้นคว้า 1. วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศสาสตร์ความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆ ของอาเภอชุมแพ 2. ตระหนักถึงความสาคัญของอาเภอชุมแพ ที่มีต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในอาเภอชุมแพ 3. เผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้เรื่องราวต่างๆ ของอาเภอชุมแพ 4. เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป 2. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 1.สมุดจดบันทึก 2.คอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 3.โปรแกรมสาหรับจัดพิมพ์รายงานทางวิชาการ เช่น โปรแกรม Microsoft word
  • 25. 4. เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร คือ www.facebook.com 5.2. สรุปผลการดาเนินการศึกษาค้นคว้า รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ซึ่งมีเนื้อหาสาระสาคัญที่ประกอบไปด้วย ประวัติและความเป็นมาของอาเภอชุมแพ ลักษณะทางกายภาพ สภาพอากาศและทรัพยากรธรรมชาติของอาเภอ ชุมแพ ลักษณะการปกครองและประชากรของอาเภอชุมแพ ลักษณะทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของอาเภอชุมแพ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่จะศึกษาค้นคว้าและผู้ที่มีความสนใจ โดยคณะผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว โดยรายงานฉบับนี้ได้รวบรวมข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับอาเภอชุมแพจากหลายๆ เว็บไซต์ จากหนังสือ นิตยสารต่างๆ และจากเพื่อนๆม.2/1 ที่ได้เสนอแนะและเพิ่มเติมข้อมูล โดยนามาเรียบเรียงและสรุปไว้ในรายงาน ทาให้เนื้อหามีความกะทัดรัดและง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า 18 5.3. ข้อเสนอแนะ ในการจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ ที่คณะผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนผู้ที่สนใจได้นาเนื้อหาสาระต่างๆ ในรายงานฉบับนี้ ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังประวัติศาสตร์เกี่ยวกับอาเภอชุมแพ การเดินทางท่องเที่ยวหรือการศึกษาเกี่ยวกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเอกลักษณ์ของอาเภอชุมแพ ซึ่งในการพัฒนาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.ในปัจจุบันนี้ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารในโลกนั้นได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ท า ใ ห้ ก า ร สื่ อ ส า ร มี ค ว า ม ส ะ ด ว ก ส บ า ย แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว ดั ง นั้ น ค ว ร มี ก า ร น า เ นื้ อ ห า ข อ ง ร า ย ง า น ไ ป เ ผ ย แ พ ร่ สู่ โ ล ก อ อ น ไ ล น์ ซึ่งจะทาให้สาธารณะชนได้รับรู้เนื้อหาต่างๆ ในรายงานได้มากยิ่งขึ้น 2. ควรจัดทารายงานในรูปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่เป็นสื่อการเรียนการสอน
  • 26. ของ นักเรียน นักศึกษา ซึง เป็ น การเพิ่มประสิ ทธิภ าพ และคุณภ าพ ใน การเรี ยน การสอน ทาให้ผู้เรียนเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น 3. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของรายงานให้หลากหลายให้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อนาเนื้อหาต่างๆ ในรายงานไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ได้ 2. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนา 1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จึงทาให้การจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่อง อาเภอชุมแพ เกิดความล่าช้าตามไปด้วย 2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง จึงทาให้การสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนนักเรียน เกิดการสะดุดไม่ต่อเนื่อง จึงทาให้การจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องอาเภอชุมแพล่าช้ากว่าที่คาดหวังไว้ 3. ข้อมูลที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับอาเภอชุมแพ มีความคล้ายคลึงกัน ซึ่งทาให้การเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทาได้ยาก 4. ข้อมูลที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาจากเว็บไซต์ต่างๆ บางเว็บไซต์ ก็ขาดแหล่งที่อ้างอิงข้อมูล ซึ่งทาให้ข้อมูลนั้นขาดความน่าเชื่อถือ และไม่สามารถนามาเป็นเนื้อหาของรายงานได้ 19 บรรณานุกรม www.amphoe.com/menu.php?mid=1&am=50&pv=5 www.hoteldirect.in.th › แหล่งท่องเที่ยว › ขอนแก่น www.ichumphae.com www.khonkaen.kapook.com › ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ › จ.ขอนแก่น www.kk.ru.ac.th/chumpair.htm www.th.wikipedia.org/wiki/อาเภอชุมแพ www.m-culture.in.th www.thai.siammap.info/provinces/khon-kaen/maps-of-thailand-1148/ www.thai-tour.com/thai-tour/northeast/khonkaen/data/.../chumpae.html
  • 27.
  • 28. ภาคผนวก ประวัติของคณะผู้จัดทา 1.เด็กชายวุฒิไกร ใจซื่อ ชั้น ม.2/1 เลขที่38 เกิด............................................................. บิดาชื่อ............................อายุ...................ปี มารดาชื่อ........................อายุ...................ปี เบอร์โทร................................................... Facebook : farm oppabebo 2.เด็กชายภานุเดช อุดมชั้น ม.2/1 เลขที่24 เกิด............................................................. บิดาชื่อ............................อายุ...................ปี
  • 29. มารดาชื่อ........................อายุ...................ปี เบอร์โทร................................................... Facebook : Paudet Udom 3.เด็กชายเกียรติพงษ์ กกรัมย์ ชั้น ม.2/1 เลขที่27 เกิด............................................................. บิดาชื่อ............................อายุ...................ปี มารดาชื่อ........................อายุ...................ปี เบอร์โทร................................................... Facebook : เกียรติพงษ์ กกรัมย์