SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ประเภทของโวหาร
การเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่าง ๆ กันแล้วแต่ชนิดของข้อความ โวหารอาจจาแนก ตามลักษณะ
ของข้อความหรือเนื้อหาเป็นประเภทต่าง ๆได้ ดังนี้
1. บรรยายโวหาร
คือ โวหารที่ใช้บอกกล่าว เล่าเรื่อง อธิบาย หรือบรรยายเรื่องราว เหตุการณ์ ตลอดจนความรู้ต่าง
ๆ อย่างละเอียด
เป็นการกล่างถึงเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องกัน โดยชี้ให้เห็นถึงสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์ สาเหตุที่ก่อให้เกิด
เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนผลที่เกิดจากเหตุการณ์นั้น เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระอย่างแจ่มแจ้งชัดเจน เนื้อหา
ที่บรรยายอาจเป็นเรื่องที่สมมุติหรือเรื่องจริงก็ได้ เรื่องที่ใช้บรรยายโวหาร ได้แก่
การเขียนตารา รายงาน บทความ เรื่องเล่า จดหมาย บันทึก ชีวประวัติ ตานาน เหตุการณ์
บรรยายภาพ บรรยายธรรมชาติ บรรยายบุคลิกลักษณะบุคคล สถานที่
รายงานหรือจดหมายเหตุ การรายงานข่าว การอธิบายความหมายของคา การอธิบายกระบวนการ
การแนะนา วิธีปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ เป็นต้น
ตัวอย่างบรรยายโวหาร
ภูเขาไฟฟูจิเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในประเทศญี่ปุ่นมาหลายศตวรรษแล้ว แต่แรกภูเขานี้เป็นที่เคารพบู
ชาของชนพื้นเมืองเผ่าไอนุซึ่งปัจจุบันยังอยู่ตามหมู่เกาะฮอกไกโด ซึ่งเป็นเกาะใหญ่
ที่อยู่เหนือสุดชาวไอนุขนานนาม ภูเขานี้ตามชื่อเทพธิดา “ฟูชิ”(
fuchi) ผู้เป็นเทพธิดาแห่งอัคคี ชาวญี่ปุ่นยังคงนับถือภูเขาไฟฟูจิต่อมา และเรียกชื่อตามที่พวกไอนุตั้งไว้
บรรดาผู้นับถือศาสนาชินโตเชื่อว่าในธรรมชาติทุกรูปแบบจะมีเทพ หรือ กามิ ( kami)
สถิตอยู่ แต่เทพที่สถิตในภูเขาจะศักดิ์สิทธิ์เป็นพิเศษ ภูเขาฟูจิซึ่งสูงที่สุดและงามที่สุดในประเทศ
จึงได้รับความเคารพเป็นพิเศษ เพราะถือว่าเป็นสถานที่สถิตของทวยเทพ เป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างความ
ลึกลับของสวรรค์ และความเป็นจริงของโลกมนุษย์
(เกศกานดา จตุรงคโชค (บรรณาธิการ): โลกพิสดาร แดนพิศวง)
2. อธิบายโวหาร
คือ โวหารที่ทาให้ความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งกระจ่างชัดเจนขึ้น มักใช้ในงานเขียนทางวิชาการ
และตารับตาราต่าง ๆโดยมีจุดประสงค์จะนาประเด็นที่สงสัยมาอธิบายให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
การเล่าเรื่องบางตอนถ้ามีประเด็นใดที่เป็นปัญหาก็อาจใช้อธิบายโวหารเสริมความตอนนั้นจนเรื่องกระจ่างชั
ดเจนขึ้น บางท่านจึงถือว่าอธิบายโวหารเป็นส่วนหนึ่งของบรรยายโวหาร
อธิบายโวหารนี้มักใช้ในการอธิบายกระบวนการ การวิเคราะห์หรือจาแนกเนื้อหาออกเป็นประเภท
หรือเป็นพวก และการอธิบายความหมายของคา (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ
บรรณาธิการ, 2548, หน้า
48) การอธิบายมีหลายลักษณะ เช่น การอธิบายตามลาดับขั้น การอธิบายด้วยการให้นิยาม หรือคาจากัดค
วาม การยกตัวอย่าง การเปรียบเทียบ การชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน
และการใช้อุปกรณ์หรือภาษาประกอบ
สุภัค มหาวรการ (2546, หน้า11-
14) กล่าวถึง หลักการเขียนอธิบายโวหารที่ดี มีการชี้รายละเอียดของเรื่องได้ชัดเจนและครบถ้วน มีการอ้า
งเหตุผลต่าง ๆ
อย่างชัดเจนและเป็นเหตุเป็นผลกันดี มีการจัดลาดับขั้นตอนของเรื่องราวได้ดี ไม่วกวน และใช้ภาษาที่เข้า
ใจง่ายและถูกต้อง
ตัวอย่างการอธิบาย
...ศิลปินหรือผู้สร้างศิลปะก็คือหน่วยหนึ่งของสังคม ที่สาคัญได้แก่กลไกทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ กา
รต่อสู้กับอิทธิพลดังกล่าวเป็นเรื่องซับซ้อนใหญ่โต เป็นต้นว่า ศิลปินและนักเขียนมีขอบข่าย
แห่งเสรีภาพได้แค่ไหน เมื่อผู้ผลิตงานศิลปะจาเป็นต้องยังชีพจากผลงานของเขาด้วย เขาจะมีทางแก้ปัญหาป
ากท้องของตัวเองอย่างไร โดยเฉพาะในสังคมแบบทุนนิยม นากจากนี้ ปัญหาสาคัญอีกข้อหนึ่งก็คือ เมื่อศิ
ลปะเป็นงานที่เสนอแก่สาธารณชนในแง่การค้า ปฏิปักษ์สาคัญยิ่งของศิลปะเพื่อชีวิตน่าจะมิใช่ศิลปะเพื่องา
นศิลปะ แต่เป็นศิลปะสุกเอาเผากินซึ่งมุ่งมอมเมา
ประชาชนให้หนีจากความเป็นจริงของชีวิตมาสู่โลกของกามารมณ์ หรือเรื่องตื่นเต้นหวือหวาไร้สาระซึ่งขา
ยดี ติดตลาดและแพร่หลายในหมู่ประชาชน
(ณรงค์ จันทร์เรือง: ศิลปะเพื่อชาติ)
3. พรรณนาโวหาร
คือ โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ
หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์
เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟัง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง
ชมความงามของบุคคล สถานที่และแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆเป็นต้น
การใช้พรรณนาโวหาร
ควรมีความประณีตในการเลือกใช้ถ้อยคาสานวนที่ไพเราะเพราะพริ้ง เล่นคา เล่นอักษร ใช้ถ้อยคาทั้งเสียง
และความหมายให้ตรงกับความรู้สึกที่ต้องการพรรณนา รู้จักปรุงแต่งถ้อยคา
ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ ใช้โวหารเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจน รู้จักเลือกเฟ้นเนื้อหาว่าส่วน
ใดควรนามาพรรณนา ต้องเข้าใจเนื้อหาที่จะพรรณนาเป็นอย่างดี และพรรณนาให้เป็นไปตามอารมณ์ควา
มรู้สึก โดยไม่เสแสร้ง บางกรณีอาจต้องใช้อุปมาโวหารหรือสาธกโวหารประกอบด้วย
เสียงน้าใสไหลเย็นกระเซ็นเซาะ ซัดแก่งเกาะคลื่นเกลียวเลี้ยวซ้ายขวา
สุดแนวหินก็ไหลรินตกลงมา สู่ธาราเบื้องล่างอย่างงดงาม
สายน้าสวยรวนรินเป็นฟองคลื่น ละอองชื้นสาดไปไกลเกินห้าม
ต้องแสงทองที่สาดส่องเป็นรุ้งงาม ทุกเมื่อยามน้าไม่เคยเหือดแห้งไป
ตัวอย่างพรรณนาโวหาร
เขาใช้แขนยันพื้นดิน อาการเหนื่อยอ่อน
กลิ่นน้าฝนบนใบหญ้าและกลิ่นไอดินโซนเข้าจมูกวาบหวิว อยากให้มีใครซักคนผ่านมาพบ
เพื่อพาเขากลับไปหาหมอในหมู่บ้าน มดหลายตัวเดินสวนขบวนผ่านไปมา
มันไม่มีทีท่าจะสนใจเขาเลยแม้แต่น้อย เขามองดูมันอย่างเลื่อนลอยทาไมมัน จึงเฉยเมยกับฉัน มันคงรู้แน่
ฉันอยากให้มันเป็นคนจริงๆ ฉันจะต้องกลับบ้านให้ได้ เขาคิดพลางเหม่งมองดูยอดสนของหมู่บ้าน
หาดเสี้ยวเห็นอยู่ไม่ไกล ดวงอาทิตย์สีแดงเข้มกาลังคล้อยลงเหนือยอดไม้ทางทิศตะวันตก
(นิคม รายวา: คนบนต้นไม้)
4. อุปมาโวหาร
คือ โวหารที่กล่าวเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจความหมาย อารมณ์ความรู้สึก
หรือเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น มักใช้ประกอบโวหารประเภทอื่น เช่น เทศนาโวหาร บรรยายโวหาร
โดยเฉพาะพรรณนาโวหาร เพราะจะช่วยให้รสของถ้อยคาและรสของเนื้อความไพเราะสละสลวยยิ่งขึ้น
ทั้งสารที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
การเปรียบเทียบอาจเปรียบความเหมือนกัน หรือคล้ายคลึงกัน เปรียบเทียบความขัดแย้ง
หรือลักษณะตรงกันข้าม หรือเปรียบเทียบโดยให้ผู้รับสารโยง ความคิดหนึ่งไปสู่ อีกความคิดหนึ่ง
โดยอาจกล่าวลอย ๆ หรืออาจใช้คาแสดงการเปรียบเทียบ ซึ่งมีอยู่หลากหลาย เช่น เหมือน เสมือน คล้าย ดุจ
ดัง ดั่ง ดุจดั่ง ราว ดูราว ปาน เพียง ประหนึ่ง เช่น เฉก ฯลฯ
การใช้อุปมาโวหารควรเลือกใช้ถ้อยคาที่เข้าใจง่าย และสละสลวย แสดงการเปรียบเทียบได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับเนื้อหา และจังหวะ ลีลา ซึ่งอาจกล่าวลอย ๆ ก็ได้ เนื้อหาที่จะเปรียบเทียบควรเป็นเนื้อหา
ที่อธิบายให้เข้าใจได้ยาก เปรียบเทียบกับสิ่งที่เข้าใจได้ง่าย หรือสิ่งที่ผู้รับสารรู้ดีอยู่แล้ว
และข้อความที่จะยกมา เปรียบเทียบ (อุปไมย) กับข้อความที่นามาเปรียบเทียบ (อุปมา)
จะต้องเหมาะสมกัน อุปมาโวหารใช้เป็นโวหาร
เสริมบรรยายโวหาร พรรณนาโวหารและเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนและน่าอ่านยิ่งขึ้น
ตัวอย่างอุปมาโวหาร
…ดังนี้เจ้าจะเห็นได้ว่าเมียที่พ่อจัดหาให้มีตระกูล สมชาติ สมเชื้อกันดี เพราะตระกูลของเราก็มั่งมี
มีคนนับหน้าถือตา ญาติพี่น้องทั้งฝ่ายบิดามารดาของนางก็บริบูรณ์ รูปร่างงามหาตาหนิมิได้
ผมดาราวกับแมลงผึ้ง หน้าเปล่งปลั่งดั่งดวงจันทร์ เนตรประหนึ่งตากวาง จมูกแม้นดอกงา ฟันเทียบไข่มุก
ริมฝีปากเพียงผลตาลึงสุก เสียงหวานปานนกโกกิลา ขาคือลากล้วย เอวเหมาะเจาะไม่อ้วนเกิน
เวลาย่างเดินแคล่วคล่องมีสง่าเสมอช้างทรง เพราะฉะนั้นเจ้าจะหาทางตาหนิขัดข้องมิได้เลย...
(เสฐียรโกเศศ: กามนิต)
5. สาธกโวหาร
คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจนโดยการยกตัวอย่างหรือเรื่องราวประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ
เพื่อสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนักแน่น สมเหตุสมผล ทาให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระในสิ่งที่พูด
หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรือน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ตัวอย่างหรือเรื่องราว
ที่ยกขึ้นประกอบอาจเป็นเรื่องสั้น ๆหรือเรื่องราวยาว ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม เช่น
ประสบการณ์ตรงของผู้ส่งสาร เรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ นิทาน ตานาน วรรณคดี เป็นต้น
สาธกโวหารมักใช้เป็นอุทาหรณ ์์ประกอบอยู่ในเทศนาโวหาร หรืออธิบายโวหาร
การใช้สาธกโวหาร ควรใช้ถ้อยคาภาษาที่เข้าใจง่าย รู้จักเลือกว่าเนื้อหาตอนใดควรใช้ตัวอย่าง
หรือเรื่องราวประกอบ และตัวอย่างที่ยกมา ประกอบต้องสอดคล้องกับเนื้อหา และเป็นเรื่องที่น่าสนใจ
สมเหตุสมผล สาธกโวหารมักแทรกอยู่ในโวหารอื่น ๆ เช่น บรรยายโวหาร หรือเทศนาโวหาร
ตัวอย่างสาธกโวหาร
ถ้าเธอไม่อยากอยู่กับฉันจริงจริง ยินยอมทุกสิ่ง ให้เธอทิ้งไป ฉันขอแค่เพียงให้เวลาหน่อยได้ไหม
อยากเล่านิทานให้ฟัง ชาวนาคนหนึ่งมีชีวิตลาพัง ไปเจองูเห่ากาลังใกล้ตายสงสาร
จึงเก็บเอามาเลี้ยงโดยไม่รู้ สุดท้ายจะเป็นอย่างไร คอยดูแลด้วยความจริงใจ ห่วงใย
และคอยให้ความรักเป็นกังวลว่ามันจะตาย เฝ้าคอยเอาใจทุกอย่าง แต่สุดท้ายชาวนาผู้ชายใจดี ด้วยความ
ที่เขาไว้ใจ น่าเสียดายกลับต้องตาย ด้วยพิษงู นิทานมันบอกให้ยอมรับความจริง ว่ามีบางสิ่ง
ไม่ควรไว้ใจ อะไรบางอย่างที่ทาดีซักแค่ไหน ไม่เชื่อง ไม่รัก ไม่จริง
(สีฟ้า:ชาวนากับงูเห่า)
6. เทศนาโวหาร
คือ
โวหารที่มุ่งโน้มน้าวใจให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม เป็นการกล่าวในเชิงอบรม แนะนาสั่งสอน เสนอทัศนะ
ชี้แนะ หรือโน้มน้าว ชักจูงใจโดยยกเหตุผล ตัวอย่าง หลักฐาน ข้อมูล ข้อเท็จจริง สุภาษิต
คติธรรมและสัจธรรม ต่าง ๆ มาแสดงเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจที่กระจ่างจนยอมรับเชื่อถือมีความเห็น
คล้อยตาม และปฏิบัติตาม โวหารประเภทนี้มักใช้ ในการให้โอวาท อบรมสั่งสอน อธิบายหลักธรรม
และคาชี้แจงเหตุผล ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเสนอทัศนะ เป็นต้น
การใช้เทศนาโวหารควรใช้ถ้อยคาภาษาให้เหมาะสมกับผู้รับสาร
ใช้ถ้อยคาในการชี้แจงเหตุผลที่กล่าวถึง ให้แจ่มแจ้งชัดเจน และชี้แจงไปตามลาดับไม่สับสนวกวน ควรใช้
โวหารอื่นประกอบด้วยเพื่อให้ชวนติดตาม การเขียนเทศนาโวหารต้องใช้โวหารประเภทต่าง ๆ
มาประกอบอาจจะใช้บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร รวมทั้งอุปมาโวหารและสาธกโวหารด้วย มักใช้กับ
งานเขียนประเภทบทความชักจูงใจ หรือบทความแสดง
ความคิดเห็น ความเรียง เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่มักจะเข้าใจว่าเทศนาโวหารเป็นโวหารที่มุ่งสั่งสอน
ตัวอย่างเทศนาโวหาร
“…เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้า
นการรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางการ
ออกเสียง คือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีการใช้ หมายความว่า
วิธีใช้คามาประกอบเป็นประโยคนับเป็นปัญหาที่สาคัญ ปัญหาที่สาม คือ ความร่ารวยในคาของภาษาไทย
ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ารวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้...”
“...ในปัจจุบันนี้ปรากฏว่า ได้มีการใช้ถ้อยคาออกจะฟุ่มเฟือยและไม่ตรงกับความอันแท้จริง
อยู่เนือง ๆ ทั้งการออกเสียงก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่อยให้เป็นดังนี้ภาษาของเราก็มีแต่
จะทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้เองเป็นสิ่งประเสริฐอยู่แล้ว เป็นมรดกอันมีค่าตกทอดมาถึงเรา
ทุกคนมีหน้าที่จะต้องรักษาไว้...”
(พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
ภาพพจน์เป็นการใช้ถ้อยคาสานวนโวหาร ที่ทาให้ผู้รับสารเกิดมโนภาพ เกิดจินตนาการ ถ่ายทอดอารมณ์
ทาให้มีความรู้สึกร่วมตรงตามความปรารถนาของผู้ส่งสาร
ประเภทของภาพพจน์
ภาพพจน์ที่ใช้ในการสื่อสารมีอยู่มากมายหลายประเภท ดังนี้
1.อุปมา (simile)
คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งที่โดยธรรมชาติแล้วมีสภาพที่แตกต่างกัน แต่มีลักษณะเด่น
ร่วมกันและใช้คาที่มีความหมายว่า เหมือนหรือคล้ายเป็นคาแสดงการเปรียบเทียบเพื่อเน้นให้เห็นจริงว่า
เหมือนอย่างไร ในลักษณะใด ได้แก่คาว่า เหมือน เสมือน ดัง ดั่ง คล้าย ดูราว เหมือนดั่ง ดุจ ประดุจ
ประหนึ่ง ละม้าย เสมอ ปาน เพียง ราว ราวกับ พ่าง เทียบ เทียม เฉก เช่น ฯลฯ เป็นการกล่าว
การเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันหรือต่างกันใช้คู่กับ อุปไมย อุปมา คือ
สิ่งหรือข้อความที่ยกมากล่าวมาเปรียบ อุปไมย คือ
สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
ตัวอย่าง เช่น
-สวยเหมือนนางฟ้า -เงียบราวกับป่าช้า
-ร้องไห้ปานใจจะขาด -ชนเหมือนลิง
-ลูกคนนี้ละม้ายพ่อ -ดีใจเหมือนปลากระดี่ได้น้า
-เธอว่ายน้าเก่งเหมือนปลา -เพลงนี้ไพเราะราวกับเพลงจากสวรรค์
-มีความรู้เหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน -ดวงหน้านวลกระจ่างดุจดวงจันทร์
-ผมของเธอดาเหมือนความมืดแห่งราตรี -เขาตะโกนเสียงดังดั่งฟ้าร้อง
2. อุปลักษณ์ (metaphor)
คือการเปรียบเทียบด้วยการกล่าวว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ไม่กล่าวตรง
ๆ ใช้การกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอง เป็นการเปรียบเทียบโดยนาเอาลักษณะ
สาคัญของสิ่งที่ต้องการเปรียบเทียบ มาเปรียบเทียบทันทีโดยโดยไม่ต้องมีคาเชื่อมโยง
ไม่ต้องใช้คาแสดงการเปรียบเทียบ ไม่มีคาแสดงความหมายว่า เหมือน ปรากฏอยู่
หรือถ้าจาเป็นต้องใช้ก็ใช้คาว่า “เป็น” หรือ “คือ” อุปลักษณ์ เป็นการใช้ถ้อยคาภาษา
ในเชิงการเปรียบเทียบที่มีชั้นเชิงและลึกซึ้งกว่าอุปมา นิยมใช้กับ ภาษ-หนังสือพิมพ์ เพราะใช้คาน้อย
ได้ความมากเหมาะกับเนื้อที่อันจากัด
ตัวอย่าง เช่น
-ปัญญาคือดาบสู้ดัสกร -ครู คือแม่พิมพ์ของชาติ
-ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากาลัง -ลูกคือดวงตาดวงใจของพ่อแม่
-ครูเป็นแสงประทีปส่องทางให้ลูกศิษย์ เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด
-อูฐเป็นเรือของทะเลทราย -กีฬาเป็นยาวิเศษ
-เขาเป็นมือขวาของผู้อานวยการทีเดียวนะ -เขาเป็นสิงห์ทะเลทราย
-เหยี่ยวข่าวกาลังบินว่อนอยู่แถวทาเนียบรัฐบาล -ทหารเป็นรั้วของชาติ
-ทองกวาวทิ้งไร่นามาอยู่ป่าคอนกรีต -ใบมีดโกนอาบน้าผึ้ง
-มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ -เลือดในอกแท้ ๆ ยังทิ้งได้
-ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ -สวรรค์ในอก นรกในใจ
3. บุคลาธิษฐาน (personification)
คือ การสมมุติให้สิ่งที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด สิ่งที่เป็นนามธรรม
หรือสัตว์ให้มีสติปัญญา อารมณ์หรือกิริยาอาการ
เหมือนมนุษย์เพื่อให้สิ่งเหล่านั้นเกิดปรากฏการณ์เสมือนเป็น สิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึก
นึกคิดขึ้นมา แล้วสื่อความรู้สึกออกมาให้ผู้รับสารได้รับรู้เป็นการเปรียบเทียบโดยนาเอาสิ่งไม่มีชีวิต
หรือมีชีวิต แต่ไม่ใช่คนมากล่าวถึงราว
กับเป็นคน หรือทากิริยาอาการอย่างคน “ภาพพจน์ประเภทนี้จะทาให้สิ่งที่กล่าวถึง มีชีวิตชีวา
ผู้รับสารจะมองเห็นภาพสิ่งนั้นเคลื่อนไหวทากิริยาอาการเหมือนคนมีอารมณ์ มีความรู้สึก
และสามารถสื่อความรู้สึกนั้นมาสู่ผู้รับสารได้” (นภาลัย สุวรรณธาดา, 2533: 295)
ตัวอย่าง เช่น
-ฟ้าหัวเราะเยาะข้าชะตาหรือ
-ซุงหลายท่อนนอนร้องไห้ที่ชายป่า
-ดาวกะพริบตาเยาะเราหรือดาวเอ๋ย
-ตั๊กแตนโยงโย่ ผูกโบว์ทัดดอกจาปา
-จานและช้อนวิ่งกันขวักไขว่ไปทั่วห้องครัว
-พระจันทร์ยิ้มทักทายกับหมู่ดาวบนท้องฟ้า
-เสียงรถไฟหวีดร้องครวญครางมาแต่ไกล
-พระจันทร์ยิ้มทักทายกับหมู่ดาวบนท้องฟ้า
-ต้นอ้อหยอกล้อกับสายลมอย่างสนุกสนาน
-เปลวไฟกลืนกินบ้านทั้งหลังเข้าไปอย่างหิวโหย
-ทะเลไม่เคยหลับใหล เธอตอบได้ไหม ไฉนจึงตื่น
-ความซื่อสัตย์ วิ่งพล่านอยู่ในคณะรัฐมนตรีชุดนี้
4. อติพจน์ (hyperbole)
คือ การกล่าวเกินจริง ซึ่งเป็นความรู้สึกหรือความคิดของผู้กล่าวที่ต้องการย้าความหมาย
ให้ผู้ฟังรู้สึกว่าหนักแน่นจริงจัง เน้นความรู้สึกให้เด่นชัดและน่าสนใจ โดยไม่เน้นความเป็นจริง
เพราะต้องการ ให้ผู้รับ สารเกิดความซาบซึ้งและประทับใจ
ซึ่งอาจจะมากเกินไปหรือน้อยเกินไปก็ได้ เพื่อเน้นความ รู้สึกมากกว่า
ความเป็นเหตุเป็นผล มุ่งเร้าอารมณ์และความรู้สึกสะเทือนใจเป็นสาคัญ ภาพพจน์ประเภทนี้นิยม
ใช้สื่อสารกันมากทั้งการพูดและการเขียน ที่ต้องการแสดงความรู้สึกเพราะสามารถเปรียบเทียบให้เห็นภาพ
ได้ง่าย
ตัวอย่าง เช่น
-ร้อนตับจะแตก
-คิดถึงใจจะขาด
-ไอ้หมัดทะลวงไส้
-เขาโกรธเธอจนอกระเบิด
-ฉันไม่มีเงินซักแดงเดียว
-ฉันหิวไส้จะขาดแล้วนะ
-อากาศร้อนจนแทบจะสุกอยู่แล้วสายเลือด
-พวกเราจะสู้จนเลือดหยดสุดท้าย
-หนาวกระดูกจะหลุด
-แหม รอตั้งโกฏิปีแล้ว
-การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า
-ลาบากเลือดตาแทบกระเด็น
-เหนื่อยสายตัวแทบขาด
-แม้จะเอาช้างมาฉุดฉันก็ไม่ไป
-เธอร้องไห้น้าตาจะเป็น
- คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก
5. นามนัย (Metonymy)
คือ การเปรียบเทียบโดยการใช้คาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติที่เป็นจุดเด่น
หรือลักษณะสาคัญ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือการกล่าวถึงส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งใด
ๆ มากล่าวแทนคาที่ใช้เรียก สิ่งนั้นโดยตรง เป็นภาพพจน์ที่ใช้เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คาธรรมดา ๆซ้าซาก
ตัวอย่าง เช่น
-ปากกาคมกว่าดาบ
-เขาเป็นกระต่ายที่หมายจันทร์
(กระต่ายแทนชายหนุ่มฐานะต่าต้อยจันทร์แทนผู้หญิงที่มีฐานะสูงส่ง)
-เขาเป็นมือขวาของท่านนายกฯ (มือขวาแทนคนสนิทที่ไว้ใจ)
-เขารักเก้าอี้ยิ่งกว่าชื่อเสียงเกียรติยศ (เก้าอี้แทนตาแหน่ง)
-คนเราจะต้องต่อสู้ตั้งอยู่ในเปลจนไปสู่ป่าช้า (เปล แทนการเกิด, ป่าช้า แทนการตาย)
-น้าตาและรอยยิ้มอยู่คู่ชีวิตมนุษย์เสมอมา (น้าตาแทนความทุกข์, รอยยิ้มแทนความสุข)
-เลือดของวีรชนจะจารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ตลอดไป (เลือด แทนการต่อสู้)
-คนไทยไม่ยอมให้ใครมาทาลายขวานทองได้ (ขวานทองแทนประเทศไทย)
-การจัดสรรงบประมาณควรให้ได้ไปสู่ระดับรากหญ้าจริง ๆ (รากหญ้าแทนประชาชนระดับล่าง)
6. อนุนามมัย (Synecdoche)
คือ การกล่าวถึงส่วนย่อยที่มีลักษณะเด่นของสิ่งนั้น ๆ
มากล่าวแทนสิ่งที่ต้องการกล่าวถึงทั้งหมด เป็นการเปรียบเทียบโดยนาเอาลักษณะเด่นที่เป็นส่วนหนึ่งมาก
ล่าวแทนทั้งหมด
ตัวอย่าง เช่น
-เขากินหมาก (หมาก หมายถึง หมากพลู ปูน และส่วนผสมอื่น ๆ)
-เรื่องนี้ได้กลิ่นตุ ๆว่า คนมีสีอยู่เบื้องหลัง (คนมีสี หมายถึง ข้าราชการ)
-มันสมองเหล่านี้มีค่าแก่ประเทศชาติอย่างยิ่ง (มันสมอง หมายถึง ปัญญาชน)
-มีการเรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงให้ฉันทนา (ฉันทนา หมายถึง สาวโรงงาน)
-เขามีหน้ามีตาในสังคมได้เพราะมีผู้มีอานาจให้การสนับสนุน(มีหน้ามีตา หมายถึง มีเกียรติ)
-มือกฎหมาย ปฏิบัติการอย่างไม่เกรงกลัวอิทธิพลใด ๆ(มือกฎหมายหมายถึง ผู้รักษากฎหมาย)
-มือที่เปื้อนชอล์คยังคงมุ่งมั่นที่จะสานฝันให้เป็นจริง (มือที่เปื้อนชอล์ค หมายถึง ครู)
7.ปฏิพจน์ (paradox)
คือ การใช้ถ้อยคาที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าวร่วมกันได้อย่างกลมกลืนกัน
ภาพพจน์ประเภทนี้ผู้รับสารจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์ความหมาย หรือ ตีความจึงจะเข้าใจได้ดี
ตัวอย่าง เช่น
-ไฟเย็น -เล็กดีรสโต
-ชัยชนะของผู้แพ้ -สันติภาพร้อน
-ยิ่งรีบก็ยิ่งช้า -หัวเราะร่าน้าตาริน
-ความขมขื่นอันหวานชื่น -ไม้งามกระรอกเจาะ
-รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ -รักดีหามจั่ว รักชั่วเสา
-น้าร้อนปลาเป็นน้าเย็นปลาตาย -แพ้เป็นพระชนะเป็นมาร
-เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย -ผู้ดีเดินตรอก ขี้ครอกเดินถนน
-น้าร้อนปลาเป็น น้าเย็นปลาตาย -ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
-เสียงกระซิบจากความเงียบ -ชีวิตเต็มไปด้วยความว่างเปล่า
8. สัทพจน์ (onomatopoeia)
คือ การใช้ถ้อยคาที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น
เสียงดนตรีเสียงร้องของสัตว์ หรือเลียนเสียงกิริยาอาการต่าง ๆ ของคน
การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียน จะช่วยสื่อให้ผู้รับสารรู้สึกเหมือนได้ยินเสียง
โดยธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ และเห็นกิริยาอาการของสิ่งนั้น ๆ ด้วย
ตัวอย่าง เช่น
-ฝนตกแปะ ๆ -เปรี้ยง ๆดังเสียงฟ้าฟาด
-ไผ่ซออ้อเอียดเบียดออด -บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว
- เครื่องบินครางกระหึ่มมาแต่ไกล - เสียงคลื่นซ่าซัดสาดที่หาดทราย
-เสียงปืนดัง ปัง! ปัง! ขึ้นสองนัด -ยุงบินหึ่งหึง อยู่ข้างหูน่าราคาญ
-อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง -เจ๊กเฮงเดินลากเกี๊ยะแซะ ๆไปตลอดทาง
-ลมพัดกิ่งไม้ระหลังคาบ้านดังแกรกกรากน่ากลัว -มันดังจอกโครม ๆ มันดัง จอก ๆจอก ๆ โครม ๆ
-มันร้องดังกระโต้งโฮง มันดังกอก ๆ กอก ๆ กระโต้งโฮง -น้าพุพุ่งซ่าไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียกังวาน
เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึ่มโหยห้อยไม้น่าใจหาย
9. ปฏิวาทะ (oxymoron)
คือ การใช้คาที่มีความหมายตรงกันข้ามกันหรือขัดแย้งกันมารวมไว้ด้วยกันเพื่อให้มีความหมาย ใหม่
หรือให้ความรู้สึก ขัดแย้งกัน หรือเพิ่มน้าหนักให้แก่ความหมายของคาแรก
ตัวอย่าง เช่น
-คนในหมู่บ้านนี้กลมเกลียวกันมาก (หมายถึง ความสามัคคี)
-แฟนของนายน่าอกใหญ่ฉิบหาย (หมายถึง หน้าอกใหญ่มาก)
-ลูกสาวของเขาช่างน่ารักน่าชัง (หมายถึง น่ารักน่าเอ็นดู)
-เดชทาคะแนนได้น้อยมาก (หมายถึง น้อยเหลือเกิน)
-เธอกาลังหาข้อเท็จจริงในเรื่องนี้อยู่ (หมายถึง ข้อมูลที่เป็นจริง)
-คู่หมั้นของหล่อนดีเป็นบ้า (หมายถึง ดีมาก)
-แกแต่งตัวเท่ห์ฉิบหาย (หมายถึง เท่ห์มาก)
-เขาไม่เคยยินดียินร้ายฉันเลย (หมายถึง เอาใจใส่)
-บ้านหลังนี้ข้าหลับตาเห็นหมดแล้วว่าอะไรอยู่ตรงไหนเข้าไปได้เลย (หมายถึง
จินตนาการ)
10. สัญลักษณ์ (symbol)
คือ การเปรียบเทียบที่เรียกสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยใช้คาอื่นแทน
คาที่ใช้เรียกนั้นเกิดจากการเปรียบเทียบและ
ตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป อาจเป็นคา ๆ เดียว ข้อความ บุคคลในเรื่อง เป็นเรื่อง
เฉพาะตอน หรือเรื่อง ๆ หนึ่งก็ได้ สัญลักษณ์ที่นิยมใช้มีดังนี้
ตัวอย่าง เช่น
-สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
-สีดา หมายถึง ความตาย ความโศกเศร้า ความชั่วร้าย
-ดอกกุหลาบสีแดง หมายถึง ความรัก
-ดอกหญ้า หมายถึง ความต้อยต่า
-ดอกมะลิ หมายถึง ความบริสุทธิ์
-ดอกบัว หมายถึง พุทธศาสนา
-ดอกทานตะวัน หมายถึง ความอบอุ่น ความรักและความสุข
-รวงข้าว หมายถึง ความอ่อนน้อมถ่อมตน
-หญ้าแพรก หมายถึง ความงอกงามทางสติปัญญาและความรู้
-น้าค้าง หมายถึง ความบริสุทธิ์
-สุนัขจิ้งจอก หมายถึง คนเจ้าเล่ห์ คนที่ไม่น่าไว้วางใจ
-ลา หมายถึง คนโง่ คนที่น่าสงสาร
-ปีศาจ แม่มด หมายถึง ความชั่วร้าย
-นางฟ้าเทวดา หมายถึง ความดีงาม
-นกขมิ้น หมายถึง ผู้ที่ร่อนเร่พเนจร
-ผึ้ง มด หมายถึง ความขยันอดทน
-เมฆ หมอก หมายถึง อุปสรรค ความเศร้า
-ฝน หมายถึง ความเมตตากรุณา ความชุ่มฉ่าสดชื่น
-ระฆัง หมายถึง ความมีเกียรติ ความมีชื่อเสียง
-สมอ หมายถึง ทหารเรือ
-ตราชู หมายถึง ความยุติธรรม
-มือไกวเปล หมายถึง แม่
โวหาร
หมายถึงถ้อยคาที่ใช้ในการสื่อสารที่เรียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีชั้นเชิงและมีศิลปะ เพื่อสื่อให้ผู้รับสาร
รับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึ้ง รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร

More Related Content

What's hot

เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาBongkot Inprom
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kanghanlom
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111Sukanya Keerin
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียLatte Mpc
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆSirirat Pongpid
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

What's hot (20)

เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซีย
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
การนำความร้อน
การนำความร้อนการนำความร้อน
การนำความร้อน
 

Similar to โครงงาน

หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfGREATTEACHERCYBERFOX
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R Suranaree University of Technology
 
9789740332725
97897403327259789740332725
9789740332725CUPress
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Yui Siriwararat
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)ILyas Waeyakoh
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความThanit Lawyer
 

Similar to โครงงาน (20)

Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
โวหารการเขียน
โวหารการเขียนโวหารการเขียน
โวหารการเขียน
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdf
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
Straightpiece
StraightpieceStraightpiece
Straightpiece
 
9789740332725
97897403327259789740332725
9789740332725
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 

โครงงาน

  • 1. ประเภทของโวหาร การเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่าง ๆ กันแล้วแต่ชนิดของข้อความ โวหารอาจจาแนก ตามลักษณะ ของข้อความหรือเนื้อหาเป็นประเภทต่าง ๆได้ ดังนี้ 1. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้บอกกล่าว เล่าเรื่อง อธิบาย หรือบรรยายเรื่องราว เหตุการณ์ ตลอดจนความรู้ต่าง ๆ อย่างละเอียด เป็นการกล่างถึงเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องกัน โดยชี้ให้เห็นถึงสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์ สาเหตุที่ก่อให้เกิด เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม บุคคลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่เกิดจากเหตุการณ์นั้น เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระอย่างแจ่มแจ้งชัดเจน เนื้อหา ที่บรรยายอาจเป็นเรื่องที่สมมุติหรือเรื่องจริงก็ได้ เรื่องที่ใช้บรรยายโวหาร ได้แก่ การเขียนตารา รายงาน บทความ เรื่องเล่า จดหมาย บันทึก ชีวประวัติ ตานาน เหตุการณ์ บรรยายภาพ บรรยายธรรมชาติ บรรยายบุคลิกลักษณะบุคคล สถานที่ รายงานหรือจดหมายเหตุ การรายงานข่าว การอธิบายความหมายของคา การอธิบายกระบวนการ การแนะนา วิธีปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ เป็นต้น ตัวอย่างบรรยายโวหาร ภูเขาไฟฟูจิเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในประเทศญี่ปุ่นมาหลายศตวรรษแล้ว แต่แรกภูเขานี้เป็นที่เคารพบู ชาของชนพื้นเมืองเผ่าไอนุซึ่งปัจจุบันยังอยู่ตามหมู่เกาะฮอกไกโด ซึ่งเป็นเกาะใหญ่ ที่อยู่เหนือสุดชาวไอนุขนานนาม ภูเขานี้ตามชื่อเทพธิดา “ฟูชิ”( fuchi) ผู้เป็นเทพธิดาแห่งอัคคี ชาวญี่ปุ่นยังคงนับถือภูเขาไฟฟูจิต่อมา และเรียกชื่อตามที่พวกไอนุตั้งไว้ บรรดาผู้นับถือศาสนาชินโตเชื่อว่าในธรรมชาติทุกรูปแบบจะมีเทพ หรือ กามิ ( kami) สถิตอยู่ แต่เทพที่สถิตในภูเขาจะศักดิ์สิทธิ์เป็นพิเศษ ภูเขาฟูจิซึ่งสูงที่สุดและงามที่สุดในประเทศ จึงได้รับความเคารพเป็นพิเศษ เพราะถือว่าเป็นสถานที่สถิตของทวยเทพ เป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างความ ลึกลับของสวรรค์ และความเป็นจริงของโลกมนุษย์ (เกศกานดา จตุรงคโชค (บรรณาธิการ): โลกพิสดาร แดนพิศวง)
  • 2. 2. อธิบายโวหาร คือ โวหารที่ทาให้ความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งกระจ่างชัดเจนขึ้น มักใช้ในงานเขียนทางวิชาการ และตารับตาราต่าง ๆโดยมีจุดประสงค์จะนาประเด็นที่สงสัยมาอธิบายให้เข้าใจแจ่มแจ้ง การเล่าเรื่องบางตอนถ้ามีประเด็นใดที่เป็นปัญหาก็อาจใช้อธิบายโวหารเสริมความตอนนั้นจนเรื่องกระจ่างชั ดเจนขึ้น บางท่านจึงถือว่าอธิบายโวหารเป็นส่วนหนึ่งของบรรยายโวหาร อธิบายโวหารนี้มักใช้ในการอธิบายกระบวนการ การวิเคราะห์หรือจาแนกเนื้อหาออกเป็นประเภท หรือเป็นพวก และการอธิบายความหมายของคา (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ บรรณาธิการ, 2548, หน้า 48) การอธิบายมีหลายลักษณะ เช่น การอธิบายตามลาดับขั้น การอธิบายด้วยการให้นิยาม หรือคาจากัดค วาม การยกตัวอย่าง การเปรียบเทียบ การชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน และการใช้อุปกรณ์หรือภาษาประกอบ สุภัค มหาวรการ (2546, หน้า11- 14) กล่าวถึง หลักการเขียนอธิบายโวหารที่ดี มีการชี้รายละเอียดของเรื่องได้ชัดเจนและครบถ้วน มีการอ้า งเหตุผลต่าง ๆ อย่างชัดเจนและเป็นเหตุเป็นผลกันดี มีการจัดลาดับขั้นตอนของเรื่องราวได้ดี ไม่วกวน และใช้ภาษาที่เข้า ใจง่ายและถูกต้อง ตัวอย่างการอธิบาย ...ศิลปินหรือผู้สร้างศิลปะก็คือหน่วยหนึ่งของสังคม ที่สาคัญได้แก่กลไกทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ กา รต่อสู้กับอิทธิพลดังกล่าวเป็นเรื่องซับซ้อนใหญ่โต เป็นต้นว่า ศิลปินและนักเขียนมีขอบข่าย แห่งเสรีภาพได้แค่ไหน เมื่อผู้ผลิตงานศิลปะจาเป็นต้องยังชีพจากผลงานของเขาด้วย เขาจะมีทางแก้ปัญหาป ากท้องของตัวเองอย่างไร โดยเฉพาะในสังคมแบบทุนนิยม นากจากนี้ ปัญหาสาคัญอีกข้อหนึ่งก็คือ เมื่อศิ ลปะเป็นงานที่เสนอแก่สาธารณชนในแง่การค้า ปฏิปักษ์สาคัญยิ่งของศิลปะเพื่อชีวิตน่าจะมิใช่ศิลปะเพื่องา นศิลปะ แต่เป็นศิลปะสุกเอาเผากินซึ่งมุ่งมอมเมา ประชาชนให้หนีจากความเป็นจริงของชีวิตมาสู่โลกของกามารมณ์ หรือเรื่องตื่นเต้นหวือหวาไร้สาระซึ่งขา ยดี ติดตลาดและแพร่หลายในหมู่ประชาชน (ณรงค์ จันทร์เรือง: ศิลปะเพื่อชาติ) 3. พรรณนาโวหาร
  • 3. คือ โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟัง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานที่และแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆเป็นต้น การใช้พรรณนาโวหาร ควรมีความประณีตในการเลือกใช้ถ้อยคาสานวนที่ไพเราะเพราะพริ้ง เล่นคา เล่นอักษร ใช้ถ้อยคาทั้งเสียง และความหมายให้ตรงกับความรู้สึกที่ต้องการพรรณนา รู้จักปรุงแต่งถ้อยคา ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ ใช้โวหารเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจน รู้จักเลือกเฟ้นเนื้อหาว่าส่วน ใดควรนามาพรรณนา ต้องเข้าใจเนื้อหาที่จะพรรณนาเป็นอย่างดี และพรรณนาให้เป็นไปตามอารมณ์ควา มรู้สึก โดยไม่เสแสร้ง บางกรณีอาจต้องใช้อุปมาโวหารหรือสาธกโวหารประกอบด้วย เสียงน้าใสไหลเย็นกระเซ็นเซาะ ซัดแก่งเกาะคลื่นเกลียวเลี้ยวซ้ายขวา สุดแนวหินก็ไหลรินตกลงมา สู่ธาราเบื้องล่างอย่างงดงาม สายน้าสวยรวนรินเป็นฟองคลื่น ละอองชื้นสาดไปไกลเกินห้าม ต้องแสงทองที่สาดส่องเป็นรุ้งงาม ทุกเมื่อยามน้าไม่เคยเหือดแห้งไป ตัวอย่างพรรณนาโวหาร เขาใช้แขนยันพื้นดิน อาการเหนื่อยอ่อน กลิ่นน้าฝนบนใบหญ้าและกลิ่นไอดินโซนเข้าจมูกวาบหวิว อยากให้มีใครซักคนผ่านมาพบ เพื่อพาเขากลับไปหาหมอในหมู่บ้าน มดหลายตัวเดินสวนขบวนผ่านไปมา มันไม่มีทีท่าจะสนใจเขาเลยแม้แต่น้อย เขามองดูมันอย่างเลื่อนลอยทาไมมัน จึงเฉยเมยกับฉัน มันคงรู้แน่ ฉันอยากให้มันเป็นคนจริงๆ ฉันจะต้องกลับบ้านให้ได้ เขาคิดพลางเหม่งมองดูยอดสนของหมู่บ้าน หาดเสี้ยวเห็นอยู่ไม่ไกล ดวงอาทิตย์สีแดงเข้มกาลังคล้อยลงเหนือยอดไม้ทางทิศตะวันตก (นิคม รายวา: คนบนต้นไม้) 4. อุปมาโวหาร
  • 4. คือ โวหารที่กล่าวเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจความหมาย อารมณ์ความรู้สึก หรือเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น มักใช้ประกอบโวหารประเภทอื่น เช่น เทศนาโวหาร บรรยายโวหาร โดยเฉพาะพรรณนาโวหาร เพราะจะช่วยให้รสของถ้อยคาและรสของเนื้อความไพเราะสละสลวยยิ่งขึ้น ทั้งสารที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม การเปรียบเทียบอาจเปรียบความเหมือนกัน หรือคล้ายคลึงกัน เปรียบเทียบความขัดแย้ง หรือลักษณะตรงกันข้าม หรือเปรียบเทียบโดยให้ผู้รับสารโยง ความคิดหนึ่งไปสู่ อีกความคิดหนึ่ง โดยอาจกล่าวลอย ๆ หรืออาจใช้คาแสดงการเปรียบเทียบ ซึ่งมีอยู่หลากหลาย เช่น เหมือน เสมือน คล้าย ดุจ ดัง ดั่ง ดุจดั่ง ราว ดูราว ปาน เพียง ประหนึ่ง เช่น เฉก ฯลฯ การใช้อุปมาโวหารควรเลือกใช้ถ้อยคาที่เข้าใจง่าย และสละสลวย แสดงการเปรียบเทียบได้ถูกต้อง เหมาะสมกับเนื้อหา และจังหวะ ลีลา ซึ่งอาจกล่าวลอย ๆ ก็ได้ เนื้อหาที่จะเปรียบเทียบควรเป็นเนื้อหา ที่อธิบายให้เข้าใจได้ยาก เปรียบเทียบกับสิ่งที่เข้าใจได้ง่าย หรือสิ่งที่ผู้รับสารรู้ดีอยู่แล้ว และข้อความที่จะยกมา เปรียบเทียบ (อุปไมย) กับข้อความที่นามาเปรียบเทียบ (อุปมา) จะต้องเหมาะสมกัน อุปมาโวหารใช้เป็นโวหาร เสริมบรรยายโวหาร พรรณนาโวหารและเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนและน่าอ่านยิ่งขึ้น ตัวอย่างอุปมาโวหาร …ดังนี้เจ้าจะเห็นได้ว่าเมียที่พ่อจัดหาให้มีตระกูล สมชาติ สมเชื้อกันดี เพราะตระกูลของเราก็มั่งมี มีคนนับหน้าถือตา ญาติพี่น้องทั้งฝ่ายบิดามารดาของนางก็บริบูรณ์ รูปร่างงามหาตาหนิมิได้ ผมดาราวกับแมลงผึ้ง หน้าเปล่งปลั่งดั่งดวงจันทร์ เนตรประหนึ่งตากวาง จมูกแม้นดอกงา ฟันเทียบไข่มุก ริมฝีปากเพียงผลตาลึงสุก เสียงหวานปานนกโกกิลา ขาคือลากล้วย เอวเหมาะเจาะไม่อ้วนเกิน เวลาย่างเดินแคล่วคล่องมีสง่าเสมอช้างทรง เพราะฉะนั้นเจ้าจะหาทางตาหนิขัดข้องมิได้เลย... (เสฐียรโกเศศ: กามนิต) 5. สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจนโดยการยกตัวอย่างหรือเรื่องราวประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ เพื่อสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนักแน่น สมเหตุสมผล ทาให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระในสิ่งที่พูด หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรือน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ตัวอย่างหรือเรื่องราว ที่ยกขึ้นประกอบอาจเป็นเรื่องสั้น ๆหรือเรื่องราวยาว ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม เช่น ประสบการณ์ตรงของผู้ส่งสาร เรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ นิทาน ตานาน วรรณคดี เป็นต้น สาธกโวหารมักใช้เป็นอุทาหรณ ์์ประกอบอยู่ในเทศนาโวหาร หรืออธิบายโวหาร การใช้สาธกโวหาร ควรใช้ถ้อยคาภาษาที่เข้าใจง่าย รู้จักเลือกว่าเนื้อหาตอนใดควรใช้ตัวอย่าง หรือเรื่องราวประกอบ และตัวอย่างที่ยกมา ประกอบต้องสอดคล้องกับเนื้อหา และเป็นเรื่องที่น่าสนใจ
  • 5. สมเหตุสมผล สาธกโวหารมักแทรกอยู่ในโวหารอื่น ๆ เช่น บรรยายโวหาร หรือเทศนาโวหาร ตัวอย่างสาธกโวหาร ถ้าเธอไม่อยากอยู่กับฉันจริงจริง ยินยอมทุกสิ่ง ให้เธอทิ้งไป ฉันขอแค่เพียงให้เวลาหน่อยได้ไหม อยากเล่านิทานให้ฟัง ชาวนาคนหนึ่งมีชีวิตลาพัง ไปเจองูเห่ากาลังใกล้ตายสงสาร จึงเก็บเอามาเลี้ยงโดยไม่รู้ สุดท้ายจะเป็นอย่างไร คอยดูแลด้วยความจริงใจ ห่วงใย และคอยให้ความรักเป็นกังวลว่ามันจะตาย เฝ้าคอยเอาใจทุกอย่าง แต่สุดท้ายชาวนาผู้ชายใจดี ด้วยความ ที่เขาไว้ใจ น่าเสียดายกลับต้องตาย ด้วยพิษงู นิทานมันบอกให้ยอมรับความจริง ว่ามีบางสิ่ง ไม่ควรไว้ใจ อะไรบางอย่างที่ทาดีซักแค่ไหน ไม่เชื่อง ไม่รัก ไม่จริง (สีฟ้า:ชาวนากับงูเห่า) 6. เทศนาโวหาร คือ โวหารที่มุ่งโน้มน้าวใจให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม เป็นการกล่าวในเชิงอบรม แนะนาสั่งสอน เสนอทัศนะ ชี้แนะ หรือโน้มน้าว ชักจูงใจโดยยกเหตุผล ตัวอย่าง หลักฐาน ข้อมูล ข้อเท็จจริง สุภาษิต คติธรรมและสัจธรรม ต่าง ๆ มาแสดงเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจที่กระจ่างจนยอมรับเชื่อถือมีความเห็น คล้อยตาม และปฏิบัติตาม โวหารประเภทนี้มักใช้ ในการให้โอวาท อบรมสั่งสอน อธิบายหลักธรรม และคาชี้แจงเหตุผล ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเสนอทัศนะ เป็นต้น การใช้เทศนาโวหารควรใช้ถ้อยคาภาษาให้เหมาะสมกับผู้รับสาร ใช้ถ้อยคาในการชี้แจงเหตุผลที่กล่าวถึง ให้แจ่มแจ้งชัดเจน และชี้แจงไปตามลาดับไม่สับสนวกวน ควรใช้ โวหารอื่นประกอบด้วยเพื่อให้ชวนติดตาม การเขียนเทศนาโวหารต้องใช้โวหารประเภทต่าง ๆ มาประกอบอาจจะใช้บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร รวมทั้งอุปมาโวหารและสาธกโวหารด้วย มักใช้กับ งานเขียนประเภทบทความชักจูงใจ หรือบทความแสดง ความคิดเห็น ความเรียง เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่มักจะเข้าใจว่าเทศนาโวหารเป็นโวหารที่มุ่งสั่งสอน ตัวอย่างเทศนาโวหาร “…เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้า นการรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางการ ออกเสียง คือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีการใช้ หมายความว่า วิธีใช้คามาประกอบเป็นประโยคนับเป็นปัญหาที่สาคัญ ปัญหาที่สาม คือ ความร่ารวยในคาของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ารวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้...”
  • 6. “...ในปัจจุบันนี้ปรากฏว่า ได้มีการใช้ถ้อยคาออกจะฟุ่มเฟือยและไม่ตรงกับความอันแท้จริง อยู่เนือง ๆ ทั้งการออกเสียงก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่อยให้เป็นดังนี้ภาษาของเราก็มีแต่ จะทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้เองเป็นสิ่งประเสริฐอยู่แล้ว เป็นมรดกอันมีค่าตกทอดมาถึงเรา ทุกคนมีหน้าที่จะต้องรักษาไว้...” (พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) ภาพพจน์เป็นการใช้ถ้อยคาสานวนโวหาร ที่ทาให้ผู้รับสารเกิดมโนภาพ เกิดจินตนาการ ถ่ายทอดอารมณ์ ทาให้มีความรู้สึกร่วมตรงตามความปรารถนาของผู้ส่งสาร ประเภทของภาพพจน์ ภาพพจน์ที่ใช้ในการสื่อสารมีอยู่มากมายหลายประเภท ดังนี้ 1.อุปมา (simile) คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งที่โดยธรรมชาติแล้วมีสภาพที่แตกต่างกัน แต่มีลักษณะเด่น ร่วมกันและใช้คาที่มีความหมายว่า เหมือนหรือคล้ายเป็นคาแสดงการเปรียบเทียบเพื่อเน้นให้เห็นจริงว่า เหมือนอย่างไร ในลักษณะใด ได้แก่คาว่า เหมือน เสมือน ดัง ดั่ง คล้าย ดูราว เหมือนดั่ง ดุจ ประดุจ ประหนึ่ง ละม้าย เสมอ ปาน เพียง ราว ราวกับ พ่าง เทียบ เทียม เฉก เช่น ฯลฯ เป็นการกล่าว การเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันหรือต่างกันใช้คู่กับ อุปไมย อุปมา คือ สิ่งหรือข้อความที่ยกมากล่าวมาเปรียบ อุปไมย คือ สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ตัวอย่าง เช่น -สวยเหมือนนางฟ้า -เงียบราวกับป่าช้า -ร้องไห้ปานใจจะขาด -ชนเหมือนลิง -ลูกคนนี้ละม้ายพ่อ -ดีใจเหมือนปลากระดี่ได้น้า -เธอว่ายน้าเก่งเหมือนปลา -เพลงนี้ไพเราะราวกับเพลงจากสวรรค์ -มีความรู้เหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน -ดวงหน้านวลกระจ่างดุจดวงจันทร์ -ผมของเธอดาเหมือนความมืดแห่งราตรี -เขาตะโกนเสียงดังดั่งฟ้าร้อง 2. อุปลักษณ์ (metaphor)
  • 7. คือการเปรียบเทียบด้วยการกล่าวว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ไม่กล่าวตรง ๆ ใช้การกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอง เป็นการเปรียบเทียบโดยนาเอาลักษณะ สาคัญของสิ่งที่ต้องการเปรียบเทียบ มาเปรียบเทียบทันทีโดยโดยไม่ต้องมีคาเชื่อมโยง ไม่ต้องใช้คาแสดงการเปรียบเทียบ ไม่มีคาแสดงความหมายว่า เหมือน ปรากฏอยู่ หรือถ้าจาเป็นต้องใช้ก็ใช้คาว่า “เป็น” หรือ “คือ” อุปลักษณ์ เป็นการใช้ถ้อยคาภาษา ในเชิงการเปรียบเทียบที่มีชั้นเชิงและลึกซึ้งกว่าอุปมา นิยมใช้กับ ภาษ-หนังสือพิมพ์ เพราะใช้คาน้อย ได้ความมากเหมาะกับเนื้อที่อันจากัด ตัวอย่าง เช่น -ปัญญาคือดาบสู้ดัสกร -ครู คือแม่พิมพ์ของชาติ -ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากาลัง -ลูกคือดวงตาดวงใจของพ่อแม่ -ครูเป็นแสงประทีปส่องทางให้ลูกศิษย์ เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด -อูฐเป็นเรือของทะเลทราย -กีฬาเป็นยาวิเศษ -เขาเป็นมือขวาของผู้อานวยการทีเดียวนะ -เขาเป็นสิงห์ทะเลทราย -เหยี่ยวข่าวกาลังบินว่อนอยู่แถวทาเนียบรัฐบาล -ทหารเป็นรั้วของชาติ -ทองกวาวทิ้งไร่นามาอยู่ป่าคอนกรีต -ใบมีดโกนอาบน้าผึ้ง -มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ -เลือดในอกแท้ ๆ ยังทิ้งได้ -ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ -สวรรค์ในอก นรกในใจ 3. บุคลาธิษฐาน (personification) คือ การสมมุติให้สิ่งที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด สิ่งที่เป็นนามธรรม หรือสัตว์ให้มีสติปัญญา อารมณ์หรือกิริยาอาการ เหมือนมนุษย์เพื่อให้สิ่งเหล่านั้นเกิดปรากฏการณ์เสมือนเป็น สิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึก นึกคิดขึ้นมา แล้วสื่อความรู้สึกออกมาให้ผู้รับสารได้รับรู้เป็นการเปรียบเทียบโดยนาเอาสิ่งไม่มีชีวิต หรือมีชีวิต แต่ไม่ใช่คนมากล่าวถึงราว กับเป็นคน หรือทากิริยาอาการอย่างคน “ภาพพจน์ประเภทนี้จะทาให้สิ่งที่กล่าวถึง มีชีวิตชีวา ผู้รับสารจะมองเห็นภาพสิ่งนั้นเคลื่อนไหวทากิริยาอาการเหมือนคนมีอารมณ์ มีความรู้สึก และสามารถสื่อความรู้สึกนั้นมาสู่ผู้รับสารได้” (นภาลัย สุวรรณธาดา, 2533: 295) ตัวอย่าง เช่น -ฟ้าหัวเราะเยาะข้าชะตาหรือ -ซุงหลายท่อนนอนร้องไห้ที่ชายป่า
  • 8. -ดาวกะพริบตาเยาะเราหรือดาวเอ๋ย -ตั๊กแตนโยงโย่ ผูกโบว์ทัดดอกจาปา -จานและช้อนวิ่งกันขวักไขว่ไปทั่วห้องครัว -พระจันทร์ยิ้มทักทายกับหมู่ดาวบนท้องฟ้า -เสียงรถไฟหวีดร้องครวญครางมาแต่ไกล -พระจันทร์ยิ้มทักทายกับหมู่ดาวบนท้องฟ้า -ต้นอ้อหยอกล้อกับสายลมอย่างสนุกสนาน -เปลวไฟกลืนกินบ้านทั้งหลังเข้าไปอย่างหิวโหย -ทะเลไม่เคยหลับใหล เธอตอบได้ไหม ไฉนจึงตื่น -ความซื่อสัตย์ วิ่งพล่านอยู่ในคณะรัฐมนตรีชุดนี้ 4. อติพจน์ (hyperbole) คือ การกล่าวเกินจริง ซึ่งเป็นความรู้สึกหรือความคิดของผู้กล่าวที่ต้องการย้าความหมาย ให้ผู้ฟังรู้สึกว่าหนักแน่นจริงจัง เน้นความรู้สึกให้เด่นชัดและน่าสนใจ โดยไม่เน้นความเป็นจริง เพราะต้องการ ให้ผู้รับ สารเกิดความซาบซึ้งและประทับใจ ซึ่งอาจจะมากเกินไปหรือน้อยเกินไปก็ได้ เพื่อเน้นความ รู้สึกมากกว่า ความเป็นเหตุเป็นผล มุ่งเร้าอารมณ์และความรู้สึกสะเทือนใจเป็นสาคัญ ภาพพจน์ประเภทนี้นิยม ใช้สื่อสารกันมากทั้งการพูดและการเขียน ที่ต้องการแสดงความรู้สึกเพราะสามารถเปรียบเทียบให้เห็นภาพ ได้ง่าย ตัวอย่าง เช่น -ร้อนตับจะแตก -คิดถึงใจจะขาด -ไอ้หมัดทะลวงไส้ -เขาโกรธเธอจนอกระเบิด -ฉันไม่มีเงินซักแดงเดียว -ฉันหิวไส้จะขาดแล้วนะ -อากาศร้อนจนแทบจะสุกอยู่แล้วสายเลือด -พวกเราจะสู้จนเลือดหยดสุดท้าย -หนาวกระดูกจะหลุด -แหม รอตั้งโกฏิปีแล้ว -การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า -ลาบากเลือดตาแทบกระเด็น -เหนื่อยสายตัวแทบขาด -แม้จะเอาช้างมาฉุดฉันก็ไม่ไป -เธอร้องไห้น้าตาจะเป็น - คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก 5. นามนัย (Metonymy)
  • 9. คือ การเปรียบเทียบโดยการใช้คาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติที่เป็นจุดเด่น หรือลักษณะสาคัญ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือการกล่าวถึงส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งใด ๆ มากล่าวแทนคาที่ใช้เรียก สิ่งนั้นโดยตรง เป็นภาพพจน์ที่ใช้เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้คาธรรมดา ๆซ้าซาก ตัวอย่าง เช่น -ปากกาคมกว่าดาบ -เขาเป็นกระต่ายที่หมายจันทร์ (กระต่ายแทนชายหนุ่มฐานะต่าต้อยจันทร์แทนผู้หญิงที่มีฐานะสูงส่ง) -เขาเป็นมือขวาของท่านนายกฯ (มือขวาแทนคนสนิทที่ไว้ใจ) -เขารักเก้าอี้ยิ่งกว่าชื่อเสียงเกียรติยศ (เก้าอี้แทนตาแหน่ง) -คนเราจะต้องต่อสู้ตั้งอยู่ในเปลจนไปสู่ป่าช้า (เปล แทนการเกิด, ป่าช้า แทนการตาย) -น้าตาและรอยยิ้มอยู่คู่ชีวิตมนุษย์เสมอมา (น้าตาแทนความทุกข์, รอยยิ้มแทนความสุข) -เลือดของวีรชนจะจารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ตลอดไป (เลือด แทนการต่อสู้) -คนไทยไม่ยอมให้ใครมาทาลายขวานทองได้ (ขวานทองแทนประเทศไทย) -การจัดสรรงบประมาณควรให้ได้ไปสู่ระดับรากหญ้าจริง ๆ (รากหญ้าแทนประชาชนระดับล่าง) 6. อนุนามมัย (Synecdoche) คือ การกล่าวถึงส่วนย่อยที่มีลักษณะเด่นของสิ่งนั้น ๆ มากล่าวแทนสิ่งที่ต้องการกล่าวถึงทั้งหมด เป็นการเปรียบเทียบโดยนาเอาลักษณะเด่นที่เป็นส่วนหนึ่งมาก ล่าวแทนทั้งหมด ตัวอย่าง เช่น -เขากินหมาก (หมาก หมายถึง หมากพลู ปูน และส่วนผสมอื่น ๆ) -เรื่องนี้ได้กลิ่นตุ ๆว่า คนมีสีอยู่เบื้องหลัง (คนมีสี หมายถึง ข้าราชการ) -มันสมองเหล่านี้มีค่าแก่ประเทศชาติอย่างยิ่ง (มันสมอง หมายถึง ปัญญาชน) -มีการเรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงให้ฉันทนา (ฉันทนา หมายถึง สาวโรงงาน) -เขามีหน้ามีตาในสังคมได้เพราะมีผู้มีอานาจให้การสนับสนุน(มีหน้ามีตา หมายถึง มีเกียรติ) -มือกฎหมาย ปฏิบัติการอย่างไม่เกรงกลัวอิทธิพลใด ๆ(มือกฎหมายหมายถึง ผู้รักษากฎหมาย) -มือที่เปื้อนชอล์คยังคงมุ่งมั่นที่จะสานฝันให้เป็นจริง (มือที่เปื้อนชอล์ค หมายถึง ครู) 7.ปฏิพจน์ (paradox)
  • 10. คือ การใช้ถ้อยคาที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าวร่วมกันได้อย่างกลมกลืนกัน ภาพพจน์ประเภทนี้ผู้รับสารจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์ความหมาย หรือ ตีความจึงจะเข้าใจได้ดี ตัวอย่าง เช่น -ไฟเย็น -เล็กดีรสโต -ชัยชนะของผู้แพ้ -สันติภาพร้อน -ยิ่งรีบก็ยิ่งช้า -หัวเราะร่าน้าตาริน -ความขมขื่นอันหวานชื่น -ไม้งามกระรอกเจาะ -รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ -รักดีหามจั่ว รักชั่วเสา -น้าร้อนปลาเป็นน้าเย็นปลาตาย -แพ้เป็นพระชนะเป็นมาร -เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย -ผู้ดีเดินตรอก ขี้ครอกเดินถนน -น้าร้อนปลาเป็น น้าเย็นปลาตาย -ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด -เสียงกระซิบจากความเงียบ -ชีวิตเต็มไปด้วยความว่างเปล่า 8. สัทพจน์ (onomatopoeia) คือ การใช้ถ้อยคาที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรีเสียงร้องของสัตว์ หรือเลียนเสียงกิริยาอาการต่าง ๆ ของคน การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียน จะช่วยสื่อให้ผู้รับสารรู้สึกเหมือนได้ยินเสียง โดยธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ และเห็นกิริยาอาการของสิ่งนั้น ๆ ด้วย ตัวอย่าง เช่น -ฝนตกแปะ ๆ -เปรี้ยง ๆดังเสียงฟ้าฟาด -ไผ่ซออ้อเอียดเบียดออด -บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว - เครื่องบินครางกระหึ่มมาแต่ไกล - เสียงคลื่นซ่าซัดสาดที่หาดทราย -เสียงปืนดัง ปัง! ปัง! ขึ้นสองนัด -ยุงบินหึ่งหึง อยู่ข้างหูน่าราคาญ -อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง -เจ๊กเฮงเดินลากเกี๊ยะแซะ ๆไปตลอดทาง -ลมพัดกิ่งไม้ระหลังคาบ้านดังแกรกกรากน่ากลัว -มันดังจอกโครม ๆ มันดัง จอก ๆจอก ๆ โครม ๆ -มันร้องดังกระโต้งโฮง มันดังกอก ๆ กอก ๆ กระโต้งโฮง -น้าพุพุ่งซ่าไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียกังวาน เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึ่มโหยห้อยไม้น่าใจหาย 9. ปฏิวาทะ (oxymoron) คือ การใช้คาที่มีความหมายตรงกันข้ามกันหรือขัดแย้งกันมารวมไว้ด้วยกันเพื่อให้มีความหมาย ใหม่ หรือให้ความรู้สึก ขัดแย้งกัน หรือเพิ่มน้าหนักให้แก่ความหมายของคาแรก
  • 11. ตัวอย่าง เช่น -คนในหมู่บ้านนี้กลมเกลียวกันมาก (หมายถึง ความสามัคคี) -แฟนของนายน่าอกใหญ่ฉิบหาย (หมายถึง หน้าอกใหญ่มาก) -ลูกสาวของเขาช่างน่ารักน่าชัง (หมายถึง น่ารักน่าเอ็นดู) -เดชทาคะแนนได้น้อยมาก (หมายถึง น้อยเหลือเกิน) -เธอกาลังหาข้อเท็จจริงในเรื่องนี้อยู่ (หมายถึง ข้อมูลที่เป็นจริง) -คู่หมั้นของหล่อนดีเป็นบ้า (หมายถึง ดีมาก) -แกแต่งตัวเท่ห์ฉิบหาย (หมายถึง เท่ห์มาก) -เขาไม่เคยยินดียินร้ายฉันเลย (หมายถึง เอาใจใส่) -บ้านหลังนี้ข้าหลับตาเห็นหมดแล้วว่าอะไรอยู่ตรงไหนเข้าไปได้เลย (หมายถึง จินตนาการ) 10. สัญลักษณ์ (symbol) คือ การเปรียบเทียบที่เรียกสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยใช้คาอื่นแทน คาที่ใช้เรียกนั้นเกิดจากการเปรียบเทียบและ ตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป อาจเป็นคา ๆ เดียว ข้อความ บุคคลในเรื่อง เป็นเรื่อง เฉพาะตอน หรือเรื่อง ๆ หนึ่งก็ได้ สัญลักษณ์ที่นิยมใช้มีดังนี้ ตัวอย่าง เช่น -สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ -สีดา หมายถึง ความตาย ความโศกเศร้า ความชั่วร้าย -ดอกกุหลาบสีแดง หมายถึง ความรัก -ดอกหญ้า หมายถึง ความต้อยต่า -ดอกมะลิ หมายถึง ความบริสุทธิ์ -ดอกบัว หมายถึง พุทธศาสนา -ดอกทานตะวัน หมายถึง ความอบอุ่น ความรักและความสุข -รวงข้าว หมายถึง ความอ่อนน้อมถ่อมตน -หญ้าแพรก หมายถึง ความงอกงามทางสติปัญญาและความรู้ -น้าค้าง หมายถึง ความบริสุทธิ์ -สุนัขจิ้งจอก หมายถึง คนเจ้าเล่ห์ คนที่ไม่น่าไว้วางใจ -ลา หมายถึง คนโง่ คนที่น่าสงสาร
  • 12. -ปีศาจ แม่มด หมายถึง ความชั่วร้าย -นางฟ้าเทวดา หมายถึง ความดีงาม -นกขมิ้น หมายถึง ผู้ที่ร่อนเร่พเนจร -ผึ้ง มด หมายถึง ความขยันอดทน -เมฆ หมอก หมายถึง อุปสรรค ความเศร้า -ฝน หมายถึง ความเมตตากรุณา ความชุ่มฉ่าสดชื่น -ระฆัง หมายถึง ความมีเกียรติ ความมีชื่อเสียง -สมอ หมายถึง ทหารเรือ -ตราชู หมายถึง ความยุติธรรม -มือไกวเปล หมายถึง แม่ โวหาร หมายถึงถ้อยคาที่ใช้ในการสื่อสารที่เรียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีชั้นเชิงและมีศิลปะ เพื่อสื่อให้ผู้รับสาร รับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึ้ง รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร