SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องจานวนนับ และตัวประกอบ เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์
วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ
ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้
ตัวชี้วัด ค 1.4 ม.1/1 นาความรู้และสมบัติเกี่ยวกับจานวนเต็มไปใช้ในการแก้ปัญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของตัวประกอบของจานวนนับได้
2. หาตัวประกอบของจานวนนับได้
สาระสาคัญ
ตัวประกอบของจานวนนับใด คือ จานวนนับที่หารจานวนนั้นลงตัว
จานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัวคือ 1 และ ตัวเอง เรียกว่า จานวนเฉพาะ
ตัวประกอบที่เป็นจานวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ
การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจาวนนับนั้นในรูปการคูณของ
ตัวประกอบเฉพาะ
สาระการเรียนรู้
1) ตัวประกอบ
2) การหาตัวประกอบ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. การทบทวนการคูณและการหารจานวนนับครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสูตรคูณแม่
ต่าง ๆ พร้อมประเมินผลความแม่นยา ความรวดเร็วในการบอกผลคูณ โดยครูสุ่มเรียกนักเรียนให้ตอบเป็น
รายบุคคล เช่น ผลคูณของจานวน 4 x 7 , 9 x 8 เป็นเท่าไร เป็นต้น
2. นักเรียนจับคู่ช่วยกันทาใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องมากที่สุดเป็นเท่าไร แล้วให้สับเปลี่ยนคู่กันตรวจ
คาตอบ โดยครูเรียกให้นักเรียน ครูจะช่วยแนะนาโดยใช้การซักถามเพื่อให้นักเรียนคิดทบทวนและให้หา
คาตอบใหม่อีกครั้ง หรืออาจจะให้นักเรียนคนอื่นช่วยตอบแทนเมื่อเฉลยคาตอบครบทุกข้อ นักเรียนแต่ละ
คนรับใบกิจกรรมของตนเองคืน ครูสนทนาซักถามประกอบคาอธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้
ระบบในการทางาน ดังนี้
3. นักเรียนคนไหนเขียนการคูณของจานวนนับโดยไม่ได้มีการจัดเรียงค่าจากน้อยไปมาก หรือเรียง
ค่าจากมากไปน้อย เพราะเหตุใด และการเขียนจานวนแบบไม่เป็นระบบอย่างนี้ทาให้เกิดผลเสียกับนักเรียน
หรือไม่อย่างไร นักเรียนคนไหนเขียนคาตอบบางข้อไม่ครบตามจานวน เพราะเหตุใด นักเรียนคนไหนเขียน
รูปการคูณของจานวนนับโดยเรียงค่าจากน้อยไปมาก และการเขียนในลักษณะนี้เกิดผลดีกับการทางานของ
นักเรียนหรือไม่อย่างไร ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อผิดพลาดข้อควรปรับปรุงวิธีการแก้ไข และการ
ทางานที่มีระบบ
4. ครูนากิจกรรม “เรื่องมากที่สุดเป็นเท่าไร ” มาเป็นตัวอย่างโดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบ
คาอธิบาย เพื่อให้นักเรียนเกิดแนวคิดเกี่ยวกับตัวประกอบของจานวนนับ ดังนี้
1 , 2 , 3 , 4 และ 6 เป็นจานวนนับที่หาร 12 ได้ลงตัวใช่หรือไม่
จานวนนับที่หาร 12 ได้ลงตัว จึงเรียก 1 , 2,3,4,6 หรือ 12 ว่า ตัวประกอบของ 12 และเรียก
1,2,3,4,6 และ 12 ว่า ตัวประกอบทั้งหมดของ 12
จานวนนับทั้งหมดที่หาร 18 ได้ลงตัวมีกี่จานวน และเป็นจานวนใดบ้าง 1,2,3,4,6,9 และ 18 เป็น
จานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 18 ได้ลงตัว จึงเรียก 1,2,3,4,6,9 หรือ 18 ว่า ตัวประกอบของ 18 และเรียก
1,2,3,4,6,9 และ 18 ว่า ตัวประกอบทั้งหมดของ 18
คาว่าตัวประกอบกับตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับใด ๆ แตกต่างกัน อย่างไร จงอธิบาย
ครูบอกบทนิยามของคาว่า ตัวประกอบของจานวนนับใด ๆ คือ จานวนนับที่หารจานวนนับนั้นได้
ลงตัว พร้อมให้ตัวอย่างตามเนื้อหาในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม . 1 เล่ม 1 เรื่องตัว
ประกอบ
กระบวนการวัดผลประเมินผล
- สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน
- การทาใบงาน ใบกิจกรรม
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
- ใบงาน
- หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นายพิศดาร วงศ์บุญยัง)
ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก
บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู้
……………….…………………………………………………………….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………..
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………
..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา
………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..……………
………………………………………………………………………………………………………………………..………………….………
………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์)
………../…………./………..
ใบกิจกรรมที่ 1.1
มากที่สุดเป็นเท่าไร
คาชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
1. เขียนจานวนนับที่กาหนด ให้อยู่ในรูปการคูณของจานวนนับสองจานวนคูณกัน
2. เขียนจานวนนับที่สามารถหารจานวนนับที่กาหนดให้ได้ลงตัว (ดังตัวอย่าง)
3. เมื่อทาครบทุกข้อแล้วให้นักเรียนเขียน ล้อมรอบจานวนที่มีจานวนนับที่หารลงตัวได้
มากที่สุด
จานวน
นับ รูปการคูณของจานวนนับ
รูปการคูณ
ทั้งหมด
จานวนนับที่หารไม่ลง
ตัว
จานวนนับที่หาร
ลงตัวทั้งหมด
12 1 x 12, 2 x 6 , 3 x 4 3 1,2,,3,4,6 และ 12 6
18
24
27
28
32
36
44
45
46
48
50
51
54
55
59
61
62
71
79
83
แบบบันทึกคะแนน
ที่ ชื่อ - สกุล
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
รวม
ค่าเฉลี่ย
สรุป
ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องจานวนนับ และตัวประกอบ เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์
วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...…
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ
ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมรวมถึงใช้ในการ
พิจารณาความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้จากการคานวณ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. หาตัวประกอบของจานวนนับได้
2. บอกได้ว่าจานวนใดเป็นจานวนเฉพาะ
3. แยกตัวประกอบของจานวนนับได้
สาระสาคัญ
ตัวประกอบของจานวนนับใด คือ จานวนนับที่หารจานวนนั้นลงตัว
จานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัวคือ 1 และ ตัวเอง เรียกว่า จานวนเฉพาะ
ตัวประกอบที่เป็นจานวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ
การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจาวนนับนั้นในรูปการคูณของ
ตัวประกอบเฉพาะ
สาระการเรียนรู้
การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด ๆ เป็นการเขียนจานวนนับในรูปการคูณของตัวประกอบ
เฉพาะ
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเรื่องจานวนเฉพาะโดยใช้การถาม – ตอบ
2. ครูกาหนดจานวน แล้วให้นักเรียนเขียนให้อยู่ในรูปผลคูณของจานวนเฉพาะ เช่น 8,12 ,26,45
ครูบอกให้นักเรียนรู้ว่าคาตอบในข้อ 2) เรียกว่า การแยกตัวประกอบ แล้วให้นักเรียนบอกความหมายของ
การแยกตัวประกอบ
3. ครูให้ตัวอย่างการแยกตัวประกอบ ทั้งการตั้งหารและแผนภูมิต้นไม้ โดยใช้การถาม – ตอบ
ประกอบการอธิบาย
4. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายว่าวิธีแยกตัวประกอบทั้งสองวิธีนี้ วิธีใด
ดีกว่ากัน เพราะเหตุใด ครูสรุปประเด็นสาคัญที่นักเรียนยังไม่ได้กล่าวถึง
5. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายขั้นตอนการแยกตัวประกอบโดยวิธีการต่าง ๆ
6. ครูให้นักเรียนทาแบบตรวจสอบความเข้าใจ จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
คณิตศาสตร์
7. นักเรียนทากิจกรรมจากใบงานและครู นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้ร่วมกัน
กระบวนการวัดผลประเมินผล
- สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน
- การทาใบงาน ใบกิจกรรม
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นายพิศดาร วงศ์บุญยัง)
ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก
บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู้
……………….…………………………………………………………….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………..
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………
..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา
………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..……………
………………………………………………………………………………………………………………………..………………….………
………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์)
………../…………./………..
ใบงาน
มากที่สุดเป็นเท่าไร
คาชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
1. เขียนจานวนนับที่กาหนด ให้อยู่ในรูปการคูณของจานวนนับสองจานวนคูณกัน
2. เขียนจานวนนับที่สามารถหารจานวนนับที่กาหนดให้ได้ลงตัว (ดังตัวอย่าง)
3. เมื่อทาครบทุกข้อแล้วให้นักเรียนเขียน ล้อมรอบจานวนที่มีจานวนนับที่หารลงตัว
ได้มากที่สุด
จานวน
นับ
รูปการคูณของจานวนนับ
รูปการคูณ
ทั้งหมด
จานวนนับที่หารไม่ลง
ตัว
จานวนนับที่หาร
ลงตัวทั้งหมด
12 1 x 12, 2 x 6 , 3 x 4 3 1,2,,3,4,6 และ 12 6
18
24
27
28
32
36
44
45
46
48
50
51
54
55
59
61
62
71
79
83
ใบงาน
ตะแกรงร่องจานวนนับ
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรม ดังต่อไปนี้
1. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 2 ถึง 21 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่ 1
ของทุกกลุ่ม)
2. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 22 ถึง 41 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่ 2
ของทุกกลุ่ม)
3. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 42 ถึง 61 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่
3 ของทุกกลุ่ม)
4. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 62 ถึง 81 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่
4 ของทุกกลุ่ม)
5. นับจานวนตัวประกอบของจานวนทุกจานวนที่หาได้ของแต่ละกลุ่ม พร้อมตรวจคาตอบ
6. เขียนจานวนของแต่ละข้อข้างต้นลงในกระดาษคาตอบ ตามช่องที่กาหนด ดังนี้
เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 2 ตัวเลขในช่องที่ 1
เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 3 ตัวลงในช่องที่ 2
เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 4 ตัวเลขในช่องที่ 3
เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 5 ตัวลงในช่องที่ 4
ทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนถึง 21 (หรือ 41 , 64 , 81 ตามจานวนของแต่ละกลุ่ม)
7. นาผลงานกลับกลุ่มเดิม ร่วมกันซักถาม อภิปราย จนสมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความเข้าใจ
8. รวบรวมผลงานของทุกคน นาเสนอเป็นผลงานกลุ่ม
กระดาษคาตอบของกลุ่มนักเรียนที่ได้รับข้อที่....................
ตัวประกอบของจานวนนับ
2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
ตะแกรงร่อนจานวนนับ
ช่องที่
1
ช่องที่
2
ช่องที่
3
ช่องที่
4
ช่องที่
5
ช่องที่
6
ช่องที่
7
ช่องที่
8
ช่องที่
9
ช่องที่
10
ช่องที่
11
ช่องที่
12
กระดาษคาตอบของกลุ่มนักเรียนที่ได้รับข้อที่...............
จานวนนับ ตัวประกอบทั้งหมด จานวนตัวประกอบ
ตะแกรงร่อนจานวนนับ
ช่องที่
1
ช่องที่
2
ช่องที่
3
ช่องที่
4
ช่องที่
5
ช่องที่
6
ช่องที่
7
ช่องที่
8
ช่องที่
9
ช่องที่
10
ช่องที่
11
ช่องที่
12
กระดาษคาตอบของกลุ่มนักเรียนที่ได้รับข้อที่ ..................
ตะแกรงร่อนจานวนนับตั้งแต่ 2 ถึง 81
ตะแกรงร่องจานวนนับ
ช่องที่
1
ช่องที่
2
ช่องที่
3
ช่องที่
4
ช่องที่
5
ช่องที่
6
ช่องที่
7
ช่องที่
8
ช่องที่
9
ช่องที่
10
ช่องที่
11
ช่องที่
12
แบบบันทึกคะแนน
ที่ ชื่อ - สกุล
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
รวม
ค่าเฉลี่ย
สรุป
ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์
วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...…
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์
เศษส่วนและทศนิยม
ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดง
จานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์(scientific notation)
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
การดาเนินการต่างๆและใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.1/1 บวก ลบ คูณ หาร จานวนเต็ม และนาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ
สมเหตุสมผลของคาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การบวก การลบ การคูณ การ
หาร และบอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของ
จานวนเต็ม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. หาตัวประกอบร่วมของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้
2. หาตัวประกอบร่วมมากที่สุดของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้
3. บอกความหมายของ ห.ร.ม. ตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้
4. หา ห.ร.ม. ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้
สาระสาคัญ
ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปเป็นการหาตัวหารร่วม หรือตัว
ประกอบร่วมที่มากที่สุดของจานวนนับเหล่านั้น จึงต้องอาศัยการหาตัวประกอบร่วมในการหา ห .ร.ม. ของ
จานวนนับได้โดยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การพิจารณาตัวประกอบ การตั้งหาร การแยกตัวประกอบ
สาระการเรียนรู้
1. การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ
2. การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการตั้งหารสั้น
3. การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารสองหลัก
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยยกโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการจัดผลไม้ใส่กล่อง เช่น แม่ค้า ต้องการจัด
ส้มโชกุนเกรด A 50 ผล และส้มธนาธร 75 ผล ใส่ในกล่อง โดยกล่องแต่ละใบ ต้องมีจานวนผลไม้
เท่ากัน และไม่มีผลไม้ชนิดใดเหลือเศษอยู่เลย จะจัดได้อย่างไรบ้าง และจะใช้กล่อง น้อยที่สุดกี่กล่อง
2. ครูใช้คาถามฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ ความเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ในการแก้ปัญหา พร้อม
บอกเหตุผล
2.1) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 2 ผล
2.2) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 5 ผล
2.3) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 10 ผล
2.4) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 15 ผล
2.5) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 25 ผล
3. ครูใช้คาถาม เพื่อให้นักเรียนสังเกตและสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง 50 และ 75 เช่น จงบอกตัว
ประกอบทั้งหมด 50 และ 75
จงหาตัวประกอบร่วมทั้งหมด 50 และ 75
จงหาตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด 50 และ 75
4. ครูทบทวนการแยกตัวประกอบโดยใช้การถาม – ตอบประกอบคาอธิบาย ให้บทนิยามของ ห .ร.
ม. และให้ยกตัวอย่างการหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีตั้งหารสั้น โดยครูใช้การถาม – ตอบ
ประกอบคาอธิบาย แล้วให้นักเรียนสังเกต พร้อมบอกเหตุผลว่า 3, 3 และ 5 ที่นามาใช้ในการหารสั้น ว่า
จานวนทั้งสามนี้มีความสัมพันธ์อย่างไรกับ 90 , 135 และ 225 (มีความสัมพันธ์ คือ เป็นตัวประกอบร่วม
ของ 90,135 และ 225)
5. ก่อนจะให้ตัวอย่างการหา ห.ร.ม. เช่น 141 กับ 799 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและผลคูณของ
จานวนเฉพาะให้นักเรียนหา ห.ร.ม. เช่น 141 กับ 799 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของกลวิธี
(Algorithm) ที่ต้องนามาใช้ให้เหมาะสม นักเรียนจะเห็นว่าวิธีแยกตัวประกอบและวิธีหารสั้นจะมีความไม่
เหมาะสมในการนามาใช้หา ห .ร.ม. ของจานวนที่มาก ๆ หรือน้อยๆ แต่ควรใช้วิธีตั้งหารสองหลัก หรือวิธี
ของยูคลิด ครูควรใช้คาถาม หรือให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย
6. ครูให้ยกตัวอย่างการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยูคลิด โดยบอกขั้นตอนพร้อมแสดงวิธีทาและใช้การ
ถาม-ตอบ ประกอบคาอธิบาย ให้นักเรียนสรุปและเปรียบเทียบการหา ห.ร.ม. โดยวิธีต่าง ๆ
7. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถกัน และกาหนดหมายเลข 1-4
ให้แก่ทุกคนในกลุ่ม ดังนี้
หมายเลข 1 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ค่อนข้างอ่อน
หมายเลข 2 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ปานกลาง
หมายเลข 3 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ค่อนข้างสูง
หมายเลข 4 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์สูง
ให้นักเรียนทุกคนในแต่ละกลุ่มทาแบบตรวจสอบความเข้าที่ 1 – 4 จากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์
ซึ่งแต่ละคนมีบทบาทต่างกัน ดังนี้
คนที่ 1 อ่านคาถามและแยกแยะคาสั่งที่โจทย์กาหนด
คนที่ 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคาถาม อธิบายให้ได้มาซึ่งคาตอบ
คนที่ 3 รวบรวมข้อมูลและปฏิบัติตามคนที่ 2 และเขียนคาตอบ
คนที่ 4 สรุปขั้นตอนการทาทั้งหมด
8. เมื่อนักเรียนทุกคนในกลุ่มทาแบบตรวจสอบเสร็จแล้ว ให้นาเฉลยจากครูไปตรวจและให้คะแนน
9. ครูแจกใบกิจกรรม เครือข่าย ห .ร.ม. ให้นักเรียนทา โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการ
ทางานด้วยตนเอง เมื่อเสร็จแล้วให้นาคาตอบส่งให้ครู
10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. แบบต่าง ๆ ถ้ามีนักเรียนคนใดยังสงสัยให้ซักถาม
จากเพื่อนในกลุ่ม หรือซักถามครูจนเข้าใจ
กระบวนการวัดผลประเมินผล
- สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน
- การทาใบงาน ใบกิจกรรม
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
- ใบงาน
- หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นายพิศดาร วงศ์บุญยัง)
ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก
บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู้
……………….…………………………………………………………….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………..
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………
..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา
………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..……………
………………………………………………………………………………………………………………………..………………….……….
………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์)
………../…………./………..
ใบกิจกรรม ที่ 1.2
เครือข่าย ห.ร.ม.
คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนหา ห.ร.ม. ของจานวนที่อยู่ในวงรีรอบนอกแต่ละคู่ แล้วนาคาตอบใส่ในวงกลม
2. นาจานวนที่อยู่ภายในวงกลมทั้งสามจานวนมาหา ห.ร.ม. แล้วใส่ลงในสามเหลี่ยมและตาราง
คาตอบด้านล่าง แล้วส่งให้ครู
แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2
แผนภาพที่ 3 แผนภาพที่ 4
แผนภาพที่ 1 1 2 3 4
คาตอบ
273 78
126 360
54 168
210 693
84 70
154 105
220 330
115
5
462
104
5
110
76 114
104
5
285
114
0
399
ตารางคาตอบ
เฉลยใบงาน/ใบกิจกรรม ห.ร.ม.
กลุ่มที่............................
คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนหา ห.ร.ม. ของจานวนที่อยู่ในวงรีรอบนอกแต่ละคู่ แล้วนาคาตอบใส่ในวงกลม
2. นาจานวนที่อยู่ภายในวงกลมทั้งสามจานวนมาหา ห.ร.ม. แล้วใส่ลงในสามเหลี่ยมและตาราง
คาตอบด้านล่าง แล้วส่งให้ครู
แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2
แผนภาพที่ 3 แผนภาพที่ 4
แผนภาพที่ 1 1 2 3 4
คาตอบ 3 7 11 1
273 78
126 360
54 168
210 693
84 70
154 105
220 330
115
5
462
104
5
110
76 114
104
5
285
114
0
399
ตารางคาตอบ
แบบบันทึกคะแนน
ที่ ชื่อ - สกุล
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
รวม
ค่าเฉลี่ย
สรุป
ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์
วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...…
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์
เศษส่วนและทศนิยม
ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดง
จานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์(scientific notation)
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ
ดาเนินการต่างๆและใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.1/1 บวก ลบ คูณ หาร จานวนเต็ม และนาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความสม
เหตุผลของคาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การบวก การลบ การคูณ การหาร
และบอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของจานวน
เต็ม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของ ค.ร.น. ของจานวนนับได้
2. หา ค.ร.น. ของจานวนนับได้
สาระสาคัญ
การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปเป็นการหาพหุคูณร่วมที่น้อย
ที่สุดของจานวนนับ ต้องอาศัยการหาพหุคูณร่วมในการหา ค .ร.น. ของจานวนนับ โดยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การ
พิจารณาพหุคูณ การแยกตัวประกอบ และ การตั้งหาร
สาระการเรียนรู้
1. การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ
2. การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหารสั้น
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูเล่านิทานหรือกาหนดโจทย์ปัญหา ดังนี้
มีชาวประมง 2 คน เป็นเพื่อนกัน ชื่อ นายเอ และนายบี นายเอจะนาเรือออกหาปลาและกลับเข้า
ฝั่งทุก ๆ 4 วัน ส่วนนายบี ซึ่งมีเรือประมงที่ใหญ่กว่าจะออกหาปลาและกลับมาทุก ๆ 5 วัน ถ้านายเอ
และนายบี ออกหาปลาพร้อมกันเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2546 อยากทราบว่านายเอ และนายบี จะนาเรือกลับ
เข้าฝั่งพร้อมกันได้บ้างหรือไม่ ถ้ากลับเข้าฝั่งพร้อมกันได้ควรจะเป็นวันที่เท่าไรบ้าง
2. ครูใช้คาถามฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ คาดเดาความเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ พร้อมบอก
เหตุผล เช่น
2.1) ในเดือนมกราคม ชาวประมง ทั้ง 2 คน จะนาเรือกลับเข้าฝั่งพร้อมกันได้
2.2) ในเดือนกุมภาพันธ์ชายทั้งสองจะนาเรือกลับเข้าฝั่งพร้อมกัน 2 ครั้ง
2.3) ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายน ชายทั้งสองคนจะนาเรือกลับเข้าฝั่งพร้อมกัน 3 ครั้ง
3. ให้นักเรียนแต่ละคนเสนอแนะวิธีการแก้ปัญหา ถ้าไม่มีนักเรียนคนไหนตอบได้ครูอาจจะแนะนา
เป็นแนวทางให้นักเรียน โดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบคาอธิบาย เช่น
3.1) หาวันที่กลับเข้าฝั่งของนายเอ และนายบี ในเดือนมกราคม
นายเอ จะกลับเข้าฝั่งในวันที่ 4,8,12,16,20,24,28
นายบีจะกลับเข้าฝั่งในวันที่ 5,10,15,20,25,30
3.2) วันที่นายเอ และนายบีกลับเข้าฝั่งพร้อมกัน คือ วันที่ 20 มกราคม
4. ครูใช้คาถามให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่าง 4,5 และ 20 และให้นาข้อสรุปที่ได้มา
ตรวจสอบความถูกต้องกับจานวนอื่น ๆ แล้ว
5. ครูให้ตัวอย่าง โดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบคาอธิบาย
6. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถกัน และกาหนดหมายเลข 1 – 4
ให้แก่ทุกคนในกลุ่ม นักเรียนในแต่ละกลุ่มทาแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.5 จากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์
ม. 1 เล่ม 1 โดยใช้ความรู้และวิธีการต่าง ๆ ที่ศึกษามา เมื่อนักเรียนทาเสร็จแล้วให้ตรวจ คาตอบจากครู
และรวมคะแนนส่งให้ครู
7. ครูแจกซองใบกิจกรรม ถอดรหัส ค .ร.น. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มทาการแบ่ง
ซองกิจกรรมให้กับนักเรียนแต่ละคน ให้นักเรียนที่ได้ซองกิจกรรมหมายเลขเดียวกันมาทางานร่วมกัน ดังนี้
จากโจทย์แต่ละข้อในซองกิจกรรม ให้นักเรียนหา ค.ร.น. ซองจานวนในแต่ละข้อ
นาคาตอบที่ได้จากแต่ละข้อไปเปรียบเทียบกับตารางที่กาหนดให้ว่าตรงกับอักษรตัวใด
ให้นาตัวอักษรที่ได้ไปใส่ในตารางคาตอบที่กาหนดให้
เมื่อทาครบทุกข้อแล้วให้นาคาศัพท์ที่ได้ส่งครูเป็นผลงานของกลุ่ม
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ และถ้ามีนักเรียนคนใดยังสงสัยให้ซักถามครูจนกว่าจะเข้าใจ
กระบวนการวัดผลประเมินผล
- สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน
- การทาใบงาน ใบกิจกรรม
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
- ใบงาน
- หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์
- ห้องสมุดโรงเรียน
- ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นายพิศดาร วงศ์บุญยัง)
ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก
บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู้
……………….…………………………………………………………….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………..
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………
..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา
………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..……………
………………………………………………………………………………………………………………………..………………….………
………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..…
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์)
………../…………./………..
แบบบันทึกคะแนน
ที่ ชื่อ - สกุล
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
รวม
ค่าเฉลี่ย
สรุป
ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
ใบกิจกรรม ที่ 1.3
ถอดรหัส ค .ร.น. ซองที่ 1
1. 72 ,48
2. 264 , 504
3. 104 , 56 , 72
4. 375 , 300 , 675
5. 39 , 52 , 91 ,117
6,552 13,500 5,544 144 3,276
G E I T R
1 2 3 4 5ข้อ
ซองที่ 2
1. 75 , 105
2. 1,176 , 1,960
3. 450 , 720 , 1,170
4. 7,644 , 4,368 , 2,184
5. 180 , 90 , 126 , 36
5,880 46,800 1,260 525 61,152
O U E M S
1 2 3 4 5ข้อ
คาตอบ
ซองที่ 3
1. 9 , 11
2. 243 , 405
3. 2,205 , 2,940
4. 756 , 252 , 924
5. 324 , 972 , 756
1,215 8,820 6,840 99 8,316
O R E H S
1 2 3 4 5
ข้อ
ซองที่ 4
1. 30 , 24
2. 306 , 144
3. 435 , 261
4. 378 , 594 , 702
5. 16 , 28 , 44 , 68
2,448 120 20,944 1,305 54,054
N S E A K
1 2 3 4 5ข้อ
คำตอบ

More Related Content

What's hot

พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
Benjapron Seesukong
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์Kam Nimpunyagampong
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
คุณครูพี่อั๋น
 
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
ทับทิม เจริญตา
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
Khunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
กวดวิชา บ้านครูจอย
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)Doungchan Miki
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
ssusera0c3361
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
ariga sara
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2
แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2
แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
0755 l2 2
0755 l2 20755 l2 2
0755 l2 2
 
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 

Viewers also liked

ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับpairtean
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
คน ผ่านทาง
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับsumonrat_2325
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
Suphot Chaichana
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
Tutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
Tutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
Tutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
Tutor Ferry
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
ใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับ
ใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับ
ใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับ
kanjana2536
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
warijung2012
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1champsilde
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
Tutor Ferry
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
Tutor Ferry
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
Tutor Ferry
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
sayunwanlor
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
กอล์ฟ กุยช่ายเอกวิทย์
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
ใบความรู้บทที่ 1 สมบัติของจำนวนนับ
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับ
ใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับ
ใบงานที่1ตัวประกอบของจำนวนนับ
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1ใบความรู้ หน่วยที่ 1
ใบความรู้ หน่วยที่ 1
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 

Similar to หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1

13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184
nha2509
 
integer
integerinteger
integer
nha2509
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
กอล์ฟ กุยช่ายเอกวิทย์
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
Toongneung SP
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
เนาวรัตน์ กาบขุนทด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
Bhayubhong
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
kanjana2536
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
guychaipk
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja
 
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
วรรณิภา ไกรสุข
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
kamonporn_kiriya
 

Similar to หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1 (20)

13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184
 
integer
integerinteger
integer
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับหน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องจานวนนับ และตัวประกอบ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์ วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………... มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.4 ม.1/1 นาความรู้และสมบัติเกี่ยวกับจานวนเต็มไปใช้ในการแก้ปัญหา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของตัวประกอบของจานวนนับได้ 2. หาตัวประกอบของจานวนนับได้ สาระสาคัญ ตัวประกอบของจานวนนับใด คือ จานวนนับที่หารจานวนนั้นลงตัว จานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัวคือ 1 และ ตัวเอง เรียกว่า จานวนเฉพาะ ตัวประกอบที่เป็นจานวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจาวนนับนั้นในรูปการคูณของ ตัวประกอบเฉพาะ สาระการเรียนรู้ 1) ตัวประกอบ 2) การหาตัวประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การทบทวนการคูณและการหารจานวนนับครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสูตรคูณแม่ ต่าง ๆ พร้อมประเมินผลความแม่นยา ความรวดเร็วในการบอกผลคูณ โดยครูสุ่มเรียกนักเรียนให้ตอบเป็น รายบุคคล เช่น ผลคูณของจานวน 4 x 7 , 9 x 8 เป็นเท่าไร เป็นต้น 2. นักเรียนจับคู่ช่วยกันทาใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่องมากที่สุดเป็นเท่าไร แล้วให้สับเปลี่ยนคู่กันตรวจ คาตอบ โดยครูเรียกให้นักเรียน ครูจะช่วยแนะนาโดยใช้การซักถามเพื่อให้นักเรียนคิดทบทวนและให้หา คาตอบใหม่อีกครั้ง หรืออาจจะให้นักเรียนคนอื่นช่วยตอบแทนเมื่อเฉลยคาตอบครบทุกข้อ นักเรียนแต่ละ คนรับใบกิจกรรมของตนเองคืน ครูสนทนาซักถามประกอบคาอธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ ระบบในการทางาน ดังนี้ 3. นักเรียนคนไหนเขียนการคูณของจานวนนับโดยไม่ได้มีการจัดเรียงค่าจากน้อยไปมาก หรือเรียง ค่าจากมากไปน้อย เพราะเหตุใด และการเขียนจานวนแบบไม่เป็นระบบอย่างนี้ทาให้เกิดผลเสียกับนักเรียน หรือไม่อย่างไร นักเรียนคนไหนเขียนคาตอบบางข้อไม่ครบตามจานวน เพราะเหตุใด นักเรียนคนไหนเขียน รูปการคูณของจานวนนับโดยเรียงค่าจากน้อยไปมาก และการเขียนในลักษณะนี้เกิดผลดีกับการทางานของ
  • 2. นักเรียนหรือไม่อย่างไร ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อผิดพลาดข้อควรปรับปรุงวิธีการแก้ไข และการ ทางานที่มีระบบ 4. ครูนากิจกรรม “เรื่องมากที่สุดเป็นเท่าไร ” มาเป็นตัวอย่างโดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบ คาอธิบาย เพื่อให้นักเรียนเกิดแนวคิดเกี่ยวกับตัวประกอบของจานวนนับ ดังนี้ 1 , 2 , 3 , 4 และ 6 เป็นจานวนนับที่หาร 12 ได้ลงตัวใช่หรือไม่ จานวนนับที่หาร 12 ได้ลงตัว จึงเรียก 1 , 2,3,4,6 หรือ 12 ว่า ตัวประกอบของ 12 และเรียก 1,2,3,4,6 และ 12 ว่า ตัวประกอบทั้งหมดของ 12 จานวนนับทั้งหมดที่หาร 18 ได้ลงตัวมีกี่จานวน และเป็นจานวนใดบ้าง 1,2,3,4,6,9 และ 18 เป็น จานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 18 ได้ลงตัว จึงเรียก 1,2,3,4,6,9 หรือ 18 ว่า ตัวประกอบของ 18 และเรียก 1,2,3,4,6,9 และ 18 ว่า ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 คาว่าตัวประกอบกับตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับใด ๆ แตกต่างกัน อย่างไร จงอธิบาย ครูบอกบทนิยามของคาว่า ตัวประกอบของจานวนนับใด ๆ คือ จานวนนับที่หารจานวนนับนั้นได้ ลงตัว พร้อมให้ตัวอย่างตามเนื้อหาในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม . 1 เล่ม 1 เรื่องตัว ประกอบ กระบวนการวัดผลประเมินผล - สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน - การทาใบงาน ใบกิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ - ใบงาน - หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียน - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
  • 3. ความเห็นของผู้บังคับบัญชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ (นายพิศดาร วงศ์บุญยัง) ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ……………….…………………………………………………………….……………………………………………………………………… …………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………….. ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………… ..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา ………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..…………… ………………………………………………………………………………………………………………………..………………….……… ………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ลงชื่อ ผู้สอน (นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์) ………../…………./………..
  • 4. ใบกิจกรรมที่ 1.1 มากที่สุดเป็นเท่าไร คาชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ 1. เขียนจานวนนับที่กาหนด ให้อยู่ในรูปการคูณของจานวนนับสองจานวนคูณกัน 2. เขียนจานวนนับที่สามารถหารจานวนนับที่กาหนดให้ได้ลงตัว (ดังตัวอย่าง) 3. เมื่อทาครบทุกข้อแล้วให้นักเรียนเขียน ล้อมรอบจานวนที่มีจานวนนับที่หารลงตัวได้ มากที่สุด จานวน นับ รูปการคูณของจานวนนับ รูปการคูณ ทั้งหมด จานวนนับที่หารไม่ลง ตัว จานวนนับที่หาร ลงตัวทั้งหมด 12 1 x 12, 2 x 6 , 3 x 4 3 1,2,,3,4,6 และ 12 6 18 24 27 28 32 36 44 45 46 48 50 51 54 55 59 61 62 71 79 83
  • 5. แบบบันทึกคะแนน ที่ ชื่อ - สกุล แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน รวม ค่าเฉลี่ย สรุป ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องจานวนนับ และตัวประกอบ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์ วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...… มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 1.3 ม.1/1 ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมรวมถึงใช้ในการ พิจารณาความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้จากการคานวณ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. หาตัวประกอบของจานวนนับได้ 2. บอกได้ว่าจานวนใดเป็นจานวนเฉพาะ 3. แยกตัวประกอบของจานวนนับได้ สาระสาคัญ ตัวประกอบของจานวนนับใด คือ จานวนนับที่หารจานวนนั้นลงตัว จานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัวคือ 1 และ ตัวเอง เรียกว่า จานวนเฉพาะ ตัวประกอบที่เป็นจานวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจาวนนับนั้นในรูปการคูณของ ตัวประกอบเฉพาะ สาระการเรียนรู้ การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด ๆ เป็นการเขียนจานวนนับในรูปการคูณของตัวประกอบ เฉพาะ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนเรื่องจานวนเฉพาะโดยใช้การถาม – ตอบ 2. ครูกาหนดจานวน แล้วให้นักเรียนเขียนให้อยู่ในรูปผลคูณของจานวนเฉพาะ เช่น 8,12 ,26,45 ครูบอกให้นักเรียนรู้ว่าคาตอบในข้อ 2) เรียกว่า การแยกตัวประกอบ แล้วให้นักเรียนบอกความหมายของ การแยกตัวประกอบ 3. ครูให้ตัวอย่างการแยกตัวประกอบ ทั้งการตั้งหารและแผนภูมิต้นไม้ โดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบการอธิบาย 4. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายว่าวิธีแยกตัวประกอบทั้งสองวิธีนี้ วิธีใด ดีกว่ากัน เพราะเหตุใด ครูสรุปประเด็นสาคัญที่นักเรียนยังไม่ได้กล่าวถึง 5. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายขั้นตอนการแยกตัวประกอบโดยวิธีการต่าง ๆ
  • 7. 6. ครูให้นักเรียนทาแบบตรวจสอบความเข้าใจ จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ 7. นักเรียนทากิจกรรมจากใบงานและครู นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้ร่วมกัน กระบวนการวัดผลประเมินผล - สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน - การทาใบงาน ใบกิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ - หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียน - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
  • 8. ความเห็นของผู้บังคับบัญชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ (นายพิศดาร วงศ์บุญยัง) ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ……………….…………………………………………………………….……………………………………………………………………… …………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………….. ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………… ..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา ………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..…………… ………………………………………………………………………………………………………………………..………………….……… ………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้สอน (นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์) ………../…………./………..
  • 9. ใบงาน มากที่สุดเป็นเท่าไร คาชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ 1. เขียนจานวนนับที่กาหนด ให้อยู่ในรูปการคูณของจานวนนับสองจานวนคูณกัน 2. เขียนจานวนนับที่สามารถหารจานวนนับที่กาหนดให้ได้ลงตัว (ดังตัวอย่าง) 3. เมื่อทาครบทุกข้อแล้วให้นักเรียนเขียน ล้อมรอบจานวนที่มีจานวนนับที่หารลงตัว ได้มากที่สุด จานวน นับ รูปการคูณของจานวนนับ รูปการคูณ ทั้งหมด จานวนนับที่หารไม่ลง ตัว จานวนนับที่หาร ลงตัวทั้งหมด 12 1 x 12, 2 x 6 , 3 x 4 3 1,2,,3,4,6 และ 12 6 18 24 27 28 32 36 44 45 46 48 50 51 54 55 59 61 62 71 79 83
  • 10. ใบงาน ตะแกรงร่องจานวนนับ คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 2 ถึง 21 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่ 1 ของทุกกลุ่ม) 2. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 22 ถึง 41 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่ 2 ของทุกกลุ่ม) 3. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 42 ถึง 61 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่ 3 ของทุกกลุ่ม) 4. เขียนตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับตั้งแต่ 62 ถึง 81 ลงในตาราง (สาหรับนักเรียนคนที่ 4 ของทุกกลุ่ม) 5. นับจานวนตัวประกอบของจานวนทุกจานวนที่หาได้ของแต่ละกลุ่ม พร้อมตรวจคาตอบ 6. เขียนจานวนของแต่ละข้อข้างต้นลงในกระดาษคาตอบ ตามช่องที่กาหนด ดังนี้ เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 2 ตัวเลขในช่องที่ 1 เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 3 ตัวลงในช่องที่ 2 เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 4 ตัวเลขในช่องที่ 3 เขียนจานวนนับที่มีตัวประกอบ 5 ตัวลงในช่องที่ 4 ทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนถึง 21 (หรือ 41 , 64 , 81 ตามจานวนของแต่ละกลุ่ม) 7. นาผลงานกลับกลุ่มเดิม ร่วมกันซักถาม อภิปราย จนสมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความเข้าใจ 8. รวบรวมผลงานของทุกคน นาเสนอเป็นผลงานกลุ่ม
  • 11. กระดาษคาตอบของกลุ่มนักเรียนที่ได้รับข้อที่.................... ตัวประกอบของจานวนนับ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ตะแกรงร่อนจานวนนับ ช่องที่ 1 ช่องที่ 2 ช่องที่ 3 ช่องที่ 4 ช่องที่ 5 ช่องที่ 6 ช่องที่ 7 ช่องที่ 8 ช่องที่ 9 ช่องที่ 10 ช่องที่ 11 ช่องที่ 12
  • 13. กระดาษคาตอบของกลุ่มนักเรียนที่ได้รับข้อที่ .................. ตะแกรงร่อนจานวนนับตั้งแต่ 2 ถึง 81 ตะแกรงร่องจานวนนับ ช่องที่ 1 ช่องที่ 2 ช่องที่ 3 ช่องที่ 4 ช่องที่ 5 ช่องที่ 6 ช่องที่ 7 ช่องที่ 8 ช่องที่ 9 ช่องที่ 10 ช่องที่ 11 ช่องที่ 12
  • 14. แบบบันทึกคะแนน ที่ ชื่อ - สกุล แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน รวม ค่าเฉลี่ย สรุป ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์ วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...… มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดง จานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์(scientific notation) มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดาเนินการต่างๆและใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.1/1 บวก ลบ คูณ หาร จานวนเต็ม และนาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ สมเหตุสมผลของคาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การบวก การลบ การคูณ การ หาร และบอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของ จานวนเต็ม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. หาตัวประกอบร่วมของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้ 2. หาตัวประกอบร่วมมากที่สุดของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้ 3. บอกความหมายของ ห.ร.ม. ตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้ 4. หา ห.ร.ม. ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปได้ สาระสาคัญ ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปเป็นการหาตัวหารร่วม หรือตัว ประกอบร่วมที่มากที่สุดของจานวนนับเหล่านั้น จึงต้องอาศัยการหาตัวประกอบร่วมในการหา ห .ร.ม. ของ จานวนนับได้โดยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การพิจารณาตัวประกอบ การตั้งหาร การแยกตัวประกอบ สาระการเรียนรู้ 1. การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ 2. การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการตั้งหารสั้น 3. การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารสองหลัก กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยยกโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการจัดผลไม้ใส่กล่อง เช่น แม่ค้า ต้องการจัด ส้มโชกุนเกรด A 50 ผล และส้มธนาธร 75 ผล ใส่ในกล่อง โดยกล่องแต่ละใบ ต้องมีจานวนผลไม้ เท่ากัน และไม่มีผลไม้ชนิดใดเหลือเศษอยู่เลย จะจัดได้อย่างไรบ้าง และจะใช้กล่อง น้อยที่สุดกี่กล่อง 2. ครูใช้คาถามฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ ความเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ในการแก้ปัญหา พร้อม บอกเหตุผล
  • 16. 2.1) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 2 ผล 2.2) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 5 ผล 2.3) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 10 ผล 2.4) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 15 ผล 2.5) แม่ค้าจัดผลไม้ใส่กล่อง กล่องละ 25 ผล 3. ครูใช้คาถาม เพื่อให้นักเรียนสังเกตและสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง 50 และ 75 เช่น จงบอกตัว ประกอบทั้งหมด 50 และ 75 จงหาตัวประกอบร่วมทั้งหมด 50 และ 75 จงหาตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด 50 และ 75 4. ครูทบทวนการแยกตัวประกอบโดยใช้การถาม – ตอบประกอบคาอธิบาย ให้บทนิยามของ ห .ร. ม. และให้ยกตัวอย่างการหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีตั้งหารสั้น โดยครูใช้การถาม – ตอบ ประกอบคาอธิบาย แล้วให้นักเรียนสังเกต พร้อมบอกเหตุผลว่า 3, 3 และ 5 ที่นามาใช้ในการหารสั้น ว่า จานวนทั้งสามนี้มีความสัมพันธ์อย่างไรกับ 90 , 135 และ 225 (มีความสัมพันธ์ คือ เป็นตัวประกอบร่วม ของ 90,135 และ 225) 5. ก่อนจะให้ตัวอย่างการหา ห.ร.ม. เช่น 141 กับ 799 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและผลคูณของ จานวนเฉพาะให้นักเรียนหา ห.ร.ม. เช่น 141 กับ 799 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของกลวิธี (Algorithm) ที่ต้องนามาใช้ให้เหมาะสม นักเรียนจะเห็นว่าวิธีแยกตัวประกอบและวิธีหารสั้นจะมีความไม่ เหมาะสมในการนามาใช้หา ห .ร.ม. ของจานวนที่มาก ๆ หรือน้อยๆ แต่ควรใช้วิธีตั้งหารสองหลัก หรือวิธี ของยูคลิด ครูควรใช้คาถาม หรือให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย 6. ครูให้ยกตัวอย่างการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยูคลิด โดยบอกขั้นตอนพร้อมแสดงวิธีทาและใช้การ ถาม-ตอบ ประกอบคาอธิบาย ให้นักเรียนสรุปและเปรียบเทียบการหา ห.ร.ม. โดยวิธีต่าง ๆ 7. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถกัน และกาหนดหมายเลข 1-4 ให้แก่ทุกคนในกลุ่ม ดังนี้ หมายเลข 1 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ค่อนข้างอ่อน หมายเลข 2 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ปานกลาง หมายเลข 3 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ค่อนข้างสูง หมายเลข 4 เป็นนักเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์สูง ให้นักเรียนทุกคนในแต่ละกลุ่มทาแบบตรวจสอบความเข้าที่ 1 – 4 จากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งแต่ละคนมีบทบาทต่างกัน ดังนี้ คนที่ 1 อ่านคาถามและแยกแยะคาสั่งที่โจทย์กาหนด คนที่ 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคาถาม อธิบายให้ได้มาซึ่งคาตอบ คนที่ 3 รวบรวมข้อมูลและปฏิบัติตามคนที่ 2 และเขียนคาตอบ คนที่ 4 สรุปขั้นตอนการทาทั้งหมด 8. เมื่อนักเรียนทุกคนในกลุ่มทาแบบตรวจสอบเสร็จแล้ว ให้นาเฉลยจากครูไปตรวจและให้คะแนน 9. ครูแจกใบกิจกรรม เครือข่าย ห .ร.ม. ให้นักเรียนทา โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการ ทางานด้วยตนเอง เมื่อเสร็จแล้วให้นาคาตอบส่งให้ครู
  • 17. 10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวิธีการหา ห.ร.ม. แบบต่าง ๆ ถ้ามีนักเรียนคนใดยังสงสัยให้ซักถาม จากเพื่อนในกลุ่ม หรือซักถามครูจนเข้าใจ กระบวนการวัดผลประเมินผล - สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน - การทาใบงาน ใบกิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ - ใบงาน - หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียน - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
  • 18. ความเห็นของผู้บังคับบัญชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ (นายพิศดาร วงศ์บุญยัง) ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ……………….…………………………………………………………….……………………………………………………………………… …………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………….. ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………… ..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา ………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..…………… ………………………………………………………………………………………………………………………..………………….………. ………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..…. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้สอน (นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์) ………../…………./………..
  • 19. ใบกิจกรรม ที่ 1.2 เครือข่าย ห.ร.ม. คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนหา ห.ร.ม. ของจานวนที่อยู่ในวงรีรอบนอกแต่ละคู่ แล้วนาคาตอบใส่ในวงกลม 2. นาจานวนที่อยู่ภายในวงกลมทั้งสามจานวนมาหา ห.ร.ม. แล้วใส่ลงในสามเหลี่ยมและตาราง คาตอบด้านล่าง แล้วส่งให้ครู แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2 แผนภาพที่ 3 แผนภาพที่ 4 แผนภาพที่ 1 1 2 3 4 คาตอบ 273 78 126 360 54 168 210 693 84 70 154 105 220 330 115 5 462 104 5 110 76 114 104 5 285 114 0 399 ตารางคาตอบ
  • 20. เฉลยใบงาน/ใบกิจกรรม ห.ร.ม. กลุ่มที่............................ คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนหา ห.ร.ม. ของจานวนที่อยู่ในวงรีรอบนอกแต่ละคู่ แล้วนาคาตอบใส่ในวงกลม 2. นาจานวนที่อยู่ภายในวงกลมทั้งสามจานวนมาหา ห.ร.ม. แล้วใส่ลงในสามเหลี่ยมและตาราง คาตอบด้านล่าง แล้วส่งให้ครู แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2 แผนภาพที่ 3 แผนภาพที่ 4 แผนภาพที่ 1 1 2 3 4 คาตอบ 3 7 11 1 273 78 126 360 54 168 210 693 84 70 154 105 220 330 115 5 462 104 5 110 76 114 104 5 285 114 0 399 ตารางคาตอบ
  • 21. แบบบันทึกคะแนน ที่ ชื่อ - สกุล แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน รวม ค่าเฉลี่ย สรุป ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
  • 22. แผนการจัดการเรียนรู้สาระคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของจานวนนับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์ วันที่……..………… เดือน ……….……...……..…….. พ.ศ . ……………...… มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและเปรียบเทียบ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดง จานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์(scientific notation) มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ ดาเนินการต่างๆและใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 1.2 ม.1/1 บวก ลบ คูณ หาร จานวนเต็ม และนาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความสม เหตุผลของคาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของจานวน เต็ม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของ ค.ร.น. ของจานวนนับได้ 2. หา ค.ร.น. ของจานวนนับได้ สาระสาคัญ การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของจานวนนับตั้งแต่สองจานวนขึ้นไปเป็นการหาพหุคูณร่วมที่น้อย ที่สุดของจานวนนับ ต้องอาศัยการหาพหุคูณร่วมในการหา ค .ร.น. ของจานวนนับ โดยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การ พิจารณาพหุคูณ การแยกตัวประกอบ และ การตั้งหาร สาระการเรียนรู้ 1. การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ 2. การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหารสั้น กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเล่านิทานหรือกาหนดโจทย์ปัญหา ดังนี้ มีชาวประมง 2 คน เป็นเพื่อนกัน ชื่อ นายเอ และนายบี นายเอจะนาเรือออกหาปลาและกลับเข้า ฝั่งทุก ๆ 4 วัน ส่วนนายบี ซึ่งมีเรือประมงที่ใหญ่กว่าจะออกหาปลาและกลับมาทุก ๆ 5 วัน ถ้านายเอ และนายบี ออกหาปลาพร้อมกันเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2546 อยากทราบว่านายเอ และนายบี จะนาเรือกลับ เข้าฝั่งพร้อมกันได้บ้างหรือไม่ ถ้ากลับเข้าฝั่งพร้อมกันได้ควรจะเป็นวันที่เท่าไรบ้าง 2. ครูใช้คาถามฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ คาดเดาความเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้ พร้อมบอก เหตุผล เช่น 2.1) ในเดือนมกราคม ชาวประมง ทั้ง 2 คน จะนาเรือกลับเข้าฝั่งพร้อมกันได้
  • 23. 2.2) ในเดือนกุมภาพันธ์ชายทั้งสองจะนาเรือกลับเข้าฝั่งพร้อมกัน 2 ครั้ง 2.3) ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายน ชายทั้งสองคนจะนาเรือกลับเข้าฝั่งพร้อมกัน 3 ครั้ง 3. ให้นักเรียนแต่ละคนเสนอแนะวิธีการแก้ปัญหา ถ้าไม่มีนักเรียนคนไหนตอบได้ครูอาจจะแนะนา เป็นแนวทางให้นักเรียน โดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบคาอธิบาย เช่น 3.1) หาวันที่กลับเข้าฝั่งของนายเอ และนายบี ในเดือนมกราคม นายเอ จะกลับเข้าฝั่งในวันที่ 4,8,12,16,20,24,28 นายบีจะกลับเข้าฝั่งในวันที่ 5,10,15,20,25,30 3.2) วันที่นายเอ และนายบีกลับเข้าฝั่งพร้อมกัน คือ วันที่ 20 มกราคม 4. ครูใช้คาถามให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่าง 4,5 และ 20 และให้นาข้อสรุปที่ได้มา ตรวจสอบความถูกต้องกับจานวนอื่น ๆ แล้ว 5. ครูให้ตัวอย่าง โดยใช้การถาม – ตอบ ประกอบคาอธิบาย 6. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถกัน และกาหนดหมายเลข 1 – 4 ให้แก่ทุกคนในกลุ่ม นักเรียนในแต่ละกลุ่มทาแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.5 จากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 โดยใช้ความรู้และวิธีการต่าง ๆ ที่ศึกษามา เมื่อนักเรียนทาเสร็จแล้วให้ตรวจ คาตอบจากครู และรวมคะแนนส่งให้ครู 7. ครูแจกซองใบกิจกรรม ถอดรหัส ค .ร.น. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มทาการแบ่ง ซองกิจกรรมให้กับนักเรียนแต่ละคน ให้นักเรียนที่ได้ซองกิจกรรมหมายเลขเดียวกันมาทางานร่วมกัน ดังนี้ จากโจทย์แต่ละข้อในซองกิจกรรม ให้นักเรียนหา ค.ร.น. ซองจานวนในแต่ละข้อ นาคาตอบที่ได้จากแต่ละข้อไปเปรียบเทียบกับตารางที่กาหนดให้ว่าตรงกับอักษรตัวใด ให้นาตัวอักษรที่ได้ไปใส่ในตารางคาตอบที่กาหนดให้ เมื่อทาครบทุกข้อแล้วให้นาคาศัพท์ที่ได้ส่งครูเป็นผลงานของกลุ่ม ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ และถ้ามีนักเรียนคนใดยังสงสัยให้ซักถามครูจนกว่าจะเข้าใจ กระบวนการวัดผลประเมินผล - สังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มของนักเรียน - การทาใบงาน ใบกิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ - ใบงาน - หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ - ห้องสมุดโรงเรียน - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
  • 24. ความเห็นของผู้บังคับบัญชา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ (นายพิศดาร วงศ์บุญยัง) ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนบ้านพุ่มแก บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ……………….…………………………………………………………….……………………………………………………………………… …………………………………………………………………..…………..………………….………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………..…………..………………….………………………………….. ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………..…………..………………….…………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………..…………..………………….……………………………………… ..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหา และพัฒนา ………………………………………………..………………….……………………………………..…………………………..…………… ………………………………………………………………………………………………………………………..………………….……… ………………………………………..………………….………………………………………………………….………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ผู้สอน (นางสาวสุปราณี เขื่อนขันธ์) ………../…………./………..
  • 25. แบบบันทึกคะแนน ที่ ชื่อ - สกุล แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน รวม ค่าเฉลี่ย สรุป ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมินคะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
  • 26. ใบกิจกรรม ที่ 1.3 ถอดรหัส ค .ร.น. ซองที่ 1 1. 72 ,48 2. 264 , 504 3. 104 , 56 , 72 4. 375 , 300 , 675 5. 39 , 52 , 91 ,117 6,552 13,500 5,544 144 3,276 G E I T R 1 2 3 4 5ข้อ
  • 27. ซองที่ 2 1. 75 , 105 2. 1,176 , 1,960 3. 450 , 720 , 1,170 4. 7,644 , 4,368 , 2,184 5. 180 , 90 , 126 , 36 5,880 46,800 1,260 525 61,152 O U E M S 1 2 3 4 5ข้อ คาตอบ
  • 28. ซองที่ 3 1. 9 , 11 2. 243 , 405 3. 2,205 , 2,940 4. 756 , 252 , 924 5. 324 , 972 , 756 1,215 8,820 6,840 99 8,316 O R E H S 1 2 3 4 5 ข้อ
  • 29. ซองที่ 4 1. 30 , 24 2. 306 , 144 3. 435 , 261 4. 378 , 594 , 702 5. 16 , 28 , 44 , 68 2,448 120 20,944 1,305 54,054 N S E A K 1 2 3 4 5ข้อ คำตอบ