SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ
ที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการ
ดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียม
ความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก
ศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill)
ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และ
ทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียม
ความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้
กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้
สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑
ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์
โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้า
ของการเรียนรู้ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญ
ของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการ
จัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยการ
ส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชา
แกนหลัก ดังนี้
4
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness)
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics,
Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy)
ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มี
ความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่
ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
การสื่อสารและการร่วมมือ
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อ
และเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้
ความรู้ด้านสารสนเทศ
ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
ความรู้ด้านเทคโนโลยี
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียน
จะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
5
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)
ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C
3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน
การแก้ปัญหา)
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และ
ภาวะผู้นา)
Communications, Information, and Media Literacy(ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และ
รู้เท่าทันสื่อ)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดย
ร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการ
ดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจาก
เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century
6
Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้า
ด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนินชีวิต
7
2. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
8
9
10
11
12
3. การใช้สื่อสังคมออนไลน์
ความหมายของคาว่าSocial network สังคมออนไลน์ ในโลกยุคใหม่ที่ไร้พรมแดน ผู้คน
สามารถเดินทางข้ามพรมแดน ข้ามกาลเวลาไปพบปะพูดคุยกับใครก็ได้ ที่ไหนก็ได้ เวลาใดก็ย่อมได้
เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส โดยเริ่มจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว จะเห็นได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลต่อระบบการศึกษาโดยตรง ทั้งนี้
13
เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรอบรู้
จัดระบบประมวลผล ส่งผ่านและสื่อสารด้วยความเร็วสูงและปริมาณมาก นาเสนอและแสดงผลด้วย
ระบบสื่อต่าง ๆ ทั้งทางด้านข้อมูล รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ
อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบทาให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบผลสา
เร็จด้วยดี (สาระน่ารู้ประจาสัปดาห์. 2553 : ออนไลน์) ซึ่งในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมานั้น ความ
เจริญก้าวหน้าและการเติบโตอย่างก้าวกระโดดด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
(Internet) และเทคโนโลยีการสื่อสารได้เปลี่ยนวิถีทางการดาเนินชีวิต การดาเนินธุรกิจ และการสื่อสาร
ของคนในสังคมไปอย่างมากมาย โดยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีการสื่อสารได้บ่งชี้ว่าสื่อหรือเครื่องมือ
สื่อสารที่ได้รับความนิยมในแต่ละช่วงเวลาจะมีอิทธิพลต่อความคิดของคนและจะเป็นปัจจัยสาคัญที่กา
หนดกรอบความคิดและความเข้าใจในการมองโลกรอบ ๆ ตัวเราด้วย (Eid and Ward 2009)
ปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกมีจานวนเกือบสองพันล้านคนแล้วในเดือนมิถุนายน ปี 2553
(Internet World Stats, 2010) อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นแหล่งแห่งการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่
ใหญ่ที่สุดในโลก ทาให้เกิดการเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารจากยุคการสื่อสารแบบดั้งเดิม ในโลกแห่ง
ความเป็นมาสู่การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลแห่งโลกเสมือนจริง (Virtual World) ก่อให้เกิด
ยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน ทาให้คนจานวนมากทั่วโลกมีการดาเนินชีวิตทั้งในสังคมของโลกแห่ง
ความเป็นจริงและสังคมแห่งโลกเสมือนจริงผลจากความก้าวหน้าของระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีการสื่อสารก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ทางสังคม คือ เครือข่ายสังคมใหม่ที่รู้กันอย่าง
แพร่หลายว่า “สังคมออนไลน์” (Online Community) หรือ “สังคมเสมือน” (Virtual Community) หรือ
“เครือข่ายสังคมออนไลน์” (Social Network) โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์นี้เป็นพื้นที่สาธารณะที่
สมาชิกซึ่งก็คือคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติและศาสนา ทุกระดับการศึกษา ทุกสาขาอาชีพและทุกกลุ่ม
สังคมย่อยจากทั่วโลกเป็นผู้สื่อสารหรือเขียนเล่าเนื้อหาเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และ
วิดีโอ ที่สมาชิกเขียนและทาขึ้นเองหรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ใน
เครือข่ายของตนผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เครือข่ายสังคม
14
ออนไลน์เติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ก่อให้เกิดวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีของสื่อสังคมออนไลน์
หลากหลายประเภท ได้แก่ เว็บบล็อก (Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า บล็อก (Blog เว็บไซต์เครือข่ายสังคม
ออนไลน์ (Social Networking Sites) เช่น Facebook, Myspace และ hi5 เป็นต้น เว็บไซต์สาหรับแบ่งปัน
วิดีโอ (Video-sharing Sites) และผลงาน เช่น YouTube เว็บประเภท Micro Blog เช่น Twitter วิกิ
(Wikis) และโลกเสมือน เช่น SecondLife และ World WarCraft เป็นต้น จากความก้าวหน้าดังกล่าว จะ
เห็นว่า ปัจจุบันการสื่อสารบนโลกออนไลน์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ เนื่องจากการพัฒนาของ
เทคโนโลยี Web 2.0 และการเกิดขึ้นของสังคมเครือข่ายที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามากาหนดและปรับเปลี่ยน
วิถีชีวิตของผู้รับสารและผู้บริโภคเกือบสิ้นเชิง ทาให้เกิดช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ ๆ เป็นจานวน
มาก
ในยุคที่อินเทอร์เน็ตกาลังเป็นที่นิยมและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งจากการพัฒนาของ
โลก เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) จากยุคแรกหรือเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะเป็น Static Web
คือมีการนาเสนอข้อมูลทางเดียว ต่อมาเข้าสู่เว็บยุคที่ 2 หรือ Web 2.0 จึงเป็นยุคที่เน้นให้อินเทอร์เน็ตมี
ศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น เน้นให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ลงบนเว็บไซต์ร่วมกัน
และสามารถโต้ตอบกับข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ได้ และผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา (Content) แลกเปลี่ยน
และกระจายข้อมูลกันได้ทั้งในระดับบุคคลหรือกลุ่มจนกลายเป็นสังคมในโลกอินเทอร์เน็ต หรือเรียกว่า
สังคมออนไลน์ (Social Network) นั่นเอง สังคมออนไลน์ (Social Networking) คือสังคมที่ผู้คน
สามารถทาความรู้จัก ร่วมแบ่งปันสิ่งที่สนใจ และสามารถเชื่อมโยงกันได้ในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ใน
โลกอินเทอร์เน็ต โดยอาศัยรูปแบบการบริการ เรียกว่า “บริการเครือข่ายสังคม หรือ Social Networking
Service (SNS)” โดยเป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในการสร้างเครือข่ายสังคม สาหรับผู้ใช้งานใน
อินเทอร์เน็ตที่ใช้เขียนและอธิบายความสนใจและกิจกรรมที่ได้ทาและเชื่อมโยงกับความสนใจและ
กิจกรรมของผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลส่วนตัว บทความรูปภาพผลงาน พบปะ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ หรือความสนใจร่วมกัน และกิจกรรมอื่น ๆ รวมไปถึงเป็นแหล่งข้อมูลจานวนมหาศาลที่
ผู้ใช้สามารถช่วยกันสร้างเนื้อหาขึ้นได้ตามความสนใจของแต่ละบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ประเทศไทยได้
มีการปฏิรูปการศึกษา โดยมุ่งหวังจะยกระดับการศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานและจัดได้อย่างทั่วถึง
15
และมีคุณภาพ มีการปฏิรูปครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดยในการปฏิรูประบบบริหารและ
การจัดการศึกษาได้หลอมรวมหน่วยงานทางการศึกษา และจัดโครงสร้างใหม่ เป็นระดับกระทรวงและ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการบริหาร
และการจัดการศึกษาภายเขตพื้นที่การศึกษา ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้มีเขตพื้นที่
การศึกษา 2 ส่วน คือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา โดยมีผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและ
รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานซึ่งอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มี
รูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว การใช้งานอินเทอร์เน็ต
สามารถแบ่งออกเป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคแรกเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะการนาเสนอข้อมูลทางเดียว
เนื่องจาก ผู้จัดทาเว็บไซต์จะทาหน้าที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหรือนาเสนอเนื้อหา ให้กับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต
เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้งานไม่สามารถโต้ตอบข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ ต่อมาในยุคที่สอง เรียกว่า Web 2.0
เป็นการเน้นให้อินเทอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมในการโต้ตอบ
ข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ สามารถสร้างข้อมูลหรือเนื้อหาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ทั้งระดับ
ปัจเจกบุคคล และระดับกลุ่ม การเติบโตของอินเทอร์เน็ต
ในยุคนี้ทาให้เกิดครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสังคม ออนไลน์ที่ช่วยให้คนสามารถทา
ความรู้จักกัน เปิดเผย ข้อมูลส่วนตัว รูปภาพ วิดีโอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความสนใจร่วมกัน
(Cheung, Chiu, & Lee, 2010) จากสถิติพบว่าปัจจุบันมีคนกว่า 100 ล้านคนทั่วโลกที่ ติดต่อผ่าน
เครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการใช้ Face book, MySpace, LinkedIn และเครือข่ายอื่นๆ ซึ่งแต่ละคน
สามารถที่จะสร้าง Profile ของตนเอง และสามารถ เชื่อมต่อกับ Profile ของบุคคลอื่น เพื่อใช้ในการ
แลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกันได้ (Cheung & Lee, 2010) เครือข่าย สังคมออนไลน์ได้รับความนิยม
สูงสุดไม่เพียงเฉพาะใน กลุ่มของนักศึกษามหาวิทยาลัยเท่านั้น แม้แต่บรรดา ผู้นาองค์กรชั้นนาของโลก
กลุ่มคนทางานที่มีหลากหลายวัย ต่างก็ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กันอยู่เป็นประจา
16
คาว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์มีผู้ให้ความหมาย ไว้หลากหลาย แต่ในบทความนี้จะใช้
ความหมายของ อดิเทพ บุตราช (2553) ซึ่งได้ให้นิยามคาว่าเครือข่าย สังคมออนไลน์ หมายถึง กลุ่มคนที่
รวมกันเป็นสังคมและ มีการทากิจกรรมร่วมกันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง อยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์
มีการแพร่ขยายออกไปเรื่อยๆ โดยใช้รูปแบบของการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต มีการ
สร้างเครือข่ายชุมชนเสมือนบน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการ ติดต่อสื่อสาร
การทากิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง คนในสังคม
ปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์เพิ่ม มากขึ้น มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อบอก
เล่า เรื่องราว ประสบการณ์ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้จัดทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่อต่างๆ แล้วนามา
แบ่งปันให้ กับเพื่อนและผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนได้ทราบผ่าน ทางเว็บไซต์ของเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ นอกจากนั้น เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
(สุภาภรณ์ เพชรสุภา, 2554) ได้แก่
1. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ตัวตน” เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะใช้นาเสนอตัวตน และเผยแพร่
เรื่องราวของ ตนเองผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือผู้ใช้สามารถเขียน Blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้าง
กลุ่มเพื่อนในห้องเรียน และสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์ประเภทนี้คือ
myspace.com, hi5.com และ facebook.com เป็นต้น
2. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ผลงาน” อาจจะเป็นผลงานของกลุ่มหรือผลงานของตัวเอง โดย
สามารถนาเสนอในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงอาจารย์สอนที่ได้จากการบันทึก
ในชั้นเรียน เป็นต้น ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้เช่น YouTube.com, Yahoo VDO, Google VDO,
Flickr.com, Multiply.com เป็นต้น
3. กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ เรื่องเดียวกัน อาจเป็นลักษณะ Online Bookmarking
หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่ เราจะทา Bookmark เว็บไซต์ที่เราชอบ หรือ
บทความ รายงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียน เก็บไว้ในเครื่องของเรา คนเดียว เราก็สามารถทา Bookmark
เก็บไว้บนเว็บไซต์ แทน เพื่อเป็นการแบ่งให้เพื่อนๆ คนอื่นเข้ามาดูได้ด้วย และเราก็สามารถได้ว่า
เว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก หรือเป็นที่น่าสนใจ โดยดูจากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์ นั้นถูก
17
Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ Delicious, Digg, Zickr, Duocore.tv เป็น
ต้น
4. กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม การทางานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่
เปิด โอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามานาเสนอ ข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ
ได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ WikiPedia ซึ่งเป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกัน
เขียน และแก้ไข บทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรม ออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวม
ความรู้ ข่าวสาร และ เหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้เว็บไซต์ที่ให้บริการ
เครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ใน การใช้งานในด้านต่างๆและ
สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
5. ในขณะนี้ Facebook จัดเป็นเว็บไซต์เครือข่าย สังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดใน
โลกและมีรายงานผลตัวเลขที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Facebook พบว่า ผู้ที่ใช้งาน Facebook มากกว่า 50%
ไม่ได้เป็นนักศึกษา กลุ่มอายุที่มีการใช้งานที่เติบโตรวดเร็วมากที่สุดคือ กลุ่ม คนอายุ 30 ปีขึ้นไป เฉลี่ย
เวลาในการใช้งาน 20 นาที ต่อครั้ง มีผู้ใช้งานมากกว่า 15 ล้านคนที่อัพเดทสถานะ อย่างน้อยวันละหนึ่ง
ครั้ง และในแต่ละเดือนมีการอัพโหลด คลิปวิดีโอมากกว่า 5 ล้านคลิปวิดีโอ (ตัวเลขน่าสนใจจาก
Facebook, 2554) ซึ่งจากสถิติที่กล่าวมาแสดงให้เห็นถึง พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ
คนในสังคม ปัจจุบันที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเริ่มเข้ามามีบทบาท หรือเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของคน
วัยทางานที่ใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะในปัจจุบันสามารถใช้งาน ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ จึงทา
ให้สถิติการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
6. ดังนั้นในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จึงสามารถกล่าวได้ว่า
เครือข่าย สังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของ คนในทุกระดับ ทุกเพศและทุกวัย
นอกจากนั้นการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ยังมีผลกระทบในหลายๆ ด้าน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาลักษณะการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคม
ออนไลน์ และผลกระทบจากการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนในสังคมปัจจุบัน
18
จุดเริ่มต้นของ Social networksเกิดจากเว็บไซต์ classmates.com เมื่อปี 1995 และเว็บไซต์
SixDegrees.com ในปี 1997 ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่จากัดการใช้งานเฉพาะนักเรียนที่เรียนในโรงเรียนเดียวกัน
เพื่อสร้างประวัติ ข้อมูลการสื่อสาร ส่งข้อความ และแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สนใจร่วมกันระหว่างเพื่อน
นักเรียนในลิสต์เท่านั้น ต่อมาในปี 1999 เว็บไซต์ epinions.com ที่พัฒนาโดย Jonathan Bishop ก็ได้มี
การเพิ่มฟังก์ชั่นในส่วนของการที่ผู้ใช้สามารถควบคุมเนื้อหาและติดต่อถึงกันได้ ไม่เพียงแต่เพื่อนใน
ลิสต์เท่านั้น
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
สถานศึกษาจาเป็นต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้เรียน เห็นความสาคัญและมีเจตคติที่
ดีเกี่ยวกับอาเซียน มีทักษะพร้อมที่จะเข้าสู่การรวมกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2554 : 11 – 51)ได้เสนอแนะแนวทางไว้ ดังนี้
1. จัดการเรียนรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ซึ่งมีมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มาตรฐาน ส 4.2 ข้อ /บอก
ความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน สาระการเรียนรู้แกนกลาง คือ ความเป็นมาของกลุ่มอาเซียน สมาชิกของ
อาเซียนและความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันโดยสังเขป นอกจากนี้
สาระประวัติศาสตร์ยังกาหนดให้เรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5,6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อวิเคราะห์ประเด็นเกี่ยวกับ
อาเซียน ต้องดาเนินการดังนี้
1.1 จัดทาหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน บูรณาการในโครงสร้างรายวิชาที่มีอยู่แล้ว
1.2 จัดทาผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้
1.3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.4 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
2. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ซึ่งควรดาเนินการดังนี้
19
2.1 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ที่สอดคล้องกับเรื่องอาเซียน
2.2 จัดทาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้กลุ่มสารการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นแกน
2.3 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design)
2.4 เขียนแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
3. การจัดการเรียนรู้โดยการจัดทาเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยกาหนดผลการเรียนรู้ แล้วนามาเขียน
คาอธิบายรายวิชาและนาไปจัดทาหน่วยการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้
4. การจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกอบด้วยกิจกรรม 3 ลักษณะ ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรม
นักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนในด้านองค์ความรู้
และเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในฐานะสมาชิกของอาเซียน ซึ่งแนวการจัดดังนี้
4.1 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง โดยการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับประเทศ
สมาชิกอาเซียนจากค้นหาจากเวปไซต์ ห้องสมุด รายการโทรทัศน์
4.2 การจัดค่ายประชาคมอาเซียน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ
เสริมสร้างคุณลักษณะที่ดีในการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้
ผ่านปฏิบัติจริง
4.3 การจัดทาโครงงานอาเซียน ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในการศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติ
ด้วยตนเอง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น ให้คาปรึกษาแก่นักเรียน
20
4.4 การจัดวันหรือสัปดาห์อาเซียน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน เผยแพร่และ
นาเสนอผลงานที่ได้ทาไว้แล้ว รวมทั้งการตอบปัญหาอาเซียน
4.5 การจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรมอาเซียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมด้วยความ
สมัครใจ จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการส่งเสริมความรู้เรื่องอาเซียน
4.6 การจัดกิจกรรมแรลลี่ เป็นลักษณะของกิจกรรมที่เสนอแนวคิดในการเสริมสร้าง ให้เกิดการ
ทางานเป็นทีมและเรียนรู้เกี่ยวอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพ
21

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวSupichaya Tamaneewan
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotWeerachai Jansook
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าว
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 

Similar to บท2

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันKittipong Kansamroeng
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 2p
บทที่ 2pบทที่ 2p
บทที่ 2pshopper38
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2shopper38
 
บทที่ 2p (1)
บทที่ 2p (1)บทที่ 2p (1)
บทที่ 2p (1)pornnapafang
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 

Similar to บท2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5 บทที่ 1 - 5
บทที่ 1 - 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
บทที่ 2p
บทที่ 2pบทที่ 2p
บทที่ 2p
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2p (1)
บทที่ 2p (1)บทที่ 2p (1)
บทที่ 2p (1)
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 

บท2

  • 1. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการ ดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียม ความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก ศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และ ทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียม ความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้ กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้า ของการเรียนรู้ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญ ของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการ จัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยการ ส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชา แกนหลัก ดังนี้
  • 2. 4 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มี ความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อ และเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ ปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียน จะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
  • 3. 5 ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน การแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และ ภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy(ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และ รู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดย ร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการ ดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจาก เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century
  • 4. 6 Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้า ด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนินชีวิต
  • 6. 8
  • 7. 9
  • 8. 10
  • 9. 11
  • 10. 12 3. การใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความหมายของคาว่าSocial network สังคมออนไลน์ ในโลกยุคใหม่ที่ไร้พรมแดน ผู้คน สามารถเดินทางข้ามพรมแดน ข้ามกาลเวลาไปพบปะพูดคุยกับใครก็ได้ ที่ไหนก็ได้ เวลาใดก็ย่อมได้ เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส โดยเริ่มจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว จะเห็นได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลต่อระบบการศึกษาโดยตรง ทั้งนี้
  • 11. 13 เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรอบรู้ จัดระบบประมวลผล ส่งผ่านและสื่อสารด้วยความเร็วสูงและปริมาณมาก นาเสนอและแสดงผลด้วย ระบบสื่อต่าง ๆ ทั้งทางด้านข้อมูล รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบทาให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบผลสา เร็จด้วยดี (สาระน่ารู้ประจาสัปดาห์. 2553 : ออนไลน์) ซึ่งในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมานั้น ความ เจริญก้าวหน้าและการเติบโตอย่างก้าวกระโดดด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) และเทคโนโลยีการสื่อสารได้เปลี่ยนวิถีทางการดาเนินชีวิต การดาเนินธุรกิจ และการสื่อสาร ของคนในสังคมไปอย่างมากมาย โดยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีการสื่อสารได้บ่งชี้ว่าสื่อหรือเครื่องมือ สื่อสารที่ได้รับความนิยมในแต่ละช่วงเวลาจะมีอิทธิพลต่อความคิดของคนและจะเป็นปัจจัยสาคัญที่กา หนดกรอบความคิดและความเข้าใจในการมองโลกรอบ ๆ ตัวเราด้วย (Eid and Ward 2009) ปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกมีจานวนเกือบสองพันล้านคนแล้วในเดือนมิถุนายน ปี 2553 (Internet World Stats, 2010) อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นแหล่งแห่งการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ ใหญ่ที่สุดในโลก ทาให้เกิดการเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารจากยุคการสื่อสารแบบดั้งเดิม ในโลกแห่ง ความเป็นมาสู่การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลแห่งโลกเสมือนจริง (Virtual World) ก่อให้เกิด ยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน ทาให้คนจานวนมากทั่วโลกมีการดาเนินชีวิตทั้งในสังคมของโลกแห่ง ความเป็นจริงและสังคมแห่งโลกเสมือนจริงผลจากความก้าวหน้าของระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ทางสังคม คือ เครือข่ายสังคมใหม่ที่รู้กันอย่าง แพร่หลายว่า “สังคมออนไลน์” (Online Community) หรือ “สังคมเสมือน” (Virtual Community) หรือ “เครือข่ายสังคมออนไลน์” (Social Network) โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์นี้เป็นพื้นที่สาธารณะที่ สมาชิกซึ่งก็คือคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติและศาสนา ทุกระดับการศึกษา ทุกสาขาอาชีพและทุกกลุ่ม สังคมย่อยจากทั่วโลกเป็นผู้สื่อสารหรือเขียนเล่าเนื้อหาเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และ วิดีโอ ที่สมาชิกเขียนและทาขึ้นเองหรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ใน เครือข่ายของตนผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เครือข่ายสังคม
  • 12. 14 ออนไลน์เติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ก่อให้เกิดวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีของสื่อสังคมออนไลน์ หลากหลายประเภท ได้แก่ เว็บบล็อก (Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า บล็อก (Blog เว็บไซต์เครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Social Networking Sites) เช่น Facebook, Myspace และ hi5 เป็นต้น เว็บไซต์สาหรับแบ่งปัน วิดีโอ (Video-sharing Sites) และผลงาน เช่น YouTube เว็บประเภท Micro Blog เช่น Twitter วิกิ (Wikis) และโลกเสมือน เช่น SecondLife และ World WarCraft เป็นต้น จากความก้าวหน้าดังกล่าว จะ เห็นว่า ปัจจุบันการสื่อสารบนโลกออนไลน์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ เนื่องจากการพัฒนาของ เทคโนโลยี Web 2.0 และการเกิดขึ้นของสังคมเครือข่ายที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามากาหนดและปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตของผู้รับสารและผู้บริโภคเกือบสิ้นเชิง ทาให้เกิดช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ ๆ เป็นจานวน มาก ในยุคที่อินเทอร์เน็ตกาลังเป็นที่นิยมและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งจากการพัฒนาของ โลก เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) จากยุคแรกหรือเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะเป็น Static Web คือมีการนาเสนอข้อมูลทางเดียว ต่อมาเข้าสู่เว็บยุคที่ 2 หรือ Web 2.0 จึงเป็นยุคที่เน้นให้อินเทอร์เน็ตมี ศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น เน้นให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ลงบนเว็บไซต์ร่วมกัน และสามารถโต้ตอบกับข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ได้ และผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา (Content) แลกเปลี่ยน และกระจายข้อมูลกันได้ทั้งในระดับบุคคลหรือกลุ่มจนกลายเป็นสังคมในโลกอินเทอร์เน็ต หรือเรียกว่า สังคมออนไลน์ (Social Network) นั่นเอง สังคมออนไลน์ (Social Networking) คือสังคมที่ผู้คน สามารถทาความรู้จัก ร่วมแบ่งปันสิ่งที่สนใจ และสามารถเชื่อมโยงกันได้ในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ใน โลกอินเทอร์เน็ต โดยอาศัยรูปแบบการบริการ เรียกว่า “บริการเครือข่ายสังคม หรือ Social Networking Service (SNS)” โดยเป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในการสร้างเครือข่ายสังคม สาหรับผู้ใช้งานใน อินเทอร์เน็ตที่ใช้เขียนและอธิบายความสนใจและกิจกรรมที่ได้ทาและเชื่อมโยงกับความสนใจและ กิจกรรมของผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลส่วนตัว บทความรูปภาพผลงาน พบปะ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ หรือความสนใจร่วมกัน และกิจกรรมอื่น ๆ รวมไปถึงเป็นแหล่งข้อมูลจานวนมหาศาลที่ ผู้ใช้สามารถช่วยกันสร้างเนื้อหาขึ้นได้ตามความสนใจของแต่ละบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ประเทศไทยได้ มีการปฏิรูปการศึกษา โดยมุ่งหวังจะยกระดับการศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานและจัดได้อย่างทั่วถึง
  • 13. 15 และมีคุณภาพ มีการปฏิรูปครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดยในการปฏิรูประบบบริหารและ การจัดการศึกษาได้หลอมรวมหน่วยงานทางการศึกษา และจัดโครงสร้างใหม่ เป็นระดับกระทรวงและ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการบริหาร และการจัดการศึกษาภายเขตพื้นที่การศึกษา ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้มีเขตพื้นที่ การศึกษา 2 ส่วน คือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา โดยมีผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานซึ่งอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มี รูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว การใช้งานอินเทอร์เน็ต สามารถแบ่งออกเป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคแรกเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะการนาเสนอข้อมูลทางเดียว เนื่องจาก ผู้จัดทาเว็บไซต์จะทาหน้าที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหรือนาเสนอเนื้อหา ให้กับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต เพียงอย่างเดียว ผู้ใช้งานไม่สามารถโต้ตอบข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ ต่อมาในยุคที่สอง เรียกว่า Web 2.0 เป็นการเน้นให้อินเทอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมในการโต้ตอบ ข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ สามารถสร้างข้อมูลหรือเนื้อหาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ทั้งระดับ ปัจเจกบุคคล และระดับกลุ่ม การเติบโตของอินเทอร์เน็ต ในยุคนี้ทาให้เกิดครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสังคม ออนไลน์ที่ช่วยให้คนสามารถทา ความรู้จักกัน เปิดเผย ข้อมูลส่วนตัว รูปภาพ วิดีโอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความสนใจร่วมกัน (Cheung, Chiu, & Lee, 2010) จากสถิติพบว่าปัจจุบันมีคนกว่า 100 ล้านคนทั่วโลกที่ ติดต่อผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการใช้ Face book, MySpace, LinkedIn และเครือข่ายอื่นๆ ซึ่งแต่ละคน สามารถที่จะสร้าง Profile ของตนเอง และสามารถ เชื่อมต่อกับ Profile ของบุคคลอื่น เพื่อใช้ในการ แลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกันได้ (Cheung & Lee, 2010) เครือข่าย สังคมออนไลน์ได้รับความนิยม สูงสุดไม่เพียงเฉพาะใน กลุ่มของนักศึกษามหาวิทยาลัยเท่านั้น แม้แต่บรรดา ผู้นาองค์กรชั้นนาของโลก กลุ่มคนทางานที่มีหลากหลายวัย ต่างก็ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กันอยู่เป็นประจา
  • 14. 16 คาว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์มีผู้ให้ความหมาย ไว้หลากหลาย แต่ในบทความนี้จะใช้ ความหมายของ อดิเทพ บุตราช (2553) ซึ่งได้ให้นิยามคาว่าเครือข่าย สังคมออนไลน์ หมายถึง กลุ่มคนที่ รวมกันเป็นสังคมและ มีการทากิจกรรมร่วมกันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง อยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์ มีการแพร่ขยายออกไปเรื่อยๆ โดยใช้รูปแบบของการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต มีการ สร้างเครือข่ายชุมชนเสมือนบน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการ ติดต่อสื่อสาร การทากิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง คนในสังคม ปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์เพิ่ม มากขึ้น มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อบอก เล่า เรื่องราว ประสบการณ์ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้จัดทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่อต่างๆ แล้วนามา แบ่งปันให้ กับเพื่อนและผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนได้ทราบผ่าน ทางเว็บไซต์ของเครือข่ายสังคม ออนไลน์ นอกจากนั้น เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม (สุภาภรณ์ เพชรสุภา, 2554) ได้แก่ 1. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ตัวตน” เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะใช้นาเสนอตัวตน และเผยแพร่ เรื่องราวของ ตนเองผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือผู้ใช้สามารถเขียน Blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้าง กลุ่มเพื่อนในห้องเรียน และสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์ประเภทนี้คือ myspace.com, hi5.com และ facebook.com เป็นต้น 2. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ผลงาน” อาจจะเป็นผลงานของกลุ่มหรือผลงานของตัวเอง โดย สามารถนาเสนอในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงอาจารย์สอนที่ได้จากการบันทึก ในชั้นเรียน เป็นต้น ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้เช่น YouTube.com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr.com, Multiply.com เป็นต้น 3. กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ เรื่องเดียวกัน อาจเป็นลักษณะ Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่ เราจะทา Bookmark เว็บไซต์ที่เราชอบ หรือ บทความ รายงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียน เก็บไว้ในเครื่องของเรา คนเดียว เราก็สามารถทา Bookmark เก็บไว้บนเว็บไซต์ แทน เพื่อเป็นการแบ่งให้เพื่อนๆ คนอื่นเข้ามาดูได้ด้วย และเราก็สามารถได้ว่า เว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก หรือเป็นที่น่าสนใจ โดยดูจากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์ นั้นถูก
  • 15. 17 Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ Delicious, Digg, Zickr, Duocore.tv เป็น ต้น 4. กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม การทางานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่ เปิด โอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามานาเสนอ ข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ WikiPedia ซึ่งเป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกัน เขียน และแก้ไข บทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรม ออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวม ความรู้ ข่าวสาร และ เหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้เว็บไซต์ที่ให้บริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ใน การใช้งานในด้านต่างๆและ สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 5. ในขณะนี้ Facebook จัดเป็นเว็บไซต์เครือข่าย สังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดใน โลกและมีรายงานผลตัวเลขที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Facebook พบว่า ผู้ที่ใช้งาน Facebook มากกว่า 50% ไม่ได้เป็นนักศึกษา กลุ่มอายุที่มีการใช้งานที่เติบโตรวดเร็วมากที่สุดคือ กลุ่ม คนอายุ 30 ปีขึ้นไป เฉลี่ย เวลาในการใช้งาน 20 นาที ต่อครั้ง มีผู้ใช้งานมากกว่า 15 ล้านคนที่อัพเดทสถานะ อย่างน้อยวันละหนึ่ง ครั้ง และในแต่ละเดือนมีการอัพโหลด คลิปวิดีโอมากกว่า 5 ล้านคลิปวิดีโอ (ตัวเลขน่าสนใจจาก Facebook, 2554) ซึ่งจากสถิติที่กล่าวมาแสดงให้เห็นถึง พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ คนในสังคม ปัจจุบันที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเริ่มเข้ามามีบทบาท หรือเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของคน วัยทางานที่ใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะในปัจจุบันสามารถใช้งาน ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ จึงทา ให้สถิติการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 6. ดังนั้นในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จึงสามารถกล่าวได้ว่า เครือข่าย สังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของ คนในทุกระดับ ทุกเพศและทุกวัย นอกจากนั้นการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ยังมีผลกระทบในหลายๆ ด้าน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ และผลกระทบจากการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนในสังคมปัจจุบัน
  • 16. 18 จุดเริ่มต้นของ Social networksเกิดจากเว็บไซต์ classmates.com เมื่อปี 1995 และเว็บไซต์ SixDegrees.com ในปี 1997 ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่จากัดการใช้งานเฉพาะนักเรียนที่เรียนในโรงเรียนเดียวกัน เพื่อสร้างประวัติ ข้อมูลการสื่อสาร ส่งข้อความ และแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สนใจร่วมกันระหว่างเพื่อน นักเรียนในลิสต์เท่านั้น ต่อมาในปี 1999 เว็บไซต์ epinions.com ที่พัฒนาโดย Jonathan Bishop ก็ได้มี การเพิ่มฟังก์ชั่นในส่วนของการที่ผู้ใช้สามารถควบคุมเนื้อหาและติดต่อถึงกันได้ ไม่เพียงแต่เพื่อนใน ลิสต์เท่านั้น แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สถานศึกษาจาเป็นต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้เรียน เห็นความสาคัญและมีเจตคติที่ ดีเกี่ยวกับอาเซียน มีทักษะพร้อมที่จะเข้าสู่การรวมกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2554 : 11 – 51)ได้เสนอแนะแนวทางไว้ ดังนี้ 1. จัดการเรียนรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งมีมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มาตรฐาน ส 4.2 ข้อ /บอก ความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน สาระการเรียนรู้แกนกลาง คือ ความเป็นมาของกลุ่มอาเซียน สมาชิกของ อาเซียนและความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันโดยสังเขป นอกจากนี้ สาระประวัติศาสตร์ยังกาหนดให้เรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5,6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อวิเคราะห์ประเด็นเกี่ยวกับ อาเซียน ต้องดาเนินการดังนี้ 1.1 จัดทาหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน บูรณาการในโครงสร้างรายวิชาที่มีอยู่แล้ว 1.2 จัดทาผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้ 1.3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1.4 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 2. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ซึ่งควรดาเนินการดังนี้
  • 17. 19 2.1 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ที่สอดคล้องกับเรื่องอาเซียน 2.2 จัดทาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้กลุ่มสารการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นแกน 2.3 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design) 2.4 เขียนแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 3. การจัดการเรียนรู้โดยการจัดทาเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยกาหนดผลการเรียนรู้ แล้วนามาเขียน คาอธิบายรายวิชาและนาไปจัดทาหน่วยการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้ 4. การจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกอบด้วยกิจกรรม 3 ลักษณะ ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรม นักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนในด้านองค์ความรู้ และเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในฐานะสมาชิกของอาเซียน ซึ่งแนวการจัดดังนี้ 4.1 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง โดยการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับประเทศ สมาชิกอาเซียนจากค้นหาจากเวปไซต์ ห้องสมุด รายการโทรทัศน์ 4.2 การจัดค่ายประชาคมอาเซียน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ เสริมสร้างคุณลักษณะที่ดีในการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ ผ่านปฏิบัติจริง 4.3 การจัดทาโครงงานอาเซียน ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในการศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น ให้คาปรึกษาแก่นักเรียน
  • 18. 20 4.4 การจัดวันหรือสัปดาห์อาเซียน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน เผยแพร่และ นาเสนอผลงานที่ได้ทาไว้แล้ว รวมทั้งการตอบปัญหาอาเซียน 4.5 การจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรมอาเซียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมด้วยความ สมัครใจ จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการส่งเสริมความรู้เรื่องอาเซียน 4.6 การจัดกิจกรรมแรลลี่ เป็นลักษณะของกิจกรรมที่เสนอแนวคิดในการเสริมสร้าง ให้เกิดการ ทางานเป็นทีมและเรียนรู้เกี่ยวอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 19. 21