SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
ในปัจจุบันสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากความก้าวหน้าด้านการ
สื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ผลักดันให้โลกอยู่ในภาวะไร้
พรมแดน ไม่มีขอบเขตจากัด จากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกดังกล่าวเป็นผลให้สังคมไทย
จาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยน เพื่อให้ก้าวทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีบทบาทสาคัญต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการตอบสนองต่อการดารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้ง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาโนเทคโนโลยีเทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับ
การทางานของสมองและจิต ที่เป็นทั้งโอกาสหรือภัยคุกคามในการพัฒนา อาทิ การจารกรรมข้อมูล
ธุรกิจหรือข้อมูลส่วนบุคคล ประเทศที่พัฒนาเทคโนโลยีได้ช้าจะกลายเป็นผู้ซื้อและมีผลิตภาพต่า
ไม่สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ และการเข้าถึงเทคโนโลยีที่ไม่เท่าเทียมกันของกลุ่มคนในสังคม
จะทาให้เกิดความเหลื่อมล้าในการพัฒนา จึงเป็นความท้าทายอีกอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ
(แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559)
การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาคนให้เป็นคนที่มีคุณภาพมีความสามารถเต็มศักยภาพ
มีการพัฒนาที่สมดุลทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และ
วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพื่อเสริมสร้างการพัฒนา
และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนมีหลาย
รูปแบบซึ่งในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545 กาหนดให้ประชาชนในประเทศมีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตตามหลักการ “ผู้เรียนมีสิทธิได้รับ
การพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต” (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545)
การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นสาระที่
เน้นการทางาน กระบวนการทางานและการจัดการอย่างเป็นระบบ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
มีทักษะการออกแบบงานและการทางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร (Information communication technology) ตลอดจนนาเทคโนโลยี
จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาไทย และเทคโนโลยีสากลมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทางาน
รวมทั้งการสร้าง พัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ ๆ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
2
และพลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า สาหรับด้านคุณภาพผู้เรียน กลุ่มสาระการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ และมี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ในสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือรายวิชาคอมพิวเตอร์ เป็นสาระที่เกี่ยวกับกระบวนการ
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาความรู้ การสืบค้น การใช้ข้อมูลและ
สารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นการ
เข้าใจหลักการและวิธีการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจองค์ประกอบและหลักการทางานของ
คอมพิวเตอร์ เข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าใจ
ข้อกาหนดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง จัดเก็บและบารุงรักษาสารสนเทศให้ถูกต้อง
และเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล เข้าใจหลักการพัฒนาโครงงานที่มีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูล
และหาความรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ
ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ ใช้เทคโนโลยีสานสนเทศนาเสนอ
งานในรูปแบบที่เหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน และใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมี
จิตสานึกและมีความรับผิดชอบ (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2551)
โรงเรียนสตรีชัยภูมิ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ประจาจังหวัดชัยภูมิ เปิดทาการ
เรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้จัดการเรียน
การสอนที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักรับผิดชอบในหน้าที่
มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นทั้งคนเก่งและคนดี มีความสุข มีน้าใจรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น มีความเชื่อมั่น
ในตนเอง รู้จักใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์มีความเหมาะสม และใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเป็น
รายวิชาเพิ่มเติมตามหลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ. 2555 (ฉบับปรับปรุง) โรงเรียนได้ส่งเสริมให้
ครูผู้สอนนาสื่อการสอนรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น สื่อมัลติมีเดีย บทเรียน
ออนไลน์ ระบบอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต ห้องเรียนไร้พรมแดน เครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย และเครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์ มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่จากการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 2554
ที่ผ่านมาของโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ยังมีนักเรียนที่ติด 0 ร มส อยู่เป็นจานวนมาก และผลจากการ
3
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ปีการศึกษา 2554 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายใน
รายวิชาคอมพิวเตอร์ ยังอยู่ในระดับต่า (ฝ่ายวิชาการโรงเรียนสตรีชัยภูมิ. 2554) จึงสมควรที่จะต้อง
มีการพัฒนาเทคนิควิธีการสอนหรือนาสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ มาใช้ใน
การพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียนทั้งในระดับโรงเรียน และในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติให้สูงขึ้น
ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
หรือ CAI สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อการเรียนเป็นอย่างดี (อรพรรณ พรสีมา. 2530 : 28) และ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนยังสามารถสอนได้แทบทุกวิชา ทั้งยังเป็นรูปแบบวิธีสอนแบบใหม่
รูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจัดว่าเป็นสื่อการเรียน
การสอนที่สามารถสนองตอบความมุ่งหมายของการศึกษาตามเอกัตภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพสื่อ
หนึ่ง ซึ่งผู้เรียนจะเรียนเนื้อหาวิชาได้ด้วยตนเองและช่วยลดภาระในการสอน ทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนที่
เรียนอ่อนสามารถใช้เวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะและเพิ่มเติมความรู้เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน
ให้ทันผู้อื่นได้ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้การตอบสนองที่รวดเร็ว แสดงข้อมูลได้ทั้ง
ตัวเลขตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ซึ่งทาให้ดูเหมือนจริง (กิดานันท์ มลิทอง. 2540 :229)
เร้าความสนใจของผู้เรียนให้อยากเรียนตลอดเวลา ช่วยสนองต่อการเรียนรายบุคคลเป็นอย่างดี
เพราะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถของตนเอง โดยไม่ต้องรอหรือเร่งตามเพื่อน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเหมาะสาหรับการสอนทุกรายวิชา เพราะให้การโต้ตอบกับนักเรียน
ได้อย่างรวดเร็ว ผู้เรียนไม่สามารถแอบดูคาตอบหรือคาเฉลยได้ คอมพิวเตอร์ยังสามารถซ่อนคาตอบ
ไว้จนกว่าผู้เรียนจะปฏิบัติกิจกรรมสาเร็จและคอมพิวเตอร์ยังให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ทาให้
ผู้เรียนทราบผลการเรียนรู้ของตนทันที (นิพนธ์ ศุขปรีดี. 2528 : 22) จากหลักฐานของการใช้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ทาให้นักการศึกษาหลายท่าน ได้ทดลองกับนักเรียนในระดับต่าง ๆ
โดยใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนานักเรียน ในลักษณะแตกต่างกับการสอนของครู กล่าวคือ
คอมพิวเตอร์ช่วยให้คนเก่งสามารถเรียนได้เก่งขึ้น คนอ่อนสามารถพัฒนาให้มีมาตรฐานสูงขึ้น
นอกจากนี้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อให้เนื้อหาเรื่องราวซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง และเป็นการ
เรียนแบบ Interactive ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีข้อได้เปรียบที่สามารถ
บรรจุทุกสิ่งที่ต้องการแสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพจากวีดีทัศน์
กราฟิก แผนภูมิ สามารถใช้สี ลงเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียนได้ใกล้เคียงกับการเรียนใน
ห้องเรียน โดยคอมพิวเตอร์จะนาเสนอเนื้อหาบทเรียนไปทีละหน้าบนจอคอมพิวเตอร์ อนุญาตให้
ผู้เรียน ทากิจกรรมตอบโต้กับบทเรียนและได้รับข้อมูลย้อนกลับในทันที โดยวิธีนี้ผู้เรียนจึงสามารถ
มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนตามแบบการสื่อสารสองทาง นอกจากนี้ CAI ยังเป็นสื่อที่
4
ตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เพราะสื่อคอมพิวเตอร์ใช้หลักการโต้ตอบกับผู้เรียนเป็น
รายบุคคลให้โอกาสผู้เรียนตามความสนใจและความสามารถ โดยเลือกวิธีเรียนและควบคุม
ความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองได้มากกว่าสื่อการสอนชนิดอื่น ๆ นอกจากคอมพิวเตอร์ช่วย
สอนจะเป็นสื่อที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังสามารถที่จะ
ประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา ดังนั้นผู้สอนจะสามารถนาคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนไปช่วยในการสอนของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากเหตุผลดังกล่าวผู้รายงานจึงได้คิดหาวิธีการหรือแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการ
ประยุกต์ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI เข้ามาใช้ประกอบการเรียนการสอนใน
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสร้างงาน
กราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 จานวน 8 แผน 16 สัปดาห์ ซึ่งแบ่งเนื้อหาสาระออกเป็น 12 หน่วย
ย่อย ดังนี้ ส่วนประกอบของโปรแกรม Flash CS3, การใช้เครื่องมือต่าง ๆ สร้างงานกราฟิก, Stage
Symbol Instance และ Timeline, เฟรม การเพิ่มเฟรม การลบเฟรม และการเพิ่มคีย์เฟรม, การสร้าง
ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame, การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween, การสร้าง
ภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween, การพิมพ์ข้อความและการแก้ไขข้อความ, การทางานเกี่ยวกับ
Layer, การแทรกไฟล์เสียงและการจัดการไฟล์เสียง, การแทรกไฟล์วิดีโอและการเผยแพร่วิดีโอ,
และตัวอย่างการสร้างงาน Animation
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม
Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพ 80/80
2. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงาน
กราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1
3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียน
โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา
ง32203 งานกราฟิก 1
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง
การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1
5
สมมติฐำนกำรวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงาน
กราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 อยู่ในระดับมากที่สุด
ขอบเขตของกำรวิจัย
1. ประชากร เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน
4 ห้องเรียน ได้แก่นักเรียนชั้น ม. 5/1, ม. 5/2, ม. 5/3 และ ม. 5/4 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตาบลในเมือง
อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ที่เรียนในรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 จานวน 180 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
จานวน 1 ห้องเรียน ได้แก่นักเรียนชั้น ม. 5/4 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองชัยภูมิ
จังหวัดชัยภูมิ ที่เรียนในรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 จานวน 48 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม
(Cluster Random Sampling) ใช้หน่วยการสุ่มเป็นห้องเรียน
3. สาระที่ใช้ในการเรียนรู้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิก
ด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ได้แก่ ส่วนประกอบของโปรแกรม
Flash CS3, การสร้างงานกราฟิกด้วยเครื่องมือต่าง ๆของโปรแกรม Flash, Stage Symbol Instance
และ Timeline, เฟรม การเพิ่มเฟรม การลบเฟรม และการเพิ่มคีย์เฟรม, การทางานเกี่ยวกับ Layer,
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame, การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween,
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween, การพิมพ์ข้อความและการแก้ไขข้อความ, การแทรก
ไฟล์เสียงและการจัดการไฟล์เสียง, และการแทรกไฟล์วิดีโอและการเผยแพร่วิดีโอ
4. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ มีความรู้พื้นฐานเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์
5. ตัวแปรในการศึกษา
5.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง
การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1
5.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
6
ข้อตกลงเบื้องต้น
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทดลองมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกันทุกเครื่อง
2. เพศที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3. นักเรียนสามารถเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยไม่จากัดเวลาเรียน
นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึงโปรแกรมบทเรียนที่สร้างและพัฒนา
ขึ้นด้วยโปรแกรมสร้างสื่อการสอน Adobe Flash CS3 สาหรับเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ ที่ผู้จัดทาได้สร้างขึ้น
2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง คุณภาพของบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างและพัฒนาขึ้นและมีประสิทธิภาพ 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของจานวนคาตอบที่นักเรียนตอบ
ถูก จากการทากิจกรรมการเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนการสอนรวมกัน
80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของจานวนคาตอบที่นักเรียนตอบ
ถูก จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน
3. แบบทดสอบ หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการเรียนในรายวิชา ง32203
งานกราฟิก 1 ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยนามาใช้ในการ
วัดผลก่อนเรียนและหลังเรียน กับนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบ
ชุดนี้ได้ผ่านการวิเคราะห์หาความเชื่อมั่น และดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อทดสอบกับ
จุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) ค่าความยาก (P) ค่าอานาจจาแนก (R)
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียนรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ได้สื่อการสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. ครูมีสื่อการสอนทีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
3. เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
4. ได้เผยแพร่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไปยังโรงเรียนหรือสถาบันต่าง ๆ เพื่อเป็น
การบริการทางการศึกษา

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAdsurdity Master
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22Rungroj Ssan
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cherry Patharawadee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Manop Amphonyothin
 
ใบงานท 2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_
ใบงานท  2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_ใบงานท  2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_
ใบงานท 2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_Eakarat Sumpavaman
 

What's hot (16)

ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
Is2
Is2Is2
Is2
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
ใบงานท 2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_
ใบงานท  2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_ใบงานท  2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_
ใบงานท 2 ความหมายและความสำค_ญของโครงงานคอมพ_วเตอร_
 

Similar to Chapter1

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6Tanatchapan Jakmanee
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมpaponteein
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 

Similar to Chapter1 (20)

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
2 2
2 22 2
2 2
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Chapter1

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ในปัจจุบันสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากความก้าวหน้าด้านการ สื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ผลักดันให้โลกอยู่ในภาวะไร้ พรมแดน ไม่มีขอบเขตจากัด จากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกดังกล่าวเป็นผลให้สังคมไทย จาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยน เพื่อให้ก้าวทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีบทบาทสาคัญต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการตอบสนองต่อการดารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาโนเทคโนโลยีเทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับ การทางานของสมองและจิต ที่เป็นทั้งโอกาสหรือภัยคุกคามในการพัฒนา อาทิ การจารกรรมข้อมูล ธุรกิจหรือข้อมูลส่วนบุคคล ประเทศที่พัฒนาเทคโนโลยีได้ช้าจะกลายเป็นผู้ซื้อและมีผลิตภาพต่า ไม่สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ และการเข้าถึงเทคโนโลยีที่ไม่เท่าเทียมกันของกลุ่มคนในสังคม จะทาให้เกิดความเหลื่อมล้าในการพัฒนา จึงเป็นความท้าทายอีกอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559) การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาคนให้เป็นคนที่มีคุณภาพมีความสามารถเต็มศักยภาพ มีการพัฒนาที่สมดุลทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และ วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพื่อเสริมสร้างการพัฒนา และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนมีหลาย รูปแบบซึ่งในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ประชาชนในประเทศมีโอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตตามหลักการ “ผู้เรียนมีสิทธิได้รับ การพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต” (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545) การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นสาระที่ เน้นการทางาน กระบวนการทางานและการจัดการอย่างเป็นระบบ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการออกแบบงานและการทางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (Information communication technology) ตลอดจนนาเทคโนโลยี จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาไทย และเทคโนโลยีสากลมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทางาน รวมทั้งการสร้าง พัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ ๆ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
  • 2. 2 และพลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า สาหรับด้านคุณภาพผู้เรียน กลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ และมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือรายวิชาคอมพิวเตอร์ เป็นสาระที่เกี่ยวกับกระบวนการ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาความรู้ การสืบค้น การใช้ข้อมูลและ สารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นการ เข้าใจหลักการและวิธีการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจองค์ประกอบและหลักการทางานของ คอมพิวเตอร์ เข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าใจ ข้อกาหนดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง จัดเก็บและบารุงรักษาสารสนเทศให้ถูกต้อง และเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล เข้าใจหลักการพัฒนาโครงงานที่มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูล และหาความรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ ใช้เทคโนโลยีสานสนเทศนาเสนอ งานในรูปแบบที่เหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน และใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมี จิตสานึกและมีความรับผิดชอบ (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2551) โรงเรียนสตรีชัยภูมิ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ประจาจังหวัดชัยภูมิ เปิดทาการ เรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้จัดการเรียน การสอนที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักรับผิดชอบในหน้าที่ มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นทั้งคนเก่งและคนดี มีความสุข มีน้าใจรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น มีความเชื่อมั่น ในตนเอง รู้จักใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์มีความเหมาะสม และใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเป็น รายวิชาเพิ่มเติมตามหลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ. 2555 (ฉบับปรับปรุง) โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ ครูผู้สอนนาสื่อการสอนรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น สื่อมัลติมีเดีย บทเรียน ออนไลน์ ระบบอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต ห้องเรียนไร้พรมแดน เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย และเครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์ มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่จากการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในปีการศึกษา 2554 ที่ผ่านมาของโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ยังมีนักเรียนที่ติด 0 ร มส อยู่เป็นจานวนมาก และผลจากการ
  • 3. 3 ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ปีการศึกษา 2554 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายใน รายวิชาคอมพิวเตอร์ ยังอยู่ในระดับต่า (ฝ่ายวิชาการโรงเรียนสตรีชัยภูมิ. 2554) จึงสมควรที่จะต้อง มีการพัฒนาเทคนิควิธีการสอนหรือนาสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ มาใช้ใน การพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียนทั้งในระดับโรงเรียน และในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติให้สูงขึ้น ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) หรือ CAI สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อการเรียนเป็นอย่างดี (อรพรรณ พรสีมา. 2530 : 28) และ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนยังสามารถสอนได้แทบทุกวิชา ทั้งยังเป็นรูปแบบวิธีสอนแบบใหม่ รูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจัดว่าเป็นสื่อการเรียน การสอนที่สามารถสนองตอบความมุ่งหมายของการศึกษาตามเอกัตภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพสื่อ หนึ่ง ซึ่งผู้เรียนจะเรียนเนื้อหาวิชาได้ด้วยตนเองและช่วยลดภาระในการสอน ทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนที่ เรียนอ่อนสามารถใช้เวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะและเพิ่มเติมความรู้เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน ให้ทันผู้อื่นได้ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้การตอบสนองที่รวดเร็ว แสดงข้อมูลได้ทั้ง ตัวเลขตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ซึ่งทาให้ดูเหมือนจริง (กิดานันท์ มลิทอง. 2540 :229) เร้าความสนใจของผู้เรียนให้อยากเรียนตลอดเวลา ช่วยสนองต่อการเรียนรายบุคคลเป็นอย่างดี เพราะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถของตนเอง โดยไม่ต้องรอหรือเร่งตามเพื่อน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเหมาะสาหรับการสอนทุกรายวิชา เพราะให้การโต้ตอบกับนักเรียน ได้อย่างรวดเร็ว ผู้เรียนไม่สามารถแอบดูคาตอบหรือคาเฉลยได้ คอมพิวเตอร์ยังสามารถซ่อนคาตอบ ไว้จนกว่าผู้เรียนจะปฏิบัติกิจกรรมสาเร็จและคอมพิวเตอร์ยังให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ทาให้ ผู้เรียนทราบผลการเรียนรู้ของตนทันที (นิพนธ์ ศุขปรีดี. 2528 : 22) จากหลักฐานของการใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ทาให้นักการศึกษาหลายท่าน ได้ทดลองกับนักเรียนในระดับต่าง ๆ โดยใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนานักเรียน ในลักษณะแตกต่างกับการสอนของครู กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ช่วยให้คนเก่งสามารถเรียนได้เก่งขึ้น คนอ่อนสามารถพัฒนาให้มีมาตรฐานสูงขึ้น นอกจากนี้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อให้เนื้อหาเรื่องราวซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง และเป็นการ เรียนแบบ Interactive ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีข้อได้เปรียบที่สามารถ บรรจุทุกสิ่งที่ต้องการแสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพจากวีดีทัศน์ กราฟิก แผนภูมิ สามารถใช้สี ลงเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียนได้ใกล้เคียงกับการเรียนใน ห้องเรียน โดยคอมพิวเตอร์จะนาเสนอเนื้อหาบทเรียนไปทีละหน้าบนจอคอมพิวเตอร์ อนุญาตให้ ผู้เรียน ทากิจกรรมตอบโต้กับบทเรียนและได้รับข้อมูลย้อนกลับในทันที โดยวิธีนี้ผู้เรียนจึงสามารถ มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนตามแบบการสื่อสารสองทาง นอกจากนี้ CAI ยังเป็นสื่อที่
  • 4. 4 ตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เพราะสื่อคอมพิวเตอร์ใช้หลักการโต้ตอบกับผู้เรียนเป็น รายบุคคลให้โอกาสผู้เรียนตามความสนใจและความสามารถ โดยเลือกวิธีเรียนและควบคุม ความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองได้มากกว่าสื่อการสอนชนิดอื่น ๆ นอกจากคอมพิวเตอร์ช่วย สอนจะเป็นสื่อที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังสามารถที่จะ ประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา ดังนั้นผู้สอนจะสามารถนาคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไปช่วยในการสอนของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากเหตุผลดังกล่าวผู้รายงานจึงได้คิดหาวิธีการหรือแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการ ประยุกต์ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI เข้ามาใช้ประกอบการเรียนการสอนใน แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสร้างงาน กราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 จานวน 8 แผน 16 สัปดาห์ ซึ่งแบ่งเนื้อหาสาระออกเป็น 12 หน่วย ย่อย ดังนี้ ส่วนประกอบของโปรแกรม Flash CS3, การใช้เครื่องมือต่าง ๆ สร้างงานกราฟิก, Stage Symbol Instance และ Timeline, เฟรม การเพิ่มเฟรม การลบเฟรม และการเพิ่มคีย์เฟรม, การสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame, การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween, การสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween, การพิมพ์ข้อความและการแก้ไขข้อความ, การทางานเกี่ยวกับ Layer, การแทรกไฟล์เสียงและการจัดการไฟล์เสียง, การแทรกไฟล์วิดีโอและการเผยแพร่วิดีโอ, และตัวอย่างการสร้างงาน Animation วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงาน กราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1
  • 5. 5 สมมติฐำนกำรวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงาน กราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 อยู่ในระดับมากที่สุด ขอบเขตของกำรวิจัย 1. ประชากร เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 4 ห้องเรียน ได้แก่นักเรียนชั้น ม. 5/1, ม. 5/2, ม. 5/3 และ ม. 5/4 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ที่เรียนในรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 จานวน 180 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวน 1 ห้องเรียน ได้แก่นักเรียนชั้น ม. 5/4 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ที่เรียนในรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 จานวน 48 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ใช้หน่วยการสุ่มเป็นห้องเรียน 3. สาระที่ใช้ในการเรียนรู้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิก ด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ได้แก่ ส่วนประกอบของโปรแกรม Flash CS3, การสร้างงานกราฟิกด้วยเครื่องมือต่าง ๆของโปรแกรม Flash, Stage Symbol Instance และ Timeline, เฟรม การเพิ่มเฟรม การลบเฟรม และการเพิ่มคีย์เฟรม, การทางานเกี่ยวกับ Layer, การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame, การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween, การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween, การพิมพ์ข้อความและการแก้ไขข้อความ, การแทรก ไฟล์เสียงและการจัดการไฟล์เสียง, และการแทรกไฟล์วิดีโอและการเผยแพร่วิดีโอ 4. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ มีความรู้พื้นฐานเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ 5. ตัวแปรในการศึกษา 5.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างงานกราฟิกด้วยโปรแกรม Flash CS3 รายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 5.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  • 6. 6 ข้อตกลงเบื้องต้น 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทดลองมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกันทุกเครื่อง 2. เพศที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. นักเรียนสามารถเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยไม่จากัดเวลาเรียน นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึงโปรแกรมบทเรียนที่สร้างและพัฒนา ขึ้นด้วยโปรแกรมสร้างสื่อการสอน Adobe Flash CS3 สาหรับเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ ที่ผู้จัดทาได้สร้างขึ้น 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง คุณภาพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างและพัฒนาขึ้นและมีประสิทธิภาพ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของจานวนคาตอบที่นักเรียนตอบ ถูก จากการทากิจกรรมการเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนการสอนรวมกัน 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของจานวนคาตอบที่นักเรียนตอบ ถูก จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน 3. แบบทดสอบ หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการเรียนในรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยนามาใช้ในการ วัดผลก่อนเรียนและหลังเรียน กับนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบ ชุดนี้ได้ผ่านการวิเคราะห์หาความเชื่อมั่น และดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อทดสอบกับ จุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) ค่าความยาก (P) ค่าอานาจจาแนก (R) 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียนรายวิชา ง32203 งานกราฟิก 1 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ได้สื่อการสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. ครูมีสื่อการสอนทีทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 3. เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ 4. ได้เผยแพร่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไปยังโรงเรียนหรือสถาบันต่าง ๆ เพื่อเป็น การบริการทางการศึกษา