SlideShare a Scribd company logo
1 of 114
Download to read offline
รายงาน
โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห้องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)”
จัดท้าโดย
นาย ปวริศร์ อุปันโน เลขที่ 1
นางสาว สิราวรรณ จันทร์หอม เลขที่ 27
นางสาว ณัฐณิชา จันทร์เพ็ญ เลขที่ 29
นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/14
เสนอ
คุณครู จินตนา ธิปัน
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนพื้นฐานการงงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
รายงาน
โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห้องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)”
จัดท้าโดย
นาย ปวริศร์ อุปันโน เลขที่ 1
นางสาว สิราวรรณ จันทร์หอม เลขที่ 27
นางสาว ณัฐณิชา จันทร์เพ็ญ เลขที่ 29
นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/14
เสนอ
คุณครู จินตนา ธิปัน
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนพื้นฐานการงงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ค้าน้า
โครงงานเลํมนี้เป็นสํวนหนึ่งของวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ซึ่งมีเนื้อเกี่ยวกับการศึกษาค๎นคว๎าข๎อมูล และปฏิบัติออกแบบ
คิดค๎นในหัวข๎อเรื่อง “โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ปัจจุบันคนเรานั้นมี
ความต๎องการที่จะมีสัตว๑เลี้ยงของตนเองมากขึ้นอยูํทุกๆวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันนั้นมีการพัฒนาพันธุกรรม
ในสัตว๑ท้าให๎ลักษณะของสัตว๑นั้นมีอยูํหลากหลายชนิดแตกตํางกันไป “แมว” ซึ่งผู๎เลี้ยงแมวจ้านวนมาก
มักจะประสบปัญหาที่วํามีพื้นที่จ้ากัดในการเลี้ยงแมว นิสัยของแมวที่ไมํขับถํายไมํเป็นที่เป็นทาง มีปัญหาใน
การเก็บกวาดท้าความสะอาด และผู๎เลี้ยงที่ต๎องเดินทางบํอยๆ ไมํสามารถดูแลแมวได๎อยํางใกล๎ชิดด๎วยเหตุนี้
คณะผู๎จัดท้าจึงได๎มีความคิดที่จะคิดค๎นสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับผู๎เลี้ยงแมวที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับ
การดูแลเก็บกวาดอุจระของแมวนั่นก็คือ “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ KitKAt” ซึ่งนําจะสามารถลดปัญหา
ดังกลําวไมํมากก็น๎อย
ต๎องขอขอบคุณข๎อมูลจากสื่อสารสนเทศออนไลน๑ และต๎องขอขอบคุณคุณครูที่ปรึกษา
โครงงานคือคุณครู จินตนา ธิปัน ที่คอยให๎ค้าแนะน้าในการจัดท้าโครงงานในครั้งนี้ไมํวําจะเป็นการให๎
ค้าแนะน้า และค้าติชม จึงต๎องขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ด๎วย
ผู๎จัดท้าหวังไว๎เป็นอยํางยิ่งวํารายงานเลํมนี้จะมีประโยชน๑ไมํมากก็น๎อยส้าหรับผู๎ที่สนใจศึกษา
ในเรื่องของโครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” หากรายงานเลํมนี้มีข๎อผิดพลาด
ประการใดทางผู๎จัดท้ายินดีน๎อมรับค้าติชม เพื่อน้าไปพัฒนา ปรับปรุง และท้าการแก๎ไขในล้าดับตํอไป
คณะผู๎จัดท้า
ชื่อ : นาย ปวริศร๑ อุปันโน เลขที่ 1
นางสาว สิราวรรณ จันทร๑หอม เลขที่ 27
นางสาว ณัฐณิชา จันทร๑เพ็ญ เลขที่ 29
นาย ธีรศานต๑ สนใจ เลขที่ 35
ชื่อเรื่อง : โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)”
ชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 6/14
วิชา : การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102
ที่ปรึกษา : คุณครู จินตนา ธิปัน
ปีการศึกษา : 2/2558
บทคัดย่อ
โครงงานเลํมนี้เป็นสํวนหนึ่งของวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ซึ่งมีเนื้อเกี่ยวกับการศึกษาค๎นคว๎าข๎อมูล และปฏิบัติออกแบบคิดค๎นในหัวข๎อ
เรื่อง “โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ปัจจุบันคนเรานั้นมีความต๎องการที่
จะมีสัตว๑เลี้ยงของตนเองมากขึ้นอยูํทุกๆวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันนั้นมีการพัฒนาพันธุกรรมในสัตว๑ท้าให๎
ลักษณะของสัตว๑นั้นมีอยูํหลากหลายชนิดแตกตํางกันไป “แมว”เป็นสัตว๑เลี้ยงลูกด๎วยนมอีกชนิดที่คนเรามัก
นิยมเลี้ยงกันมากที่สุด เพราะความนํารัก ขี้อ๎อนของมันนั้นเอง ท้าให๎คนเราหลงรักแมว และอยากเลี้ยงแมว
แตํเมื่อตัดสินใจที่จะเลี้ยงแมวแล๎ว เราก็ต๎องมีความพร๎อมที่จะเลี้ยงอยํางแท๎จริง ไมํใชํเพียงแคํวําอยากเลี้ยง
ไว๎ดูเลํนเพราะนั่นหมายถึงการดูแลชีวิตชีวิตหนึ่งเลยทีเดียว เพราะฉะนั้นจึงจ้าเป็นมากที่จะต๎องศึกษาข๎อมูล
เกี่ยวกับแมวเพื่อให๎เข๎าใจลักษณะการด้ารงชีวิตของพวกมันให๎มากที่สุด เพื่อท้าให๎แมวนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดี
อยูํคูํกับเราไปนานๆ ด๎วยเหตุนี้คนเราจึงต๎องการสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับสัตว๑เลี้ยงด๎วย เพื่อท้าให๎งําย
ตํอการเลี้ยงดูซึ่งท้าให๎เกิดประโยชน๑ตํอคนเราหรือผู๎เลี้ยงและสัตว๑ไปด๎วยพร๎อมๆกัน การขับถํายนั้นเป็นเรื่อง
ที่ส้าคัญมากเราควรที่ฝึกให๎แมวขับถํายเป็นระเบียบเพื่อรักษาสภาพแวดล๎อมให๎สะอาด ในทางเดียวกันนั่น
ท้าให๎เราสามารถดูแลได๎งําย ท้าความสะอาดได๎งํายอีกด๎วย ในขณะเดียวกันก็เป็นการฝึกให๎นิสัยของแมว
โดยให๎แมวนั้นขับถํายเป็นที่เป็นทางไมํเรี่ยราด จึงท้าให๎สภาพแวดล๎อมของที่อยูํอาศัยมีสภาพที่ดีตํอการ
ด้ารงชีวิตของแมวอีกด๎วย ด๎วยเหตุนี้คณะผู๎จัดท้าจึงได๎มีความคิดที่จะคิดค๎นสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับ
ผู๎เลี้ยงแมวที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับการดูแลเก็บกวาดอุจระของแมวนั่นก็คือ “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ KitKAt”
นั่นเอง โดยจะชํวยให๎สามารถดูแลเรื่องการขับถํายของแมวได๎อยํางงํายดาย ประหยัดพื้นที่ใช๎สอยภายใน
บริเวณที่เลี้ยงแมว สะดวกในการท้าความสะอาด เคลื่อนที่งําย เหมาะส้าหรับผู๎ที่ต๎องเดินทางบํอยๆ ขนาด
พอดีกะทัดรัดงํายตํอการเคลื่อนย๎ายหรือขนสํง และเหมาะส้าหรับผู๎ที่มีพื้นที่บริเวณที่เลี้ยงส้าหรับแมวที่มีไมํ
มากนัก อาจเป็นหอพัก ห๎องพัก คอนโดมิเนียม บ๎านหลังเล็ก หรือบริเวณที่มีพื้นที่จ้ากัด ชํวยท้าให๎ประหยัด
พื้นที่การใช๎สอยภายในที่อยูํอาศัย งํายตํอการแบํงจัดสรรพื้นที่ได๎อยํางงํายดาย ด๎วยเหตุผลที่กลําวมาข๎างต๎น
คณะผู๎จัดท้าจึงคิดวําสิ่งๆนี้เชื่อวําจะสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู๎เลี้ยงแมวได๎ไมํมากก็น๎อย
บทที่ 1
บทน้า
ชื่อโครงงาน
ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ ( KitKAt )
ชื่อผู้จัดท้า
นาย ปวริศร๑ อุปันโน เลขที่ 1
นางสาว สิราวรรณ จันทร๑หอม เลขที่ 27
นางสาว ณัฐณิชา จันทร๑เพ็ญ เลขที่ 29
นาย ธีรศานต๑ สนใจ เลขที่ 35
ชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 6/14
ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครู จินตนา ธิปัน
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันการเลี้ยงแมวของผู๎ที่เลี้ยงแมวภายในบ๎านหรือพื้นที่ๆจ้ากัดเชํน บ๎านชั้นเดียว บ๎านเชํา ห๎อง
เชํา หอพัก คอนโด ฯลฯ และเจ๎าของนั้นตองเดินทางบํอยๆท้าให๎ไมํมีเวลาดูแลแมวของตนเองเนื่องจากไมํ
สามารถน้ามันไปด๎วยได๎ ปัญหาโดยสํวนใหญํก็มันจะประสบปัญหาในเรื่องของปัญหาพื้นที่ไมํเพียงพอตํอการใช๎
สอยประโยชน๑ เนื่องจากมีอุปกรณ๑ที่ใช๎ส้าหรับเลี้ยงแมวอยูํมาก หรือไมํก็อุปกรณ๑นั้นๆมีขนาดใหญํเทอะทะท้า
ให๎เคลื่อนย๎ายได๎ไมํสะดวก ดูแลท้าความสะอาดยากนั่นเอง ปัญหาอีกอยํางหนึ่งที่เชื่อวําผู๎เลี้ยงแมวทุกคนต๎อง
เคยพบเจอนั่นก็คือปัญหาการขับถํายของแมวที่ไมํเป็นที่ไมํเป็นทางนั่นเอง โดยสาเหตุเกิดจากหลายๆปัจจัยอาทิ
เชํน แมวมีความเครียดสะสมอาจมาจากหลายๆสาเหตุเชํน เจ๎าของไมํอยูํบ๎าน ไมํได๎เลํน ไมํได๎ออกก้าลังกาย
สภาพแวดล๎อมไมํเหมาะสม ที่อยูํอาศัยไมํสะอาดมีกลิ่นเหม็น ที่อยูํอาศัยมีความอับชื้น การที่ไมํได๎ออกไปเลํน
ข๎างนอก ไปจนถึงอุปกรณ๑การเลี้ยงดูที่ไมํเหมาะสมกับประเภทของแมวที่เลี้ยงนั่นเอง
โดยพบวําสภาพแวดล๎อมของที่อยูํอาศัยของแมวที่ไมํเหมาะสมเชํน ความอัดของห๎อง มีแมวที่เลี้ยงใน
พื้นที่ที่จ้ากัดมากเกินไป การวางสิ่งของเครื่องใช๎ในห๎องที่ไมํเป็นระเบียบ หรือห๎องมีความสกปรกมาก ไมํได๎ท้า
ความสะอาด มีกลิ่นเหม็นฉุน ไปจนถึงการไมํเปลี่ยนทรายแมว โดยสิ่งเหลํานี้ไมํเพียงแตํจะเป็นผลเสียตํอแมว
โดยตรง แตํยังมีผลเสียกับผู๎เลี้ยงแมวหรือเจ๎าของด๎วย โดยที่อาจท้าให๎แมวนั้นเกิดโรคตํางๆเชํนโรคภูมิแพ๎
ท๎องเสีย อาการแพ๎ที่ผิวหนังเนื่องจากเชื้อราซึ่งเกิดจากสภาพแวดล๎อมที่มีความสกปรก หรืออับชื้นซึ่งเป็นปัจจัย
ส้าคัญที่กํอให๎เกิดเชื้อรา และแบคทีเรียร๎ายที่อาจท้าอันตรายตํอแมว รวมไปถึงอาการเบื่ออาหาร ปัญหาด๎าน
สภาพจิตใจท้าให๎อารมณ๑ไมํดี จนอาจท้าให๎สร๎างความเสียหายตํอสิ่งของเครื่องใช๎ในบ๎านได๎
จากข๎อมูลเหตุผลดังกลําวข๎างต๎น ทางผู๎ผู๎จัดท้าเล็งเห็นจากอันตรายแลปัญหาที่เกดขึ้นที่แฝงอยูํในนิสัย
การขับถํายไมํเป็นที่ และการมีพื้นที่ใช๎สอยจ้ากัดในการเลี้ยงแมว เพราะอาจกํอให๎เกิดผลเสียทั้งตัวแมวเองที่
อาจท้าให๎สภาพอารมณ๑ไมํดีจนอาจกํอให๎เกิดความเสียหายภายในบ๎านได๎เนื่องจากเจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงไมํอยูํ
สภาพแวดล๎อมมีความแออัดไมํเหมาะสม การเกิดโรคร๎าย และเจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงที่ประสบปัญหาพื้นที่ใช๎สอยมี
อยูํจ้ากัด การที่ต๎องเดินทางบํอยๆไมํมีเวลาที่จะดูแลแมวของตนเอง การที่จะต๎องมาคอยท้าความสะอาดที่อยูํ
อาศัยของแมว การที่จะต๎องคอยเก็บและท้าความสะอาดปัสสาวะแลอุจระของแมวที่กํอให๎เกิดความร้าคาญ
เนื่องจากนิสัยการขับถํายไมํเป็นที่ของแมว ซึ่งถ๎าหากปลํอยไว๎อยูํเฉยก็จะท้าให๎เกิดปัญหาที่ตามมามากมาย
ตามที่ได๎กลําวไว๎ในข๎างต๎น ซึ่งถ๎ามีสิ่งที่มีการออกแบบขึ้นมาเพื่อให๎สามารถแก๎ปัญหาการขับถํายของแมวที่ไมํ
เป็นที่เป็นทาง สามารถน้าพาแมวไปได๎ในทุกๆที่เพื่อดูแลได๎อยํางใกล๎ชิดโดยที่ไมํต๎องกังวลกับปัญหาการเก็บ
กวาดปัสสาวะและอุจระให๎ยุํงยาก อุปกรณ๑การเลี้ยงแมวที่มีขนาดพอดีกะทัดรัดรับการมุมห๎องเพื่อเพิ่มพื้นที่ใช๎
สอยภายในพื้นที่จ้ากัดเชื่อวํานําจะชํวยแก๎ไขปัญหาเหลํานี้ได๎ขึ้นมาบ๎าง และด๎วยเหตุผลที่กลําวมาข๎างต๎นทาง
ผู๎จัดท้าได๎มีการออกห๎องน้้าแมวที่สามารถตอบสนองความต๎องการในการจัดการกับการดูแลแมวอยํางใกล๎ชิด
เพิ่มพื้นที่การใช๎สอย เคลื่อนย๎ายขนย๎ายได๎อยํางสะดวกสบายงํายดาย และหมดปัญหากับการเก็บกวําปัสสาวะ
และอุจระของแมวได๎อยํางครบถ๎วน
จุดมุ่งหมาย ( ข้อก้าหนดเบื้องต้นในการออกแบบ )
การวิเคราะห์์ปัญหาหรือความต้องการด้วยหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 5W1H
- วิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการคืออะไร (What)
- การมีพื่นที่ใช๎สอยจ้ากัด เจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงต๎องเดินทางไปไหนมาไหนบํอยท้าให๎ไมํสามารถดูแลแมว
ได๎อยํางใกล๎ชิด นิสัยของแมวที่ขับถํายเรี่ยราด อุปกรณ๑การเลี้ยงดูที่มากมายเยอะจนเกินไป เจ๎าของ ผู๎เลี้ยง
หรือผู๎รับฝากเลี้ยงเกิดความร้าคาญในการที่จะต๎องมาคอยเก็บกวาดในการท้าความสะอาดที่อยูํอาศัย หรือดูแล
รักษาอุปกรณ๑การเลี้ยงตํางๆมากมาย อุปกรณ๑การเลี้ยงที่เคลื่อนที่ยาก ไมํรับมุมห๎อง
- แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดกับใคร (Who)
- เจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงแมวที่มีพื้นที่ในการเลี้ยงแมวจ้ากัด เจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงแมวที่ต๎องเดินทางไปไหน
มาไหนบํอย เจ๎าของ ผู๎เลี้ยง หรือผู๎รับฝากเลี้ยงทั่วไป
- แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดขึ้นที่ไหน (Where)
- ที่อยูํอาศัยที่มีพื้นที่จ้ากัด เชํน บ๎านชั้นเดียว ห๎องเชํา บ๎านเชํา หอพัก คอนโด เป็นต๎น และที่อยูํอาศัย
โดยทั่วไป
- แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดขึ้นเมื่อไร (When)
- เมื่อพบกับปัญหาแมวขับถํายเรี่ยราด ไมํสามารถดูแลแมวด๎วยตนเอง จ้าเป็นต๎องให๎แมวอยูํตัวคน
เดียว หรือต๎องให๎ผู๎อื่นฝากเลี้ยง พื้นที่การใช๎สอยมีจ้ากัด ต๎องการเคลื่อนย๎ายขนย๎ายเพื่อเปลี่ยนต้าแหนํง
- ท้าไมจึงต้องแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Why)
- ชํวยลดปัญหาแมวขับถํายเรี่ยราด งํายตํอการดูแล ท้าความสะอาดงําย ลดความร้าคาญในการที่
จะต๎องมาคอยเก็บกวาดในการท้าความสะอาดที่อยูํอาศัย หรือดูแลรักษาอุปกรณ๑การเลี้ยงตํางๆมากมาย
ประหยัดพื้นที่ในการใช๎สอย เคลื่อนย๎ายขนย๎ายได๎งําย
- แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างไร (How)
- ประดิษฐ๑ “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ที่สามารถตอบสนองความต๎องการในการจัดการกับการ
ดูแลแมวอยํางใกล๎ชิด เพิ่มพื้นที่การใช๎สอย เคลื่อนย๎ายขนย๎ายได๎อยํางสะดวกสบายงํายดาย และหมดปัญหากับ
การเก็บกวําปัสสาวะและอุจระของแมวได๎อยํางครบถ๎วน
นิยามศัพท์เฉพาะ ( Definition )
“ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ ( KiTKAt )” หมายถึง ห๎องน้้าที่คิดมาเพื่อแมวแมวโดยเฉพาะที่สามารถ
เคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได๎ การออกแบบถูกออกแบบให๎มีลักษณะเป็นห๎องคือเป็นทรงสี่เหลี่ยม โดยตัวที่ท้า
หน๎าที่ในการรับปัสสาวะและอุจระคือกระบะทรายขนาดพอดีกับความกว๎างยาวของห๎องที่มีตะแกรงรองเปิดปิด
ได๎ โดยอีกชั้นหนึ่งจะเป็นกระบะทรายที่ที่มีตะแกรงซ๎อนตัวถาดใสํทรายซึ่งทรายจะทํวมตะแกรงเมื่อเวลาแมว
ถํายออกมา ก็ถอดตัวที่นั่งที่ติดกับตะแกรงออกมา จากนั้นเปิดตะแกรงที่นั่ง และใช๎ตะแกรงที่ซ๎อนถาดรํอนหรือ
เขยํา เพื่อให๎ทรายไปเกาะอยูํที่อุจระท้าให๎สามารถตักออกได๎อยํางงํายดาย สะดวกสบายในการดูแล ไมํเลอะ
เทอะเปรอะเปื้อน โดยมีล๎อที่ข๎างใต๎ตัวห๎องทรงสี่เหลี่ยมที่มีขนาดพอดีไมํใหญํมากจนเกินไปท้าให๎สามารถ
เคลื่อนที่หรือขนย๎ายได๎อยํางงํายดาย และประหยัดพื้นที่ใช๎สอยได๎อีกด๎วย
“ห๎องน้้า” หมายถึง หนึ่งในสิ่งอ้านวยความสะดวกที่ขาดไมํได๎ในชีวิตประจ้าวันของทุกคนตั้งแตํตื่น
นอนจนถึงเข๎านอน โดยมีลักษณะคือโดยมากจะเป็นทรงสี่เหลี่ยมมีผนังซึ่งภายในก็จะมีสุขภัณฑ๑ มีการเชื่อตํอ
กับระบบประปา และถังหรือบํอน้้าเสีย เพื่อท้าการช้าระล๎างนั้นเอง ห๎องน้้าที่สะอาดนําใช๎นั้นไมํควรมีกลิ่น
เหม็น ไมํมีคราบสกปรก ไมํวําจะเป็นพื้นห๎อง ผนังห๎องหรือสุขภัณฑ๑ตํางๆ เชํน โถส๎วม ที่รองนั่ง สายฉีดน้้า
ช้าระ อํางล๎างหน๎า ฯลฯ ซึ่งในที่นี้เราได๎จ้าลองเป็นห๎องน้้าส้าหรับแมวนั่นคือตัวกระบะทรายเปรียบเสมือม
สุขภัณฑ๑ที่แมวใช๎ขับถํายนั่นเอง
“เคลื่อนที่” หมายถึง การเปลี่ยนต้าแหนํงของวัตถุในชํวงเวลาหนึ่ง ซึ่งวัดโดยผู๎สังเกตที่เป็นสํวนหนึ่ง
ของกรอบอ๎างอิง เมื่อปลายคริสต๑ศตวรรษที่ 19 เซอร๑ไอแซก นิวตัน ได๎เสนอกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันใน
หนังสือ Principia ของเขา ซึ่งตํอมาได๎กลายเป็นกฎพื้นฐานของฟิสิกส๑ดั้งเดิม การค้านวณการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตํางๆ โดยใช๎ฟิสิกส๑ดั้งเดิมนั้นประสบความส้าเร็จมาก จนกระทั่งนักฟิสิกส๑เริ่มศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่เคลื่อนที่ด๎วย
ความเร็วสูงมาก
นักฟิสิกส๑พบวํา ฟิสิกส๑ดั้งเดิมไมํสามารถค้านวณสิ่งที่เคลื่อนที่ด๎วยความเร็วสูงได๎แมํนย้า เพื่อแก๎ปัญหา
นี้ อองรี ปวงกาเร และ อัลเบิร๑ต ไอน๑สไตน๑ได๎เสนอทฤษฎีอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่อใช๎แทนของกฎของ
นิวตัน กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันก้าหนดให๎อวกาศและเวลาเป็นสิ่งสัมบูรณ๑ แตํทฤษฎีไอน๑สไตน๑กับปวงกาเร ซึ่ง
เรียกวํา ทฤษฎีสัมพัทธ๑ภาพพิเศษ ก้าหนดให๎คําเหลํานี้เป็นสิ่งสัมพัทธ๑ ซึ่งตํอมา ทฤษฎีสัมพัทธ๑ภาพพิเศษก็เป็น
ที่ยอมรับในการอธิบายการเคลื่อนที่ เพราะท้านายผลลัพธ๑ได๎แมํนย้ากวํา อยํางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ กฎการ
เคลื่อนที่ของนิวตันยังเป็นที่ใช๎กันอยูํ โดยเฉพาะงานด๎านฟิสิกส๑ประยุกต๑และงานวิศวกรรม เพราะสามารถ
ค้านวณได๎งํายกวําทฤษฎีสัมพัทธ๑ภาพพิเศษ
โดยในที่นี้การออกแบบจะใช๎ล๎อในการเคลื่อนที่ซึ่งใช๎หลักของการเคลื่อนที่แบบหมุน ( Rotational
motion ) การเคลื่อนที่แบบหมุน ในธรรมชาติเกิดขึ้นได๎กับอนุภาคหรือวัตถุที่มีขนาดเล็กไปจนถึงวัตถุที่มีขนาด
ใหญํมาก ตั้งแตํการหมุนในระดับอะตอมไปจนถึงการหมุนของกาแลกซีในเอกภพ ในกรณีการหมุนของวัตถุที่มี
ขนาดใหญํ เชํน การหมุนของล๎อรถ การหมุนของดาวเคราะห๑ เราไมํสามารถที่จะมองการหมุนแบบนั้นเหมือน
การหมุนของอนุภาคเดี่ยวๆ ได๎ เพราะอนุภาคเหลํานั้นอยูํคนละต้าแหนํง มีระยะหํางจากแกนหมุนไมํเทํากัน จึง
มีความเร็วเชิงเส๎นและความเรํงเชิงเส๎นที่ไมํเทํากันด๎วย ดังนั้น ในการศึกษาการหมุนของวัตถุที่ประกอบไปด๎
วยอนุภาคที่เรียงตัวกันอยํางตํอเนื่องจะสมมติเป็นวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) คือ วัตถุในอุดมคติที่ประกอบ
ไปด๎วยอนุภาคมากมายเรียงรายตํอเนื่องกันและมีระยะระหวํางอนุภาคคงที่เสมอ ดังนั้น วัตถุแข็งเกร็งจึงไมํมี
การเปลี่ยนรูปรํางในขณะเคลื่อนที่ ไมํวําจะมีแรงภายนอกมากระท้ามายมายเพียงใดก็ตาม (ในอุดมคติ)
ดังนั้น การเคลื่อนที่แบบหมุนจะเป็นการเคลื่อนที่โดยการหมุนรอบตัวเอง รอบจุดใดจุดหนึ่ง หรือ แกน
ใดแกนหนึ่งในตัวมัน เชํน ลูกฟุตบอล ลูกขําง พัดลม ล๎อรถ เป็นต๎น จลนศาสตร๑ของการหมุนจะเหมือนกับ
จลนศาสตร๑การเคลื่อนที่เป็นวงกลม การหมุนของวัตถุแข็งเกร็งรอบแกนตรึงแกนหนึ่ง แตํละอนุภาคที่ประกอบ
กันเป็นวัตถุแข็งเกร็งจะมีความเร็วเชิงมุมและความเรํงเชิงมุมเทํากันเสมอ
โดยวัสดุที่จะน้ามาชวยในการเคลื่อนที่ที่ใช๎คือ ลูกล๎อลูกล๎อคูํพลาสติกแปูนหมุนนั่นเอง ลูกล๎อคูํ มีล๎อ
สองล๎อเรียงขนานและใช๎เหมือนเป็นล๎อเดียว นอกจากจะท้าให๎ ความต๎านทานส้าหรับเริ่มเดิน (starting
resistance) ลดลง (เริ่มได๎เบาลง) การหมุนเบาลงท้าให๎การเปลี่ยนทิศทางท้าได๎งําย หาซื้อได๎งํายตามร๎านขาย
ของอุปกรณ๑เครื่องมือชํางทั่วไป ราคาถูก มีความแข็งแรง เหมาะส้าหรับงานเฟอร๑นิเจอร๑ และเหมาะส้าหรับการ
รับน้้าหนักที่ไมํมาก ใช๎ได๎กับงานทั่วไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถบูรณการสะเต็มศึกษา และศาสตร๑ที่เกี่ยวข๎องในการสร๎างนวัตกรรมเทคโนโลยี
2. สามารถพัฒนาทักษะความคิดสร๎างสรรค๑
3. เป็นแนวทางการพัฒนาและสร๎างสิ่งของ เครื่องใช๎ นวัตกรรม น้าไปสูํการจดสิทธิบัตร
4. สํงเสริมการท้างานเป็นกลุํม
5. สร๎างทักษะและคุณลักษณะของการเรียนรู๎ในศตวรรษที่ 21
6. สํงเสริมให๎ใช๎เวลาวํางให๎เป็นประโยชน๑
บทที่ 2
การรวบรวมข้อมูล
การจัดท้าโครงงาน “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ ( KitKAt )” วิชาการออกแบบเทคโนโลยี ผู๎จัดท้าได๎ศึกษา
แลรวบรวมข๎อมูลจากเอกสาร และสื่อสารสนเทศ ประกอบด๎วย
1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สาระการออกแบบและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4
( ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 )
ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ดังนี้
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ มีดังนี้
ง 2.1เข๎าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎
หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยํางมีความคิดสร๎างสรรค๑ เลือกใช๎เทคโนโลยี
ในทางสร๎างสรรค๑ตํอชีวิต สังคมสิ่งแวดล๎อมและมีสํวนรํวมในการจัดการ
เทคโนโลยีที่ยั่งยืน
1.2 ตัวชี้วัด มีดังนี้
ง 2.1.5 วิเคราะห๑และเลือกใช๎เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจ้าวันอยํางสร๎างสรรค๑ตํอ
ชีวิต สังคมและสิ่งแวดล๎อมและมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนด๎วยวิธีการของ
เทคโนโลยีสะอาด
ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ๑ระหวํางเทคโนโลยีกับศาสตร๑อื่นๆ
ง 2.1.2 วิเคราะห๑ระบบเทคโนโลยี
ง 2.1.3 สร๎างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช๎หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยําง
ปลอดภัย โดยถํายทอดความคิดเป็นภาพฉายและแบบจ้าลองเพื่อน้าไปสูํ
การสร๎างชิ้นงานหรือถํายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจ้าลองความคิดและการ
รายงานผลโดยใช๎ซอฟท๑แวร๑ชํวยในการออกแบบหรือน้าเสนอผลงาน
ง 2.1.4 มีความคิดสร๎างสรรค๑ในการแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการในงานที่ผลิตเอง
หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ๑ที่ผู๎อื่นผลิต
1.3 สาระการเรียนรู้ มีดังนี้
- เทคโนโลยีมีความสัมพันธ๑กับศาสตร๑อื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร๑
- ระบบเทคโนโลยีประกอบด๎วย ตัวปูอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ๑
(Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางตํอเทคโนโลยี
(Consideration)
- การวิเคราะห๑ระบบเทคโนโลยีท้าให๎ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด๎านตํางๆ ที่มีผลตํอการแก๎ปัญหา
หรือสนอง ความต๎องการ
- การสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีจะท้าให๎ผู๎เรียนท้างานอยําง
เป็นระบบ สามารถย๎อนกลับมาแก๎ไขได๎งําย
- การใช๎ซอฟท๑แวร๑ชํวยในการออกแบบหรือน้าเสนอผลงานมีประโยชน๑ในการชํวยรํางภาพ ท้า
ภาพ ๒ มิติ และ ๓ มิติ
- การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช๎ต๎องค้านึงถึง หลักการวิเคราะห๑ผลิตภัณฑ๑เบื้องต๎น
- หลักการวิเคราะห๑ผลิตภัณฑ๑เบื้องต๎น เป็นการวิเคราะห๑จุดมุํงหมายของ การออกแบบ
ประกอบด๎วย ชิ้นงานนี้ใช๎ท้าอะไร ท้าไมถึงต๎องมีชิ้นงานนี้ ใครเป็นผู๎ใช๎ ใช๎ที่ไหน เมื่อไร จึง
ใช๎ วิธีการที่ท้าให๎ชิ้นงานนี้ท้างานได๎ตามวัตถุประสงค๑
- ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน ประกอบด๎วยภาพด๎านหน๎า ด๎านข๎าง
ด๎านบน แสดงขนาดและหนํวยวัด เพื่อน้าไปสร๎างชิ้นงาน
- ความคิดสร๎างสรรค๑มี ๔ ลักษณะ ประกอบด๎วยความคิดริเริ่ม ความคลํองในการคิด ความ
ยืดหยุํนในการคิดและความคิดละเอียดลออ
- ความคิดแปลกใหมํที่ได๎ ต๎องไมํละเมิดความคิดผู๎อื่น
- เทคโนโลยีสะอาดเป็นการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแบบหนึ่ง
- ความคิดแปลกใหมํเป็นการสร๎างนวัตกรรมที่อาจน้าไปสูํการจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร
- การวิเคราะห๑ผลดี ผลเสีย การประเมินและการตัดสินใจเพื่อเลือกใช๎เทคโนโลยีที่เหมาะสม
-การเลือกใช๎สิ่งของเครื่องใช๎อยํางสร๎างสรรค๑ โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใช๎ที่เป็นมิตรกับชีวิต สังคมสิ่งแวดล๎อม
2. หลักการสะเต็มศึกษา ( STEM Education )
กระบวนการ STEM
STEM ยํอมาจาก Science, Technology,
Engineering and Mathematics คือ แนวทางการจัด
การศึกษาที่บูรณการความรู๎ใน 4 สหวิทยาการ ได๎แกํ
วิทยาศาสตร๑ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร๑ โดย
เน๎นการน้าความรู๎ไปใช๎แก๎ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการ
พัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมํ ที่เป็นประโยชน๑ตํอการด้าเนินชีวิต และการท้างาน ชํวยนักเรียนสร๎าง
ความเชื่อมโยงระหวําง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการท้างาน การจัดการเรียนรู๎แบบสะเต็มศึกษาเป็น
การจัดการเรียนรู๎ที่ไมํเน๎นเพียงการทํองจ้าทฤษฎีหรือกฎทางวิทยาศาสตร๑ และคณิตศาสตร๑ แตํเป็นการสร๎าง
ความเข๎าใจทฤษฎีหรือกฎเหลํานั้นผํานการปฏิบัติให๎เห็นจริงควบคูํกับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้ง
ค้าถาม แก๎ปัญหาและการหาข๎อมูลและวิเคราะห๑ข๎อค๎นพบใหมํๆ พร๎อมทั้งสามารถน้าข๎อค๎นพบนั้นไปใช๎หรือ
บูรณการกับชีวิตประจ้าวันได๎
- Science เป็นวิชาที่วําด๎วยการศึกษาปรากฏการณ๑ตํางๆ ในธรรมชาติ โดยอาศัยกระบวนการสืบเสาะทาง
วิทยาศาสตร๑ (Scientific Inquiry)
-Technology เป็นวิชาที่วําด๎วยกระบวนการท้างานที่มีการประยุกต๑ศาสตร๑สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง มาใช๎ใน
การแก๎ปัญหา ปรับปรุงแก๎ไขหรือพัฒนาสิ่งตํางๆ เพื่อตอบสนองความต๎องการ หรือความจ้าเป็นของมนุษย๑
-Engineering เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการสร๎างสรรค๑นวัตกรรมหรือสร๎างสิ่งตํางๆ เพื่อมาอ้านวยความสะดวกของ
มนุษย๑ โดยอาศัยความรู๎ด๎านวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และกระบวนการทางเทคโนโลยี มาประยุกต๑ใช๎
สร๎างสรรค๑ชิ้นงานนั้นๆ
-Mathematics เป็นวิชาที่วําด๎วยการศึกษาเกี่ยวกับการค้านวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการค้านวณ เป็นพื้นฐาน
ส้าคัญในการศึกษาและตํอยอดทางวิศวกรรมศาสตร๑
สาเหตุที่ต้องมี STEM EDUCATION หรือ สะเต็มศึกษา
จุดเริ่มต๎นของแนวคิด STEM มาจากสหรัฐอเมริกา ที่ประสบปัญหาเรื่อง ผลการทดสอบ PISA ของ
สหรัฐอเมริกา ที่ต่้ากวําหลายประเทศ และสํงผลตํอขีดความสามารถด๎านวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยี และ
วิศวกรรม รัฐบาลจึงมีนโยบาย สํงเสริมการศึกษาโดยพัฒนา STEM ขึ้นมา เพื่อหวังวําจะชํวยยกระดับผลการ
ทดสอบ PISA ให๎สูงขึ้น และจะเป็นแนวทางหนึ่งในการสํงเสริมทักษะที่จ้าเป็นส้าหรับผู๎เรียนในศตวรรษที่ 21
(21st Century skills)
ประเทศไทยของเราเองก็ประสบปัญหาในลักษณะคล๎ายกัน เชํน นักเรียนไมํเข๎าใจบทเรียนอยําง
แท๎จริง เรียนอยํางทํองจ้า ให๎ท้าข๎อสอบผําน เมื่อผํานไปอีกภาคการศึกษาหนึ่ง เกิดปัญหาลืมบทเรียนที่จบไป
แล๎ว อาจเป็นเพราะนักเรียนไมํเข๎าใจวํา บทเรียนนั้นน้าไปใช๎ประโยชน๑ในชีวิตจริงได๎อยํางไร จึงท้าให๎นักเรียนไมํ
สามารถเชื่อมตํอความรู๎เป็นภาพใหญํได๎
ตัวอยํางการเรียนการสอนในประเทศญี่ปุุน : ประเทศญี่ปุุน มักจะที่ประสบภัยพิบัติมาตลอด จึงน้ามา
ประเด็นดังกลําว มาใช๎ในภาคการศึกษา ดังเชํน การค้านวณพื้นที่ประสบภัยน้้าทํวม การไหลของน้้า การ
เคลื่อนที่ของคลื่นซึนามิ แม๎จะเป็นความเข๎าใจในพื้นฐานไมํลึกซึ้ง เทํากับการศึกษาด๎วยแบบจ้าลองด๎วย
คอมพิวเตอร๑ (computer modeling) ที่หนํวยงานดูแลและบริหารใช๎งานอยูํจริง แตํก็ท้าให๎นักเรียนเห็นภาพที่
เกี่ยวข๎องกับชีวิตประจ้าวันมากขึ้น
ตัวอยํางการเรียนการสอนในประเทศไทย : สสวท. ได๎ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร๑ ตามแนวทาง STEM หลายกิจกรรม ครูที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได๎ที่นี่>> กิจกรรมอุณหภูมิ
น้้าหวานเย็นลงได๎ด๎วย STEM
จุดเด่นของSTEM
จุดเดํนที่ชัดเจนข๎อหนึ่งของการจัดการเรียนการเรียนรู๎แบบสะเต็ม คือการผนวกแนวคิดการออกแบบ
เชิงวิศวกรรมเข๎ากับการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยี ของผู๎เรียน กลําวคือ ในขณะที่
นักเรียนท้ากิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู๎ ความเข๎าใจ และฝึกทักษะด๎านวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และ
เทคโนโลยี ผู๎เรียนต๎องมีโอกาสน้าความรู๎มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อตอบสนองความต๎องการหรือ
แก๎ปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับชีวิตประจ้าวัน เพื่อให๎ได๎เทคโนโลยีซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม (NRC, 2012) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบด๎วยองค๑ประกอบ 5 ขั้นตอน ได๎แกํ
การระบุปัญหา (identify a challenge)ขั้นตอนนี้เริ่มต๎นจากการที่ผู๎แก๎ปัญหาตระหนักถึงสิ่งที่เป็นปัญหาใน
ชีวิตประจ้าวันและจ้าเป็นต๎องหาวิธีการหรือสร๎างสิ่งประดิษฐ๑ (innovation) เพื่อแก๎ไขปัญหาดังกลําว ในการ
แก๎ปัญหาในชีวิตจริงบางครั้งค้าถามหรือปัญหาที่เราระบุอาจประกอบด๎วยปัญหายํอย ในขั้นตอนของการระบุ
ปัญหา ผู๎แก๎ปัญหาต๎องพิจารณาปัญหาหรือกิจกรรมยํอยที่ต๎องเกิดขึ้นเพื่อประกอบเป็นวิธีการในการแก๎ปัญหา
ใหญํด๎วย
การค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง (explore ideas) หลังจากผู๎แก๎ปัญหาท้าความเข๎าใจปัญหาและสามารถระบุ
ปัญหายํอย ขั้นตอนตํอไปคือการรวบรวมข๎อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข๎องกับการแก๎ปัญหาดังกลําว ในการค๎นหา
แนวคิดที่เกี่ยวข๎องผู๎แก๎ปัญหาอาจมีการด้าเนินการ ดังนี้
(1) การรวบรวมข๎อมูล คือการสืบค๎นวําเคยมีใครหาวิธีแก๎ปัญหาดังกลําวนี้แล๎วหรือไมํ และหากมีเขา
แก๎ปัญหาอยํางไร และมีข๎อเสนอแนะใดบ๎าง
(2) การค๎นหาแนวคิด คือการค๎นหาแนวคิดหรือความรู๎ทางวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ หรือเทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข๎องและสามารถประยุกต๑ในการแก๎ปัญหาได๎ ในขั้นตอนนี้ ผู๎แก๎ปัญหาควรพิจารณาแนวคิดหรือความรู๎
ทั้งหมดที่สามารถใช๎แก๎ปัญหาและจดบันทึกแนวคิดไว๎เป็นทางเลือก และหลังจากการรวบรวมแนวคิดเหลํานั้น
แล๎วจึงประเมินแนวคิดเหลํานั้น โดยพิจารราถึงความเป็นไปได๎ ความคุ๎มทุน ข๎อดีและจุดอํอน และความ
เหมาะสมกับเงื่อนไขและขอบเขตของปัญหา แล๎วจึงเลือกแนวคิดหรือวิธีการที่เหมาะสมที่สุด
การวางแผนและพัฒนา (plan and develop)หลังจากเลือกแนวคิดที่เหมาะสมในการแก๎ปัญหาแล๎ว
ขั้นตอนตํอไป คือการวางแผนการด้าเนินงาน โดยผู๎แก๎ปัญหาต๎องก้าหนดขั้นตอนยํอยในการท้างานรวมทั้ง
ก้าหนดเปูาหมายและระยะเวลาในการด้าเนินการแตํละขั้นตอนยํอยให๎ชัดเจน ในขั้นตอนของ
การพัฒนา ผู๎แก๎ปัญหาต๎องวาดแบบและพัฒนาต๎นแบบ (prototype) ของผลผลิตเพื่อใช๎ในการทดสอบแนวคิด
ที่ใช๎ในการแก๎ปัญหา
การทดสอบและประเมินผล (test and evaluate)เป็นขั้นตอนทดสอบและประเมินการใช๎งานต๎นแบบเพื่อ
แก๎ปัญหา ผลที่ได๎จากการทดสอบและประเมินอาจถูกน้ามาใช๎ในการปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธ๑ให๎มี
ประสิทธิภาพในการแก๎ปัญหามากขึ้น การทดสอบและประเมินผลสามารถเกิดขึ้นได๎หลายครั้งในกระบวนการ
แก๎ปัญหา
การน้าเสนอผลลัพธ์ (present the solution)หลังจากการพัฒนา ปรับปรุง ทดสอบและประเมินวิธีการ
แก๎ปัญหาหรือผลลัพธ๑จนมีประสิทธิภาพตามที่ต๎องการแล๎ว ผู๎แก๎ปัญหาต๎องน้าเสนอผลลัพธ๑ตํอสาธารณชน โดย
ต๎องออกแบบวิธีการน้าเสนอข๎อมูลที่เข๎าใจงํายและนําสนใจ
ในการท้างานผู๎เรียนไมํจ้าเป็นต๎องมีล้าดับที่แนํนอน โดยขั้นตอนทั้งหมดสามารถสลับไปมาหรือ
ย๎อนกลับขั้นตอนได๎ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมแสดงได๎ดังรูปที่ 1.1.2 เพื่อให๎เห็นรายละเอียดที่
ชัดเจนขึ้นของแตํละองค๑ประกอบของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ลองพิจารณาตัวอยํางกระบวนการ
ออกแบบห๎องท้าความเย็นดังนี้
- ระบุปัญหา (Identify a challenge)
ในสภาพอากาศที่ร๎อนอบอ๎าว มีความจ้าเป็นต๎องเก็บผักผลไม๎ในที่ที่อุณหภูมิต่้าเพื่อคงความสดใหมํ จึง
เกิดค้าถามขึ้นวําท้าอยํางไรจึงจะสร๎างตู๎หรือห๎องที่คงอุณหภูมิให๎ต่้าอยูํเสมอแม๎อุณหภูมิภายนอกจะสูงก็ตาม
- ค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง (Explore ideas)
การค๎นพบทางวิทยาศาสตร๑ได๎อธิบายวํา (1) สสารโดยทั่วไปมีการคลายความร๎อนเมื่อเปลี่ยนสถานะ
จากไอเป็นของเหลว และมีการดูดความร๎อนเมื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นไอ และ (2) สสารในสถานะไอ
สามารถเปลี่ยนเป็นของเหลวได๎เมื่อได๎รับความดันที่สูงขึ้น และเปลี่ยนกลับเป็นไอได๎เมื่อลดความดันลง จึงได๎
แนวคิดวําหากน้าสารที่เปลี่ยนสถานะได๎งํายและมีคุณสมบัติการถํายเทความร๎อนได๎ดีมาท้าให๎เปลี่ยนสถานะ
จากของเหลวเป็นไอภายในตู๎ และเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวภายนอกตู๎ ก็จะเกิดการถํายเทอุณหภูมิจาก
ภายในตู๎ออกไปนอกตู๎ได๎ ในที่นี้เทคโนโลยีด๎านเครื่องจักรกลทางไฟฟูา (หรือมอเตอร๑) สามารถน้ามาประยุกต๑
เป็นเครื่องอัดแรงดันให๎สารเปลี่ยนสภาพจากไอเป็นของเหลวได๎
เพื่อให๎เกิดประสิทธิภาพสูงที่สุดในการถํายเทพลังงานความร๎อน ควรมีการน้าเอาสารหลาย ๆ ชนิดมา
ทดลองเปรียบเทียบอัตราการดูดและคลายความร๎อน และพลังงานที่ต๎องใช๎ในการท้าให๎สารนั้น ๆ เปลี่ยน
สถานะไปมา
- ทดสอบและประเมินผล (Test & evaluate)
ออกแบบอุปกรณ๑ต๎นแบบที่กักเก็บสารท้าความเย็นไว๎ในระบบปิด โดยท้าให๎เกิดการระเหยกลายเป็นไอภายใน
ห๎องที่ต๎องการท้าความเย็นและควบแนํนกลับเป็นของเหลวภายนอกห๎อง เพื่อประเมินประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในการใช๎งานกํอนน้าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ๑
- วางแผนและพัฒนา (Plan & develop)
ออกแบบกระบวนการสร๎างผลิตภัณฑ๑ที่ใช๎ต๎นทุน
ต่้าแตํได๎สมรรถภาพที่ต๎องการ โดยการเลือกสรรวัตถุดิบ
และชิ้นสํวนที่เหมาะสม ค้านวณปริมาณสารที่ต๎องใช๎
รวมถึงขนาดของมอเตอร๑ที่ใช๎ท้าอุปกรณ๑อัดแรงดันด๎วย
แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร๑เพื่อให๎การถํายเทความร๎อน
เหมาะสมกับขนาดของห๎องที่ต๎องการท้าความเย็น
- น้าเสนอผลลัพธ์ (Present the solution)
น้ากระบวนการออกแบบที่ได๎น้าเสนอตํอผู๎ที่สนใจหรือผู๎ให๎ทุนสนับสนุน เพื่อให๎เกิดการผลิตในปริมาณ
มากและใช๎งานในวงกว๎างตํอไป
มุมมองการจัดการเรียนรู้อง STEM
การบูรณการภายในวิชา คือ การจัดการเรียนรู๎ที่นักเรียนได๎เรียนเนื้อหาและฝึกทักษะของแตํละวิชา
ของสะเต็มแยกกัน การจัดการเรียนรู๎แบบนี้คือการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยีที่
เป็นอยูํทั่วไปที่ครูผู๎สอนแตํละวิชาตํางจัดการเรียนรู๎ให๎แกํนักเรียนตามรายวิชาของตนเอง
การบูรณการแบบพหุวิทยาการ คือ การจัดการเรียนรู๎ที่นักเรียนได๎เรียนเนื้อหาและฝึกทักษะของวิชา
ของวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร๑แยกกัน โดยมีหัวข๎อหลัก (theme) ที่ครูทุก
วิชาก้าหนดรํวมกัน และมีการอ๎างอิงถึงความเชื่อมโยงระหวํางวิชานั้นๆ การจัดการเรียนรู๎แบบนี้ชํวยให๎นักเรียน
เห็นความเชื่อมโยงของเนื้อหาในวิชาตํางๆ กับสิ่งที่อยูํรอบตัว เชํน ถ๎าครูผู๎สอนทั้ง 4 วิชาก้าหนดรํวมกันจะใช๎
กระติบข๎าวเป็นหัวข๎อหลักในการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยี ครูผู๎สอนเทคโนโลยี
สามารถเริ่มแนะน้ากระติบข๎าวโดยแนะน้าวํากระติบข๎าวจัดเป็นเทคโนโลยีอยํางงํายที่มนุษย๑สร๎างขึ้นเพื่ออ้านวย
ความสะดวกหรือตอบสนองความต๎องการที่จะเก็บความร๎อนของข๎าว ในขณะที่ครูวิทยาศาสตร๑ยกตัวอยําง
กระติบข๎าวเพื่อสอนเรื่องการถํายโอนความร๎อน และครูคณิตศาสตร๑ใช๎กระติบข๎าวสอนเรื่องรูปทรงและให๎
นักเรียนหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของกระติบข๎าว
การบูรณการแบบสหวิทยาการ คือ การจัดการเรียนรู๎ที่นักเรียนได๎เรียนเนื้อหาและฝึกทักษะอยําง
น๎อย 2 วิชารํวมกันโดยกิจกรรมมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ๑ของทุกวิชาเพื่อให๎นักเรียนได๎เห็นความสอดคล๎อง
กัน ในการจัดการเรียนรู๎แบบนี้ ครูผู๎สอนในวิชาที่เกี่ยวข๎องต๎องท้างานรํวมกันโดยพิจารณาเนื้อหาหรือตัวชี้วัดที่
ตรงกันและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู๎ในรายวิชาของตนเองโดยให๎เชื่อมโยงกับวิชาอื่นผํานเนื้อหาหรือตัวชี้วัด
นั้น เชํน ในวิชาวิทยาศาสตร๑ หลังจากการเรียนเรื่องการถํายโอนความร๎อนและฉนวนกันความร๎อน ครู
ก้าหนดให๎นักเรียนท้าการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลตํอการเก็บความร๎อนของกระติบข๎าว โดยขอให๎ครู
คณิตศาสตร๑สอนเรื่องการหาพื้นที่ผิวสัมผัสและปริมาตรของรูปทรงตํางๆ กํอนให๎นักเรียนเริ่มท้าการทดลองใน
วิชาวิทยาศาสตร๑ หลังจากนั้นเมื่อนักเรียนทดลองและเก็บข๎อมูลเรียบร๎อยแล๎ว ให๎น้าข๎อมูลจากการทดลองไป
สร๎างกราฟและตีความผลการทดลองในวิชาคณิตศาสตร๑
การบูรณการแบบข้ามสาขาวิชา คือ การจัดการเรียนการสอนที่ชํวยนักเรียนเชื่อมโยงความรู๎และ
ทักษะที่เรียนรู๎จากวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร๑กับชีวิตจริง โดยนักเรียนได๎
ประยุกต๑ความรู๎และทักษะเหลํานั้นในการแก๎ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชนหรือสังคม และสร๎างประสบการณ๑
การเรียนรู๎ของตัวเอง ครูผู๎สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ตามความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครูอาจ
ก้าหนดกรอบหรือ theme ของปัญหากว๎างๆ ให๎นักเรียนและให๎นักเรียนระบุปัญหาที่เฉพาะเจาะจงและวิธีการ
แก๎ปัญหาเอง ทั้งนี้ ในการก้าหนดกรอบของปัญหาให๎นักเรียนศึกษานั้น ครูต๎องค้านึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง 3
ปัจจัยกับการเรียนรู๎ของนักเรียน ได๎แกํ
(1) ปัญหาหรือค้าถามที่นักเรียนสนใจ (2) ตัวชี้วัดในวิชาตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง
(3) ความรู๎เดิมของนักเรียน การจัดการเรียนรู๎แบบ problem/ project based learning เป็นกล
ยุทธ๑ในการจัดการเรียนรู๎ (instructional strategies) ที่มีแนวทางใกล๎เคียงกับแนวทางบูรณแบบนี้ หาก
พิจารณาการใช๎กระติบข๎าวเป็นหัวข๎อหลักในการเรียนรู๎สะเต็มศึกษา ครูสามารถจัดการเรียนรู๎บูรณการแบบ
ข๎ามสาขาวิชาโดยก้าหนดกรอบปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาคุณภาพของกระติบข๎าวโดยก้าหนดเป็น
สถานการณ๑ เชํน การใช๎กระติบข๎าวในร๎านอาหารที่มักมีการบรรจุข๎าวในถุงพลาสติกกํอนบรรจุลงในกระติบข๎าว
เพื่อปูองกันข๎าวเหนียวติดค๎างที่กระติบมีผลให๎ท้าความสะอาดยาก และผู๎เรียนต๎องออกแบบกระติบข๎าวหรือ
วิธีการที่จะท้าให๎กระติบข๎าวมีคุณสมบัติการลดการติดของข๎าวเหนียวเพื่อลดการใช๎ถุงพลาสติก หลังจากที่
ผู๎สอนน้าเสนอปัญหาดังกลําวแกํผู๎เรียนต๎องก้าหนดแนวทางในการแก๎ปัญหาโดยใช๎แนวคิด และทักษะทาง
วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยีผํานกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม
การเปรียบเทียบแนวคิดและทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์
การกลําวอ๎างถึงการน้าแนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรมมาบูรณการกับการเรียนรู๎ศาสตร๑อื่นๆ อีก 4
ศาสตร๑นั้น น้ามาสูํความพยายามในการอธิบา ยความแตกตํางระหวํางศาสตร๑ 3 ศาสตร๑ที่มีความใกล๎เคียงกัน
มาก ได๎แกํ วิทยาศาสตร๑ วิศวกรรมศาสตร๑ และเทคโนโลยี สภาวิจัยแหํงประเทศสหรัฐอเมริกา ( The National
Research Council: NRC) ได๎ให๎ความหมายของวิศวกรรมศาสตร๑และเทคโนโลยี พร๎อมทั้งเปรียบเทียบทักษะ
ของศาสตร๑ทั้งสองกับทักษะทางวิทยาศาสตร๑ไว๎ดังตารางนี้
วิทยาศาสตร์
(Science)
วิศวกรรมศาสตร์
(Engineering)
เทคโนโลยี (Technology) คณิตศาสตร์ (Mathematics)
ตั้งค้าถาม (เพื่อ
เข้าใจธรรมชาติ)
นิยามปัญหา (เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต)
ตระหนักถึงบทบาทของ
เทคโนโลยีตํอสังคม
ท้าความเข๎าใจและพยายาม
แก๎ปัญหา
พัฒนาและใช้โมเดล พัฒนาและใช๎โมเดล ใช๎คณิตศาสตร๑ในการสร๎าง
โมเดล
ออกแบบและลงมือ
ท้าการค้นคว้า วิจัย
ทดลอง
ออกแบบและลงมือ
ท้าการค๎นคว๎า วิจัย
ทดลอง
เรียนรู๎วิธีการใช๎งาน
เทคโนโลยีใหมํๆ
ใช๎เครื่องมือที่เหมาะสมในการ
แก๎ปัญหา
วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห๑ข๎อมูล ให๎ความส้าคัญการความแมํนย้า
ใช้คณิตฯ ช่วยใน
การค้านวณ
ใช๎คณิตฯ ชํวยในการ
ค้านวณ
เข๎าใจบทบาทของเทคโนโลยี
ในการพัฒนาด๎านวิทย๑ฯ
และวิศวกรรม
ใช๎ตัวเลขในการให๎ความหมาย
หรือเหตุผล
สร้างค้าอธิบาย ออกแบบวิธีแก๎ปัญหา พยายามหาและใช๎โครงการใน
การแก๎ปัญหา
ใช้หลักฐานในการ
ยืนยันแนวคิด
ใช๎หลักฐานในการยืนยัน
แนวคิด
ตัดสินใจเลือกใช๎เทคโนโลยี
โดยพิจารณาถึงผลกระทบ
ตํอสังคมและสิ่งแวดล๎อม
สร๎างข๎อโต๎แย๎งและสามารถ
วิพากษ๑การให๎เหตุผลของผู๎อื่น
ประเมินและสื่อสาร
แนวคิด
ประเมินและสื่อสาร
แนวคิด
มองหาและน้าเสนอระเบียบวิธี
ในการเหตุผลซ้้าๆ
จากตาราง แนวปฏิบัติ (practice) ทางวิทยาศาสตร๑มีกระบวนการสํวนใหญํเหมือนกับแนวปฏิบัติทาง
วิศวกรรมศาสตร๑ กลําวคือ ทั้งสองศาสตร๑มีการพัฒนาและใช๎โมเดลในการด้าเนินงาน มีการออกแบบและลงมือ
ค๎นคว๎าวิจัยเพื่อรวบรวมข๎อมูล และวิเคราะห๑ข๎อมูลดังกลําว ทั้งวิทยาศาสตร๑ และวิศวกรรมศาสตร๑ต๎องการ
ความรู๎ทางคณิตศาสตร๑ในการค้านวณ นอกจากนี้ ทั้งนักวิทยาศาสตร๑และวิศวกรมีการใช๎หลักฐานในการยืนยัน
แนวคิดซึ่งอาจเป็นค้าตอบของข๎อสงสัยเกี่ยวกับธรรมชาติหรือปัญหา และสุดท๎ายต๎องมีการประเมินและสื่อสาร
แนวคิดดังกลําว
อยํางไรก็ตาม แนวปฏิบัติทั้งสองมีความแตกตํางกันอยูํ 2 ประการ คือ
(1) ในขณะที่วิชาวิทยาศาสตร๑พยายามตั้งค้าถามเพื่อเรียนรู๎และท้าความเข๎าใจธรรมชาติ
วิศวกรรมศาสตร๑พยายามนิยามปัญหาซึ่งเกิดจากความไมํพอใจและต๎องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย๑ และ
(2) ผลลัพธ๑ของการท้างานทางวิทยาศาสตร๑คือการสร๎างค้าอธิบายเพื่อตอบข๎อสงสัยเกี่ยวกับธรรมชาติ
ในขณะที่ผลลัพธ๑ของการท้างานทางวิศวกรรมศาสตร๑คือวิธีการแก๎ปัญหาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย๑
และวิธีการดังกลําวจะน้ามาซึ่งผลผลิตที่เป็นเทคโนโลยีใหมํหรือนวัตกรรม
ที่มา: Vasquez, J.A., Sneider, C., and Comer, M. (2013). STEM Lesson Essentials: Integrating Science, Technology, Engineering, and Mathematics, p.38.
ศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ
ศูนย๑สะเต็มศึกษาแหํงชาติเป็นหนํวยงานในก้ากับดูแลของสถาบัน
สํงเสริมการสอนวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยี (สสวท.) ด้าเนินงานโดย
คณะกรรมการอ้านวยการโครงการฯ ซึ่งมีผู๎อ้านวยการ สสวท. เป็น
ประธาน นอกจากนี้ มีคณะท้างาน 5 คณะซึ่งท้างานขับเคลื่อน
โครงการฯ คณะท้างานทั้ง 5 คณะ ประกอบด๎วย ( 1) คณะท้างานฝุาย
เผยแพรํความเข๎าใจและแนวคิดสะเต็มศึกษา (2) คณะท้างานฝุายสร๎าง
เครือขํายการด้าเนินงานสะเต็มศึกษา (3) คณะท้างานฝุายพัฒนา
ศักยภาพครูให๎สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู๎แบบบูรณการในรูปแบบสะเต็มศึกษา (4) คณะท้างานฝุายพัฒนา
กิจกรรมการเรียนรู๎ตามแนวทางสะเต็มศึกษา และ (5) คณะท้างานฝุายสนับสนุนและติดตามผลการจัดการ
เรียนรู๎ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ซึ่งจะท้าหน๎าที่ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาแกํ
ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค และโรงเรียนเครือขําย การสนับสนุนที่ สสวท. จะจัดสํงให๎ ประกอบด๎วย สื่อในการสร๎าง
ความตระหนักและให๎ความรู๎เรื่องสะเต็มศึกษาและนิทรรศการในพื้นที่ สื่อในการสร๎างความตระหนักและให๎
ความรู๎เรื่องสะเต็มศึกษาและนิทรรศการในพื้นที่ หลักสูตรพัฒนาผู๎บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใน
จังหวัด การพัฒนาวิทยากรและเครือขํายพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุนในพื้นที่ และระบบติดตามและประเมินผล
เครือขํายสะเต็มศึกษาประเทศไทย ประกอบด๎วย ศูนย๑สะเต็มศึกษา
แหํงชาติ ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค และโรงเรียนเครือขํายสะเต็มศึกษา ซึ่ง
เป็นหนํวยงานหลักในการด้าเนินงาน นอกจากนี้ ยังมีเครือขําย
มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงวิชาการ เครือขํายศึกษานิเทศก๑ เครือขํายครูพี่
เลี้ยงวิชาการ
เครือขํายทูตสะเต็ม ระบบ iSTEM และระบบเชิดชูเกียรติผู๎มี
ความรู๎ความสามารถด๎านสะเต็ม ( STEM Hall of Fame) รํวม
สนับสนุนการด้าเนินงานและขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู๎ตามแนวทาง
สะเต็มศึกษาให๎เข๎าถึงโรงเรียนทั่วประเทศ
โครงสร้างเครือข่ายสะเต็มศึกษา สสวท.
เครือขํายสะเต็มของ สสวท. เป็นเครือขํายที่มุํงหวังจะขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาให๎เกิดขึ้นในประเทศไทย
อยํางเป็นรูปธ รรมโดยการประสานความรํวมมือระหวํางหนํวยงานและองค๑กรที่เกี่ยวข๎องกับการศึกษาทั้ง
ภาครัฐและเอกชนผํานทางศูนย๑สะเต็มศึกษาแหํงชาติ ( National STEM Education Center: NSEC) และ
ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค (Regional STEM Education Center: RSEC) ซึ่งกระจายอยูํใน 12 จังหวัดทั่วประเทศ
ทั้งนี้ สสวท. จะระดมการสนับสนุนจากหนํวยงานในเครือขํายเพื่อสํงเสริมการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑
คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยีที่บูรณการวิศวกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และ
เทคโนโลยีของนักเรียนไทยอยํางเป็นระบบ โครงสร๎างของเครือขํายสะเต็มศึกษา สสวท. ประกอบด๎วย ศูนย๑
สะเต็มศึกษาแหํงชาติ ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค 13 ศูนย๑ และโรงเรียนเครือขํายสะเต็มศึกษาที่ด้าเนินงาน
รํวมกับศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค ศูนย๑ละ 6 โรงเรียน ดังแสดงในรูป
3. กระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สสวท.
กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร ?
ในชีวิตประจ้าวันของมนุษย๑มีกิจกรรมตํางๆ เกิดขึ้นมากมายตามเงื่อนไขและปัจจัยในการด้ารงชีวิต
ของแตํละคน ท้าให๎บางครั้งมนุษย๑ต๎องพบเจอกับปัญหาหรือความต๎องการที่จะท้าให๎การด้ารงชีวิตดีขึ้น เรา
เรียกวํา “สถานการณ๑เทคโนโลยี"
การพิจารณาวําสถานการณ๑ใดเป็นสถานการณ๑เทคโนโลยี จะพิจารณาจาก 3 ประเด็นคือ เป็นปัญหา
หรือความต๎องการของมนุษย๑ เป็นปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับสิ่งแวดล๎อม หรือเป็นปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับเศรษฐศาสตร๑
การแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการที่พบในสถานการณ๑เทคโนโลยี จะต๎องใช๎ทรัพยากร ความรู๎และทักษะ
ตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง จึงจ้าเป็นต๎องมีวิธีการหรือกระบวนการท้างานในการแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการอยําง
เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งเรียกกระบวนการนั้นวํา “กระบวนการเทคโนโลยี”
กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน
กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการท้างานเพื่อสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎หรือวิธีการอยํางใดอยํางหนึ่ง
ขึ้นมาเพื่อแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการของมนุษย๑ กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด๎วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
1. ก้าหนดปัญหาหรือความต๎องการ (Identify the problem)
2. รวบรวมข๎อมูล (Information gathering)
3. เลือกวิธีการ (Selection)
4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
5. ทดสอบ (Testing)
6. ปรับปรุงแก๎ไข (Modification and improvement)
7. ประเมินผล (Assessment)
ขั้นที่ 1 ก้าหนดปัญหาหรือความต้องการ
ขั้นตอนแรกของกระบวนการเทคโนโลยี คือ การก้าหนดปัญหาหรือความต๎องการ ซึ่งเป็นการท้าความ
เข๎าใจหรือวิเคราะห๑ปัญหาหรือความต๎องการหรือสถานการณ๑เทคโนโลยีอยํางละเอียด เพื่อก้าหนดกรอบของ
ปัญหาหรือความต๎องการให๎ชัดเจนมากขึ้น
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ

More Related Content

What's hot

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
Bangk Thitisak
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
Jane Janjira
 

What's hot (20)

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 

Viewers also liked (11)

The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
 
การวางแผนสุขภาพ
การวางแผนสุขภาพการวางแผนสุขภาพ
การวางแผนสุขภาพ
 
English project work
English project workEnglish project work
English project work
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
outline graft
outline graft outline graft
outline graft
 
แผ่นพับต่อมไทรอยด์
แผ่นพับต่อมไทรอยด์แผ่นพับต่อมไทรอยด์
แผ่นพับต่อมไทรอยด์
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
Com project1
Com project1Com project1
Com project1
 
English idioms&proverbs1
English idioms&proverbs1English idioms&proverbs1
English idioms&proverbs1
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
The bizarre festival in the world [outline]
The bizarre festival in the world [outline]The bizarre festival in the world [outline]
The bizarre festival in the world [outline]
 

More from parwaritfast (9)

Com project1
Com project1Com project1
Com project1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
Save wolrd , save energy com58 - project
Save wolrd , save energy   com58 - projectSave wolrd , save energy   com58 - project
Save wolrd , save energy com58 - project
 
Save wolrd, save energy com58project1
Save wolrd,  save energy   com58project1Save wolrd,  save energy   com58project1
Save wolrd, save energy com58project1
 
Save wolrd , save energy com58project
Save wolrd , save energy   com58projectSave wolrd , save energy   com58project
Save wolrd , save energy com58project
 
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
 
Blog555
Blog555Blog555
Blog555
 
Myself
MyselfMyself
Myself
 

รายงานออกแบบ

  • 1. รายงาน โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห้องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” จัดท้าโดย นาย ปวริศร์ อุปันโน เลขที่ 1 นางสาว สิราวรรณ จันทร์หอม เลขที่ 27 นางสาว ณัฐณิชา จันทร์เพ็ญ เลขที่ 29 นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/14 เสนอ คุณครู จินตนา ธิปัน รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนพื้นฐานการงงานอาชีพและเทคโนโลยี รายงวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2.
  • 3. รายงาน โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห้องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” จัดท้าโดย นาย ปวริศร์ อุปันโน เลขที่ 1 นางสาว สิราวรรณ จันทร์หอม เลขที่ 27 นางสาว ณัฐณิชา จันทร์เพ็ญ เลขที่ 29 นาย ธีรศานต์ สนใจ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/14 เสนอ คุณครู จินตนา ธิปัน รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนพื้นฐานการงงานอาชีพและเทคโนโลยี รายงวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 4. ค้าน้า โครงงานเลํมนี้เป็นสํวนหนึ่งของวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ซึ่งมีเนื้อเกี่ยวกับการศึกษาค๎นคว๎าข๎อมูล และปฏิบัติออกแบบ คิดค๎นในหัวข๎อเรื่อง “โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ปัจจุบันคนเรานั้นมี ความต๎องการที่จะมีสัตว๑เลี้ยงของตนเองมากขึ้นอยูํทุกๆวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันนั้นมีการพัฒนาพันธุกรรม ในสัตว๑ท้าให๎ลักษณะของสัตว๑นั้นมีอยูํหลากหลายชนิดแตกตํางกันไป “แมว” ซึ่งผู๎เลี้ยงแมวจ้านวนมาก มักจะประสบปัญหาที่วํามีพื้นที่จ้ากัดในการเลี้ยงแมว นิสัยของแมวที่ไมํขับถํายไมํเป็นที่เป็นทาง มีปัญหาใน การเก็บกวาดท้าความสะอาด และผู๎เลี้ยงที่ต๎องเดินทางบํอยๆ ไมํสามารถดูแลแมวได๎อยํางใกล๎ชิดด๎วยเหตุนี้ คณะผู๎จัดท้าจึงได๎มีความคิดที่จะคิดค๎นสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับผู๎เลี้ยงแมวที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับ การดูแลเก็บกวาดอุจระของแมวนั่นก็คือ “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ KitKAt” ซึ่งนําจะสามารถลดปัญหา ดังกลําวไมํมากก็น๎อย ต๎องขอขอบคุณข๎อมูลจากสื่อสารสนเทศออนไลน๑ และต๎องขอขอบคุณคุณครูที่ปรึกษา โครงงานคือคุณครู จินตนา ธิปัน ที่คอยให๎ค้าแนะน้าในการจัดท้าโครงงานในครั้งนี้ไมํวําจะเป็นการให๎ ค้าแนะน้า และค้าติชม จึงต๎องขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ด๎วย ผู๎จัดท้าหวังไว๎เป็นอยํางยิ่งวํารายงานเลํมนี้จะมีประโยชน๑ไมํมากก็น๎อยส้าหรับผู๎ที่สนใจศึกษา ในเรื่องของโครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” หากรายงานเลํมนี้มีข๎อผิดพลาด ประการใดทางผู๎จัดท้ายินดีน๎อมรับค้าติชม เพื่อน้าไปพัฒนา ปรับปรุง และท้าการแก๎ไขในล้าดับตํอไป คณะผู๎จัดท้า
  • 5.
  • 6.
  • 7. ชื่อ : นาย ปวริศร๑ อุปันโน เลขที่ 1 นางสาว สิราวรรณ จันทร๑หอม เลขที่ 27 นางสาว ณัฐณิชา จันทร๑เพ็ญ เลขที่ 29 นาย ธีรศานต๑ สนใจ เลขที่ 35 ชื่อเรื่อง : โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 6/14 วิชา : การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ที่ปรึกษา : คุณครู จินตนา ธิปัน ปีการศึกษา : 2/2558 บทคัดย่อ โครงงานเลํมนี้เป็นสํวนหนึ่งของวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 2 ง 33102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ซึ่งมีเนื้อเกี่ยวกับการศึกษาค๎นคว๎าข๎อมูล และปฏิบัติออกแบบคิดค๎นในหัวข๎อ เรื่อง “โครงงานออกแบบเทคโนโลยี “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ปัจจุบันคนเรานั้นมีความต๎องการที่ จะมีสัตว๑เลี้ยงของตนเองมากขึ้นอยูํทุกๆวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันนั้นมีการพัฒนาพันธุกรรมในสัตว๑ท้าให๎ ลักษณะของสัตว๑นั้นมีอยูํหลากหลายชนิดแตกตํางกันไป “แมว”เป็นสัตว๑เลี้ยงลูกด๎วยนมอีกชนิดที่คนเรามัก นิยมเลี้ยงกันมากที่สุด เพราะความนํารัก ขี้อ๎อนของมันนั้นเอง ท้าให๎คนเราหลงรักแมว และอยากเลี้ยงแมว แตํเมื่อตัดสินใจที่จะเลี้ยงแมวแล๎ว เราก็ต๎องมีความพร๎อมที่จะเลี้ยงอยํางแท๎จริง ไมํใชํเพียงแคํวําอยากเลี้ยง ไว๎ดูเลํนเพราะนั่นหมายถึงการดูแลชีวิตชีวิตหนึ่งเลยทีเดียว เพราะฉะนั้นจึงจ้าเป็นมากที่จะต๎องศึกษาข๎อมูล เกี่ยวกับแมวเพื่อให๎เข๎าใจลักษณะการด้ารงชีวิตของพวกมันให๎มากที่สุด เพื่อท้าให๎แมวนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยูํคูํกับเราไปนานๆ ด๎วยเหตุนี้คนเราจึงต๎องการสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับสัตว๑เลี้ยงด๎วย เพื่อท้าให๎งําย ตํอการเลี้ยงดูซึ่งท้าให๎เกิดประโยชน๑ตํอคนเราหรือผู๎เลี้ยงและสัตว๑ไปด๎วยพร๎อมๆกัน การขับถํายนั้นเป็นเรื่อง ที่ส้าคัญมากเราควรที่ฝึกให๎แมวขับถํายเป็นระเบียบเพื่อรักษาสภาพแวดล๎อมให๎สะอาด ในทางเดียวกันนั่น ท้าให๎เราสามารถดูแลได๎งําย ท้าความสะอาดได๎งํายอีกด๎วย ในขณะเดียวกันก็เป็นการฝึกให๎นิสัยของแมว โดยให๎แมวนั้นขับถํายเป็นที่เป็นทางไมํเรี่ยราด จึงท้าให๎สภาพแวดล๎อมของที่อยูํอาศัยมีสภาพที่ดีตํอการ ด้ารงชีวิตของแมวอีกด๎วย ด๎วยเหตุนี้คณะผู๎จัดท้าจึงได๎มีความคิดที่จะคิดค๎นสิ่งอ้านวยความสะดวกส้าหรับ ผู๎เลี้ยงแมวที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับการดูแลเก็บกวาดอุจระของแมวนั่นก็คือ “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ KitKAt” นั่นเอง โดยจะชํวยให๎สามารถดูแลเรื่องการขับถํายของแมวได๎อยํางงํายดาย ประหยัดพื้นที่ใช๎สอยภายใน บริเวณที่เลี้ยงแมว สะดวกในการท้าความสะอาด เคลื่อนที่งําย เหมาะส้าหรับผู๎ที่ต๎องเดินทางบํอยๆ ขนาด พอดีกะทัดรัดงํายตํอการเคลื่อนย๎ายหรือขนสํง และเหมาะส้าหรับผู๎ที่มีพื้นที่บริเวณที่เลี้ยงส้าหรับแมวที่มีไมํ มากนัก อาจเป็นหอพัก ห๎องพัก คอนโดมิเนียม บ๎านหลังเล็ก หรือบริเวณที่มีพื้นที่จ้ากัด ชํวยท้าให๎ประหยัด พื้นที่การใช๎สอยภายในที่อยูํอาศัย งํายตํอการแบํงจัดสรรพื้นที่ได๎อยํางงํายดาย ด๎วยเหตุผลที่กลําวมาข๎างต๎น คณะผู๎จัดท้าจึงคิดวําสิ่งๆนี้เชื่อวําจะสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู๎เลี้ยงแมวได๎ไมํมากก็น๎อย
  • 8. บทที่ 1 บทน้า ชื่อโครงงาน ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ ( KitKAt ) ชื่อผู้จัดท้า นาย ปวริศร๑ อุปันโน เลขที่ 1 นางสาว สิราวรรณ จันทร๑หอม เลขที่ 27 นางสาว ณัฐณิชา จันทร๑เพ็ญ เลขที่ 29 นาย ธีรศานต๑ สนใจ เลขที่ 35 ชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 6/14 ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู จินตนา ธิปัน ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน ในปัจจุบันการเลี้ยงแมวของผู๎ที่เลี้ยงแมวภายในบ๎านหรือพื้นที่ๆจ้ากัดเชํน บ๎านชั้นเดียว บ๎านเชํา ห๎อง เชํา หอพัก คอนโด ฯลฯ และเจ๎าของนั้นตองเดินทางบํอยๆท้าให๎ไมํมีเวลาดูแลแมวของตนเองเนื่องจากไมํ สามารถน้ามันไปด๎วยได๎ ปัญหาโดยสํวนใหญํก็มันจะประสบปัญหาในเรื่องของปัญหาพื้นที่ไมํเพียงพอตํอการใช๎ สอยประโยชน๑ เนื่องจากมีอุปกรณ๑ที่ใช๎ส้าหรับเลี้ยงแมวอยูํมาก หรือไมํก็อุปกรณ๑นั้นๆมีขนาดใหญํเทอะทะท้า ให๎เคลื่อนย๎ายได๎ไมํสะดวก ดูแลท้าความสะอาดยากนั่นเอง ปัญหาอีกอยํางหนึ่งที่เชื่อวําผู๎เลี้ยงแมวทุกคนต๎อง เคยพบเจอนั่นก็คือปัญหาการขับถํายของแมวที่ไมํเป็นที่ไมํเป็นทางนั่นเอง โดยสาเหตุเกิดจากหลายๆปัจจัยอาทิ เชํน แมวมีความเครียดสะสมอาจมาจากหลายๆสาเหตุเชํน เจ๎าของไมํอยูํบ๎าน ไมํได๎เลํน ไมํได๎ออกก้าลังกาย สภาพแวดล๎อมไมํเหมาะสม ที่อยูํอาศัยไมํสะอาดมีกลิ่นเหม็น ที่อยูํอาศัยมีความอับชื้น การที่ไมํได๎ออกไปเลํน ข๎างนอก ไปจนถึงอุปกรณ๑การเลี้ยงดูที่ไมํเหมาะสมกับประเภทของแมวที่เลี้ยงนั่นเอง
  • 9. โดยพบวําสภาพแวดล๎อมของที่อยูํอาศัยของแมวที่ไมํเหมาะสมเชํน ความอัดของห๎อง มีแมวที่เลี้ยงใน พื้นที่ที่จ้ากัดมากเกินไป การวางสิ่งของเครื่องใช๎ในห๎องที่ไมํเป็นระเบียบ หรือห๎องมีความสกปรกมาก ไมํได๎ท้า ความสะอาด มีกลิ่นเหม็นฉุน ไปจนถึงการไมํเปลี่ยนทรายแมว โดยสิ่งเหลํานี้ไมํเพียงแตํจะเป็นผลเสียตํอแมว โดยตรง แตํยังมีผลเสียกับผู๎เลี้ยงแมวหรือเจ๎าของด๎วย โดยที่อาจท้าให๎แมวนั้นเกิดโรคตํางๆเชํนโรคภูมิแพ๎ ท๎องเสีย อาการแพ๎ที่ผิวหนังเนื่องจากเชื้อราซึ่งเกิดจากสภาพแวดล๎อมที่มีความสกปรก หรืออับชื้นซึ่งเป็นปัจจัย ส้าคัญที่กํอให๎เกิดเชื้อรา และแบคทีเรียร๎ายที่อาจท้าอันตรายตํอแมว รวมไปถึงอาการเบื่ออาหาร ปัญหาด๎าน สภาพจิตใจท้าให๎อารมณ๑ไมํดี จนอาจท้าให๎สร๎างความเสียหายตํอสิ่งของเครื่องใช๎ในบ๎านได๎ จากข๎อมูลเหตุผลดังกลําวข๎างต๎น ทางผู๎ผู๎จัดท้าเล็งเห็นจากอันตรายแลปัญหาที่เกดขึ้นที่แฝงอยูํในนิสัย การขับถํายไมํเป็นที่ และการมีพื้นที่ใช๎สอยจ้ากัดในการเลี้ยงแมว เพราะอาจกํอให๎เกิดผลเสียทั้งตัวแมวเองที่ อาจท้าให๎สภาพอารมณ๑ไมํดีจนอาจกํอให๎เกิดความเสียหายภายในบ๎านได๎เนื่องจากเจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงไมํอยูํ สภาพแวดล๎อมมีความแออัดไมํเหมาะสม การเกิดโรคร๎าย และเจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงที่ประสบปัญหาพื้นที่ใช๎สอยมี อยูํจ้ากัด การที่ต๎องเดินทางบํอยๆไมํมีเวลาที่จะดูแลแมวของตนเอง การที่จะต๎องมาคอยท้าความสะอาดที่อยูํ อาศัยของแมว การที่จะต๎องคอยเก็บและท้าความสะอาดปัสสาวะแลอุจระของแมวที่กํอให๎เกิดความร้าคาญ เนื่องจากนิสัยการขับถํายไมํเป็นที่ของแมว ซึ่งถ๎าหากปลํอยไว๎อยูํเฉยก็จะท้าให๎เกิดปัญหาที่ตามมามากมาย ตามที่ได๎กลําวไว๎ในข๎างต๎น ซึ่งถ๎ามีสิ่งที่มีการออกแบบขึ้นมาเพื่อให๎สามารถแก๎ปัญหาการขับถํายของแมวที่ไมํ เป็นที่เป็นทาง สามารถน้าพาแมวไปได๎ในทุกๆที่เพื่อดูแลได๎อยํางใกล๎ชิดโดยที่ไมํต๎องกังวลกับปัญหาการเก็บ กวาดปัสสาวะและอุจระให๎ยุํงยาก อุปกรณ๑การเลี้ยงแมวที่มีขนาดพอดีกะทัดรัดรับการมุมห๎องเพื่อเพิ่มพื้นที่ใช๎ สอยภายในพื้นที่จ้ากัดเชื่อวํานําจะชํวยแก๎ไขปัญหาเหลํานี้ได๎ขึ้นมาบ๎าง และด๎วยเหตุผลที่กลําวมาข๎างต๎นทาง ผู๎จัดท้าได๎มีการออกห๎องน้้าแมวที่สามารถตอบสนองความต๎องการในการจัดการกับการดูแลแมวอยํางใกล๎ชิด เพิ่มพื้นที่การใช๎สอย เคลื่อนย๎ายขนย๎ายได๎อยํางสะดวกสบายงํายดาย และหมดปัญหากับการเก็บกวําปัสสาวะ และอุจระของแมวได๎อยํางครบถ๎วน จุดมุ่งหมาย ( ข้อก้าหนดเบื้องต้นในการออกแบบ ) การวิเคราะห์์ปัญหาหรือความต้องการด้วยหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 5W1H - วิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการคืออะไร (What) - การมีพื่นที่ใช๎สอยจ้ากัด เจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงต๎องเดินทางไปไหนมาไหนบํอยท้าให๎ไมํสามารถดูแลแมว ได๎อยํางใกล๎ชิด นิสัยของแมวที่ขับถํายเรี่ยราด อุปกรณ๑การเลี้ยงดูที่มากมายเยอะจนเกินไป เจ๎าของ ผู๎เลี้ยง หรือผู๎รับฝากเลี้ยงเกิดความร้าคาญในการที่จะต๎องมาคอยเก็บกวาดในการท้าความสะอาดที่อยูํอาศัย หรือดูแล รักษาอุปกรณ๑การเลี้ยงตํางๆมากมาย อุปกรณ๑การเลี้ยงที่เคลื่อนที่ยาก ไมํรับมุมห๎อง - แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดกับใคร (Who) - เจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงแมวที่มีพื้นที่ในการเลี้ยงแมวจ้ากัด เจ๎าของหรือผู๎เลี้ยงแมวที่ต๎องเดินทางไปไหน มาไหนบํอย เจ๎าของ ผู๎เลี้ยง หรือผู๎รับฝากเลี้ยงทั่วไป - แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดขึ้นที่ไหน (Where)
  • 10. - ที่อยูํอาศัยที่มีพื้นที่จ้ากัด เชํน บ๎านชั้นเดียว ห๎องเชํา บ๎านเชํา หอพัก คอนโด เป็นต๎น และที่อยูํอาศัย โดยทั่วไป - แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการเกิดขึ้นเมื่อไร (When) - เมื่อพบกับปัญหาแมวขับถํายเรี่ยราด ไมํสามารถดูแลแมวด๎วยตนเอง จ้าเป็นต๎องให๎แมวอยูํตัวคน เดียว หรือต๎องให๎ผู๎อื่นฝากเลี้ยง พื้นที่การใช๎สอยมีจ้ากัด ต๎องการเคลื่อนย๎ายขนย๎ายเพื่อเปลี่ยนต้าแหนํง - ท้าไมจึงต้องแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Why) - ชํวยลดปัญหาแมวขับถํายเรี่ยราด งํายตํอการดูแล ท้าความสะอาดงําย ลดความร้าคาญในการที่ จะต๎องมาคอยเก็บกวาดในการท้าความสะอาดที่อยูํอาศัย หรือดูแลรักษาอุปกรณ๑การเลี้ยงตํางๆมากมาย ประหยัดพื้นที่ในการใช๎สอย เคลื่อนย๎ายขนย๎ายได๎งําย - แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างไร (How) - ประดิษฐ๑ “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ (KitKAt)” ที่สามารถตอบสนองความต๎องการในการจัดการกับการ ดูแลแมวอยํางใกล๎ชิด เพิ่มพื้นที่การใช๎สอย เคลื่อนย๎ายขนย๎ายได๎อยํางสะดวกสบายงํายดาย และหมดปัญหากับ การเก็บกวําปัสสาวะและอุจระของแมวได๎อยํางครบถ๎วน นิยามศัพท์เฉพาะ ( Definition ) “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ ( KiTKAt )” หมายถึง ห๎องน้้าที่คิดมาเพื่อแมวแมวโดยเฉพาะที่สามารถ เคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได๎ การออกแบบถูกออกแบบให๎มีลักษณะเป็นห๎องคือเป็นทรงสี่เหลี่ยม โดยตัวที่ท้า หน๎าที่ในการรับปัสสาวะและอุจระคือกระบะทรายขนาดพอดีกับความกว๎างยาวของห๎องที่มีตะแกรงรองเปิดปิด ได๎ โดยอีกชั้นหนึ่งจะเป็นกระบะทรายที่ที่มีตะแกรงซ๎อนตัวถาดใสํทรายซึ่งทรายจะทํวมตะแกรงเมื่อเวลาแมว ถํายออกมา ก็ถอดตัวที่นั่งที่ติดกับตะแกรงออกมา จากนั้นเปิดตะแกรงที่นั่ง และใช๎ตะแกรงที่ซ๎อนถาดรํอนหรือ เขยํา เพื่อให๎ทรายไปเกาะอยูํที่อุจระท้าให๎สามารถตักออกได๎อยํางงํายดาย สะดวกสบายในการดูแล ไมํเลอะ เทอะเปรอะเปื้อน โดยมีล๎อที่ข๎างใต๎ตัวห๎องทรงสี่เหลี่ยมที่มีขนาดพอดีไมํใหญํมากจนเกินไปท้าให๎สามารถ เคลื่อนที่หรือขนย๎ายได๎อยํางงํายดาย และประหยัดพื้นที่ใช๎สอยได๎อีกด๎วย “ห๎องน้้า” หมายถึง หนึ่งในสิ่งอ้านวยความสะดวกที่ขาดไมํได๎ในชีวิตประจ้าวันของทุกคนตั้งแตํตื่น นอนจนถึงเข๎านอน โดยมีลักษณะคือโดยมากจะเป็นทรงสี่เหลี่ยมมีผนังซึ่งภายในก็จะมีสุขภัณฑ๑ มีการเชื่อตํอ กับระบบประปา และถังหรือบํอน้้าเสีย เพื่อท้าการช้าระล๎างนั้นเอง ห๎องน้้าที่สะอาดนําใช๎นั้นไมํควรมีกลิ่น เหม็น ไมํมีคราบสกปรก ไมํวําจะเป็นพื้นห๎อง ผนังห๎องหรือสุขภัณฑ๑ตํางๆ เชํน โถส๎วม ที่รองนั่ง สายฉีดน้้า ช้าระ อํางล๎างหน๎า ฯลฯ ซึ่งในที่นี้เราได๎จ้าลองเป็นห๎องน้้าส้าหรับแมวนั่นคือตัวกระบะทรายเปรียบเสมือม สุขภัณฑ๑ที่แมวใช๎ขับถํายนั่นเอง “เคลื่อนที่” หมายถึง การเปลี่ยนต้าแหนํงของวัตถุในชํวงเวลาหนึ่ง ซึ่งวัดโดยผู๎สังเกตที่เป็นสํวนหนึ่ง ของกรอบอ๎างอิง เมื่อปลายคริสต๑ศตวรรษที่ 19 เซอร๑ไอแซก นิวตัน ได๎เสนอกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันใน หนังสือ Principia ของเขา ซึ่งตํอมาได๎กลายเป็นกฎพื้นฐานของฟิสิกส๑ดั้งเดิม การค้านวณการเคลื่อนที่ของวัตถุ
  • 11. ตํางๆ โดยใช๎ฟิสิกส๑ดั้งเดิมนั้นประสบความส้าเร็จมาก จนกระทั่งนักฟิสิกส๑เริ่มศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่เคลื่อนที่ด๎วย ความเร็วสูงมาก นักฟิสิกส๑พบวํา ฟิสิกส๑ดั้งเดิมไมํสามารถค้านวณสิ่งที่เคลื่อนที่ด๎วยความเร็วสูงได๎แมํนย้า เพื่อแก๎ปัญหา นี้ อองรี ปวงกาเร และ อัลเบิร๑ต ไอน๑สไตน๑ได๎เสนอทฤษฎีอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่อใช๎แทนของกฎของ นิวตัน กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันก้าหนดให๎อวกาศและเวลาเป็นสิ่งสัมบูรณ๑ แตํทฤษฎีไอน๑สไตน๑กับปวงกาเร ซึ่ง เรียกวํา ทฤษฎีสัมพัทธ๑ภาพพิเศษ ก้าหนดให๎คําเหลํานี้เป็นสิ่งสัมพัทธ๑ ซึ่งตํอมา ทฤษฎีสัมพัทธ๑ภาพพิเศษก็เป็น ที่ยอมรับในการอธิบายการเคลื่อนที่ เพราะท้านายผลลัพธ๑ได๎แมํนย้ากวํา อยํางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ กฎการ เคลื่อนที่ของนิวตันยังเป็นที่ใช๎กันอยูํ โดยเฉพาะงานด๎านฟิสิกส๑ประยุกต๑และงานวิศวกรรม เพราะสามารถ ค้านวณได๎งํายกวําทฤษฎีสัมพัทธ๑ภาพพิเศษ โดยในที่นี้การออกแบบจะใช๎ล๎อในการเคลื่อนที่ซึ่งใช๎หลักของการเคลื่อนที่แบบหมุน ( Rotational motion ) การเคลื่อนที่แบบหมุน ในธรรมชาติเกิดขึ้นได๎กับอนุภาคหรือวัตถุที่มีขนาดเล็กไปจนถึงวัตถุที่มีขนาด ใหญํมาก ตั้งแตํการหมุนในระดับอะตอมไปจนถึงการหมุนของกาแลกซีในเอกภพ ในกรณีการหมุนของวัตถุที่มี ขนาดใหญํ เชํน การหมุนของล๎อรถ การหมุนของดาวเคราะห๑ เราไมํสามารถที่จะมองการหมุนแบบนั้นเหมือน การหมุนของอนุภาคเดี่ยวๆ ได๎ เพราะอนุภาคเหลํานั้นอยูํคนละต้าแหนํง มีระยะหํางจากแกนหมุนไมํเทํากัน จึง มีความเร็วเชิงเส๎นและความเรํงเชิงเส๎นที่ไมํเทํากันด๎วย ดังนั้น ในการศึกษาการหมุนของวัตถุที่ประกอบไปด๎ วยอนุภาคที่เรียงตัวกันอยํางตํอเนื่องจะสมมติเป็นวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) คือ วัตถุในอุดมคติที่ประกอบ ไปด๎วยอนุภาคมากมายเรียงรายตํอเนื่องกันและมีระยะระหวํางอนุภาคคงที่เสมอ ดังนั้น วัตถุแข็งเกร็งจึงไมํมี การเปลี่ยนรูปรํางในขณะเคลื่อนที่ ไมํวําจะมีแรงภายนอกมากระท้ามายมายเพียงใดก็ตาม (ในอุดมคติ) ดังนั้น การเคลื่อนที่แบบหมุนจะเป็นการเคลื่อนที่โดยการหมุนรอบตัวเอง รอบจุดใดจุดหนึ่ง หรือ แกน ใดแกนหนึ่งในตัวมัน เชํน ลูกฟุตบอล ลูกขําง พัดลม ล๎อรถ เป็นต๎น จลนศาสตร๑ของการหมุนจะเหมือนกับ จลนศาสตร๑การเคลื่อนที่เป็นวงกลม การหมุนของวัตถุแข็งเกร็งรอบแกนตรึงแกนหนึ่ง แตํละอนุภาคที่ประกอบ กันเป็นวัตถุแข็งเกร็งจะมีความเร็วเชิงมุมและความเรํงเชิงมุมเทํากันเสมอ โดยวัสดุที่จะน้ามาชวยในการเคลื่อนที่ที่ใช๎คือ ลูกล๎อลูกล๎อคูํพลาสติกแปูนหมุนนั่นเอง ลูกล๎อคูํ มีล๎อ สองล๎อเรียงขนานและใช๎เหมือนเป็นล๎อเดียว นอกจากจะท้าให๎ ความต๎านทานส้าหรับเริ่มเดิน (starting resistance) ลดลง (เริ่มได๎เบาลง) การหมุนเบาลงท้าให๎การเปลี่ยนทิศทางท้าได๎งําย หาซื้อได๎งํายตามร๎านขาย ของอุปกรณ๑เครื่องมือชํางทั่วไป ราคาถูก มีความแข็งแรง เหมาะส้าหรับงานเฟอร๑นิเจอร๑ และเหมาะส้าหรับการ รับน้้าหนักที่ไมํมาก ใช๎ได๎กับงานทั่วไป
  • 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถบูรณการสะเต็มศึกษา และศาสตร๑ที่เกี่ยวข๎องในการสร๎างนวัตกรรมเทคโนโลยี 2. สามารถพัฒนาทักษะความคิดสร๎างสรรค๑ 3. เป็นแนวทางการพัฒนาและสร๎างสิ่งของ เครื่องใช๎ นวัตกรรม น้าไปสูํการจดสิทธิบัตร 4. สํงเสริมการท้างานเป็นกลุํม 5. สร๎างทักษะและคุณลักษณะของการเรียนรู๎ในศตวรรษที่ 21 6. สํงเสริมให๎ใช๎เวลาวํางให๎เป็นประโยชน๑
  • 13. บทที่ 2 การรวบรวมข้อมูล การจัดท้าโครงงาน “ห๎องน้้าแมวเคลื่อนที่ ( KitKAt )” วิชาการออกแบบเทคโนโลยี ผู๎จัดท้าได๎ศึกษา แลรวบรวมข๎อมูลจากเอกสาร และสื่อสารสนเทศ ประกอบด๎วย 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สาระการออกแบบและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 ( ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ) ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ดังนี้ 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ มีดังนี้ ง 2.1เข๎าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยํางมีความคิดสร๎างสรรค๑ เลือกใช๎เทคโนโลยี ในทางสร๎างสรรค๑ตํอชีวิต สังคมสิ่งแวดล๎อมและมีสํวนรํวมในการจัดการ เทคโนโลยีที่ยั่งยืน 1.2 ตัวชี้วัด มีดังนี้ ง 2.1.5 วิเคราะห๑และเลือกใช๎เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจ้าวันอยํางสร๎างสรรค๑ตํอ ชีวิต สังคมและสิ่งแวดล๎อมและมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนด๎วยวิธีการของ เทคโนโลยีสะอาด ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ๑ระหวํางเทคโนโลยีกับศาสตร๑อื่นๆ ง 2.1.2 วิเคราะห๑ระบบเทคโนโลยี ง 2.1.3 สร๎างและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช๎หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยําง ปลอดภัย โดยถํายทอดความคิดเป็นภาพฉายและแบบจ้าลองเพื่อน้าไปสูํ การสร๎างชิ้นงานหรือถํายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจ้าลองความคิดและการ รายงานผลโดยใช๎ซอฟท๑แวร๑ชํวยในการออกแบบหรือน้าเสนอผลงาน ง 2.1.4 มีความคิดสร๎างสรรค๑ในการแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการในงานที่ผลิตเอง หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ๑ที่ผู๎อื่นผลิต
  • 14. 1.3 สาระการเรียนรู้ มีดังนี้ - เทคโนโลยีมีความสัมพันธ๑กับศาสตร๑อื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร๑ - ระบบเทคโนโลยีประกอบด๎วย ตัวปูอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ๑ (Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางตํอเทคโนโลยี (Consideration) - การวิเคราะห๑ระบบเทคโนโลยีท้าให๎ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด๎านตํางๆ ที่มีผลตํอการแก๎ปัญหา หรือสนอง ความต๎องการ - การสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีจะท้าให๎ผู๎เรียนท้างานอยําง เป็นระบบ สามารถย๎อนกลับมาแก๎ไขได๎งําย - การใช๎ซอฟท๑แวร๑ชํวยในการออกแบบหรือน้าเสนอผลงานมีประโยชน๑ในการชํวยรํางภาพ ท้า ภาพ ๒ มิติ และ ๓ มิติ - การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช๎ต๎องค้านึงถึง หลักการวิเคราะห๑ผลิตภัณฑ๑เบื้องต๎น - หลักการวิเคราะห๑ผลิตภัณฑ๑เบื้องต๎น เป็นการวิเคราะห๑จุดมุํงหมายของ การออกแบบ ประกอบด๎วย ชิ้นงานนี้ใช๎ท้าอะไร ท้าไมถึงต๎องมีชิ้นงานนี้ ใครเป็นผู๎ใช๎ ใช๎ที่ไหน เมื่อไร จึง ใช๎ วิธีการที่ท้าให๎ชิ้นงานนี้ท้างานได๎ตามวัตถุประสงค๑ - ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน ประกอบด๎วยภาพด๎านหน๎า ด๎านข๎าง ด๎านบน แสดงขนาดและหนํวยวัด เพื่อน้าไปสร๎างชิ้นงาน - ความคิดสร๎างสรรค๑มี ๔ ลักษณะ ประกอบด๎วยความคิดริเริ่ม ความคลํองในการคิด ความ ยืดหยุํนในการคิดและความคิดละเอียดลออ - ความคิดแปลกใหมํที่ได๎ ต๎องไมํละเมิดความคิดผู๎อื่น - เทคโนโลยีสะอาดเป็นการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแบบหนึ่ง - ความคิดแปลกใหมํเป็นการสร๎างนวัตกรรมที่อาจน้าไปสูํการจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร - การวิเคราะห๑ผลดี ผลเสีย การประเมินและการตัดสินใจเพื่อเลือกใช๎เทคโนโลยีที่เหมาะสม -การเลือกใช๎สิ่งของเครื่องใช๎อยํางสร๎างสรรค๑ โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใช๎ที่เป็นมิตรกับชีวิต สังคมสิ่งแวดล๎อม
  • 15. 2. หลักการสะเต็มศึกษา ( STEM Education ) กระบวนการ STEM STEM ยํอมาจาก Science, Technology, Engineering and Mathematics คือ แนวทางการจัด การศึกษาที่บูรณการความรู๎ใน 4 สหวิทยาการ ได๎แกํ วิทยาศาสตร๑ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร๑ โดย เน๎นการน้าความรู๎ไปใช๎แก๎ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการ พัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมํ ที่เป็นประโยชน๑ตํอการด้าเนินชีวิต และการท้างาน ชํวยนักเรียนสร๎าง ความเชื่อมโยงระหวําง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการท้างาน การจัดการเรียนรู๎แบบสะเต็มศึกษาเป็น การจัดการเรียนรู๎ที่ไมํเน๎นเพียงการทํองจ้าทฤษฎีหรือกฎทางวิทยาศาสตร๑ และคณิตศาสตร๑ แตํเป็นการสร๎าง ความเข๎าใจทฤษฎีหรือกฎเหลํานั้นผํานการปฏิบัติให๎เห็นจริงควบคูํกับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้ง ค้าถาม แก๎ปัญหาและการหาข๎อมูลและวิเคราะห๑ข๎อค๎นพบใหมํๆ พร๎อมทั้งสามารถน้าข๎อค๎นพบนั้นไปใช๎หรือ บูรณการกับชีวิตประจ้าวันได๎ - Science เป็นวิชาที่วําด๎วยการศึกษาปรากฏการณ๑ตํางๆ ในธรรมชาติ โดยอาศัยกระบวนการสืบเสาะทาง วิทยาศาสตร๑ (Scientific Inquiry) -Technology เป็นวิชาที่วําด๎วยกระบวนการท้างานที่มีการประยุกต๑ศาสตร๑สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง มาใช๎ใน การแก๎ปัญหา ปรับปรุงแก๎ไขหรือพัฒนาสิ่งตํางๆ เพื่อตอบสนองความต๎องการ หรือความจ้าเป็นของมนุษย๑ -Engineering เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการสร๎างสรรค๑นวัตกรรมหรือสร๎างสิ่งตํางๆ เพื่อมาอ้านวยความสะดวกของ มนุษย๑ โดยอาศัยความรู๎ด๎านวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และกระบวนการทางเทคโนโลยี มาประยุกต๑ใช๎ สร๎างสรรค๑ชิ้นงานนั้นๆ -Mathematics เป็นวิชาที่วําด๎วยการศึกษาเกี่ยวกับการค้านวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการค้านวณ เป็นพื้นฐาน ส้าคัญในการศึกษาและตํอยอดทางวิศวกรรมศาสตร๑ สาเหตุที่ต้องมี STEM EDUCATION หรือ สะเต็มศึกษา จุดเริ่มต๎นของแนวคิด STEM มาจากสหรัฐอเมริกา ที่ประสบปัญหาเรื่อง ผลการทดสอบ PISA ของ สหรัฐอเมริกา ที่ต่้ากวําหลายประเทศ และสํงผลตํอขีดความสามารถด๎านวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยี และ วิศวกรรม รัฐบาลจึงมีนโยบาย สํงเสริมการศึกษาโดยพัฒนา STEM ขึ้นมา เพื่อหวังวําจะชํวยยกระดับผลการ ทดสอบ PISA ให๎สูงขึ้น และจะเป็นแนวทางหนึ่งในการสํงเสริมทักษะที่จ้าเป็นส้าหรับผู๎เรียนในศตวรรษที่ 21 (21st Century skills) ประเทศไทยของเราเองก็ประสบปัญหาในลักษณะคล๎ายกัน เชํน นักเรียนไมํเข๎าใจบทเรียนอยําง แท๎จริง เรียนอยํางทํองจ้า ให๎ท้าข๎อสอบผําน เมื่อผํานไปอีกภาคการศึกษาหนึ่ง เกิดปัญหาลืมบทเรียนที่จบไป แล๎ว อาจเป็นเพราะนักเรียนไมํเข๎าใจวํา บทเรียนนั้นน้าไปใช๎ประโยชน๑ในชีวิตจริงได๎อยํางไร จึงท้าให๎นักเรียนไมํ สามารถเชื่อมตํอความรู๎เป็นภาพใหญํได๎ ตัวอยํางการเรียนการสอนในประเทศญี่ปุุน : ประเทศญี่ปุุน มักจะที่ประสบภัยพิบัติมาตลอด จึงน้ามา
  • 16. ประเด็นดังกลําว มาใช๎ในภาคการศึกษา ดังเชํน การค้านวณพื้นที่ประสบภัยน้้าทํวม การไหลของน้้า การ เคลื่อนที่ของคลื่นซึนามิ แม๎จะเป็นความเข๎าใจในพื้นฐานไมํลึกซึ้ง เทํากับการศึกษาด๎วยแบบจ้าลองด๎วย คอมพิวเตอร๑ (computer modeling) ที่หนํวยงานดูแลและบริหารใช๎งานอยูํจริง แตํก็ท้าให๎นักเรียนเห็นภาพที่ เกี่ยวข๎องกับชีวิตประจ้าวันมากขึ้น ตัวอยํางการเรียนการสอนในประเทศไทย : สสวท. ได๎ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร๑ ตามแนวทาง STEM หลายกิจกรรม ครูที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได๎ที่นี่>> กิจกรรมอุณหภูมิ น้้าหวานเย็นลงได๎ด๎วย STEM จุดเด่นของSTEM จุดเดํนที่ชัดเจนข๎อหนึ่งของการจัดการเรียนการเรียนรู๎แบบสะเต็ม คือการผนวกแนวคิดการออกแบบ เชิงวิศวกรรมเข๎ากับการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยี ของผู๎เรียน กลําวคือ ในขณะที่ นักเรียนท้ากิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู๎ ความเข๎าใจ และฝึกทักษะด๎านวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และ เทคโนโลยี ผู๎เรียนต๎องมีโอกาสน้าความรู๎มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อตอบสนองความต๎องการหรือ แก๎ปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับชีวิตประจ้าวัน เพื่อให๎ได๎เทคโนโลยีซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม (NRC, 2012) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมประกอบด๎วยองค๑ประกอบ 5 ขั้นตอน ได๎แกํ การระบุปัญหา (identify a challenge)ขั้นตอนนี้เริ่มต๎นจากการที่ผู๎แก๎ปัญหาตระหนักถึงสิ่งที่เป็นปัญหาใน ชีวิตประจ้าวันและจ้าเป็นต๎องหาวิธีการหรือสร๎างสิ่งประดิษฐ๑ (innovation) เพื่อแก๎ไขปัญหาดังกลําว ในการ แก๎ปัญหาในชีวิตจริงบางครั้งค้าถามหรือปัญหาที่เราระบุอาจประกอบด๎วยปัญหายํอย ในขั้นตอนของการระบุ ปัญหา ผู๎แก๎ปัญหาต๎องพิจารณาปัญหาหรือกิจกรรมยํอยที่ต๎องเกิดขึ้นเพื่อประกอบเป็นวิธีการในการแก๎ปัญหา ใหญํด๎วย การค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง (explore ideas) หลังจากผู๎แก๎ปัญหาท้าความเข๎าใจปัญหาและสามารถระบุ ปัญหายํอย ขั้นตอนตํอไปคือการรวบรวมข๎อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข๎องกับการแก๎ปัญหาดังกลําว ในการค๎นหา แนวคิดที่เกี่ยวข๎องผู๎แก๎ปัญหาอาจมีการด้าเนินการ ดังนี้
  • 17. (1) การรวบรวมข๎อมูล คือการสืบค๎นวําเคยมีใครหาวิธีแก๎ปัญหาดังกลําวนี้แล๎วหรือไมํ และหากมีเขา แก๎ปัญหาอยํางไร และมีข๎อเสนอแนะใดบ๎าง (2) การค๎นหาแนวคิด คือการค๎นหาแนวคิดหรือความรู๎ทางวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ หรือเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข๎องและสามารถประยุกต๑ในการแก๎ปัญหาได๎ ในขั้นตอนนี้ ผู๎แก๎ปัญหาควรพิจารณาแนวคิดหรือความรู๎ ทั้งหมดที่สามารถใช๎แก๎ปัญหาและจดบันทึกแนวคิดไว๎เป็นทางเลือก และหลังจากการรวบรวมแนวคิดเหลํานั้น แล๎วจึงประเมินแนวคิดเหลํานั้น โดยพิจารราถึงความเป็นไปได๎ ความคุ๎มทุน ข๎อดีและจุดอํอน และความ เหมาะสมกับเงื่อนไขและขอบเขตของปัญหา แล๎วจึงเลือกแนวคิดหรือวิธีการที่เหมาะสมที่สุด การวางแผนและพัฒนา (plan and develop)หลังจากเลือกแนวคิดที่เหมาะสมในการแก๎ปัญหาแล๎ว ขั้นตอนตํอไป คือการวางแผนการด้าเนินงาน โดยผู๎แก๎ปัญหาต๎องก้าหนดขั้นตอนยํอยในการท้างานรวมทั้ง ก้าหนดเปูาหมายและระยะเวลาในการด้าเนินการแตํละขั้นตอนยํอยให๎ชัดเจน ในขั้นตอนของ การพัฒนา ผู๎แก๎ปัญหาต๎องวาดแบบและพัฒนาต๎นแบบ (prototype) ของผลผลิตเพื่อใช๎ในการทดสอบแนวคิด ที่ใช๎ในการแก๎ปัญหา การทดสอบและประเมินผล (test and evaluate)เป็นขั้นตอนทดสอบและประเมินการใช๎งานต๎นแบบเพื่อ แก๎ปัญหา ผลที่ได๎จากการทดสอบและประเมินอาจถูกน้ามาใช๎ในการปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธ๑ให๎มี ประสิทธิภาพในการแก๎ปัญหามากขึ้น การทดสอบและประเมินผลสามารถเกิดขึ้นได๎หลายครั้งในกระบวนการ แก๎ปัญหา การน้าเสนอผลลัพธ์ (present the solution)หลังจากการพัฒนา ปรับปรุง ทดสอบและประเมินวิธีการ แก๎ปัญหาหรือผลลัพธ๑จนมีประสิทธิภาพตามที่ต๎องการแล๎ว ผู๎แก๎ปัญหาต๎องน้าเสนอผลลัพธ๑ตํอสาธารณชน โดย ต๎องออกแบบวิธีการน้าเสนอข๎อมูลที่เข๎าใจงํายและนําสนใจ ในการท้างานผู๎เรียนไมํจ้าเป็นต๎องมีล้าดับที่แนํนอน โดยขั้นตอนทั้งหมดสามารถสลับไปมาหรือ ย๎อนกลับขั้นตอนได๎ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมแสดงได๎ดังรูปที่ 1.1.2 เพื่อให๎เห็นรายละเอียดที่ ชัดเจนขึ้นของแตํละองค๑ประกอบของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ลองพิจารณาตัวอยํางกระบวนการ ออกแบบห๎องท้าความเย็นดังนี้ - ระบุปัญหา (Identify a challenge) ในสภาพอากาศที่ร๎อนอบอ๎าว มีความจ้าเป็นต๎องเก็บผักผลไม๎ในที่ที่อุณหภูมิต่้าเพื่อคงความสดใหมํ จึง เกิดค้าถามขึ้นวําท้าอยํางไรจึงจะสร๎างตู๎หรือห๎องที่คงอุณหภูมิให๎ต่้าอยูํเสมอแม๎อุณหภูมิภายนอกจะสูงก็ตาม - ค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง (Explore ideas) การค๎นพบทางวิทยาศาสตร๑ได๎อธิบายวํา (1) สสารโดยทั่วไปมีการคลายความร๎อนเมื่อเปลี่ยนสถานะ จากไอเป็นของเหลว และมีการดูดความร๎อนเมื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นไอ และ (2) สสารในสถานะไอ สามารถเปลี่ยนเป็นของเหลวได๎เมื่อได๎รับความดันที่สูงขึ้น และเปลี่ยนกลับเป็นไอได๎เมื่อลดความดันลง จึงได๎ แนวคิดวําหากน้าสารที่เปลี่ยนสถานะได๎งํายและมีคุณสมบัติการถํายเทความร๎อนได๎ดีมาท้าให๎เปลี่ยนสถานะ จากของเหลวเป็นไอภายในตู๎ และเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวภายนอกตู๎ ก็จะเกิดการถํายเทอุณหภูมิจาก
  • 18. ภายในตู๎ออกไปนอกตู๎ได๎ ในที่นี้เทคโนโลยีด๎านเครื่องจักรกลทางไฟฟูา (หรือมอเตอร๑) สามารถน้ามาประยุกต๑ เป็นเครื่องอัดแรงดันให๎สารเปลี่ยนสภาพจากไอเป็นของเหลวได๎ เพื่อให๎เกิดประสิทธิภาพสูงที่สุดในการถํายเทพลังงานความร๎อน ควรมีการน้าเอาสารหลาย ๆ ชนิดมา ทดลองเปรียบเทียบอัตราการดูดและคลายความร๎อน และพลังงานที่ต๎องใช๎ในการท้าให๎สารนั้น ๆ เปลี่ยน สถานะไปมา - ทดสอบและประเมินผล (Test & evaluate) ออกแบบอุปกรณ๑ต๎นแบบที่กักเก็บสารท้าความเย็นไว๎ในระบบปิด โดยท้าให๎เกิดการระเหยกลายเป็นไอภายใน ห๎องที่ต๎องการท้าความเย็นและควบแนํนกลับเป็นของเหลวภายนอกห๎อง เพื่อประเมินประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการใช๎งานกํอนน้าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ๑ - วางแผนและพัฒนา (Plan & develop) ออกแบบกระบวนการสร๎างผลิตภัณฑ๑ที่ใช๎ต๎นทุน ต่้าแตํได๎สมรรถภาพที่ต๎องการ โดยการเลือกสรรวัตถุดิบ และชิ้นสํวนที่เหมาะสม ค้านวณปริมาณสารที่ต๎องใช๎ รวมถึงขนาดของมอเตอร๑ที่ใช๎ท้าอุปกรณ๑อัดแรงดันด๎วย แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร๑เพื่อให๎การถํายเทความร๎อน เหมาะสมกับขนาดของห๎องที่ต๎องการท้าความเย็น - น้าเสนอผลลัพธ์ (Present the solution) น้ากระบวนการออกแบบที่ได๎น้าเสนอตํอผู๎ที่สนใจหรือผู๎ให๎ทุนสนับสนุน เพื่อให๎เกิดการผลิตในปริมาณ มากและใช๎งานในวงกว๎างตํอไป มุมมองการจัดการเรียนรู้อง STEM การบูรณการภายในวิชา คือ การจัดการเรียนรู๎ที่นักเรียนได๎เรียนเนื้อหาและฝึกทักษะของแตํละวิชา ของสะเต็มแยกกัน การจัดการเรียนรู๎แบบนี้คือการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยีที่ เป็นอยูํทั่วไปที่ครูผู๎สอนแตํละวิชาตํางจัดการเรียนรู๎ให๎แกํนักเรียนตามรายวิชาของตนเอง การบูรณการแบบพหุวิทยาการ คือ การจัดการเรียนรู๎ที่นักเรียนได๎เรียนเนื้อหาและฝึกทักษะของวิชา ของวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร๑แยกกัน โดยมีหัวข๎อหลัก (theme) ที่ครูทุก วิชาก้าหนดรํวมกัน และมีการอ๎างอิงถึงความเชื่อมโยงระหวํางวิชานั้นๆ การจัดการเรียนรู๎แบบนี้ชํวยให๎นักเรียน เห็นความเชื่อมโยงของเนื้อหาในวิชาตํางๆ กับสิ่งที่อยูํรอบตัว เชํน ถ๎าครูผู๎สอนทั้ง 4 วิชาก้าหนดรํวมกันจะใช๎ กระติบข๎าวเป็นหัวข๎อหลักในการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยี ครูผู๎สอนเทคโนโลยี สามารถเริ่มแนะน้ากระติบข๎าวโดยแนะน้าวํากระติบข๎าวจัดเป็นเทคโนโลยีอยํางงํายที่มนุษย๑สร๎างขึ้นเพื่ออ้านวย ความสะดวกหรือตอบสนองความต๎องการที่จะเก็บความร๎อนของข๎าว ในขณะที่ครูวิทยาศาสตร๑ยกตัวอยําง กระติบข๎าวเพื่อสอนเรื่องการถํายโอนความร๎อน และครูคณิตศาสตร๑ใช๎กระติบข๎าวสอนเรื่องรูปทรงและให๎ นักเรียนหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของกระติบข๎าว
  • 19. การบูรณการแบบสหวิทยาการ คือ การจัดการเรียนรู๎ที่นักเรียนได๎เรียนเนื้อหาและฝึกทักษะอยําง น๎อย 2 วิชารํวมกันโดยกิจกรรมมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ๑ของทุกวิชาเพื่อให๎นักเรียนได๎เห็นความสอดคล๎อง กัน ในการจัดการเรียนรู๎แบบนี้ ครูผู๎สอนในวิชาที่เกี่ยวข๎องต๎องท้างานรํวมกันโดยพิจารณาเนื้อหาหรือตัวชี้วัดที่ ตรงกันและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู๎ในรายวิชาของตนเองโดยให๎เชื่อมโยงกับวิชาอื่นผํานเนื้อหาหรือตัวชี้วัด นั้น เชํน ในวิชาวิทยาศาสตร๑ หลังจากการเรียนเรื่องการถํายโอนความร๎อนและฉนวนกันความร๎อน ครู ก้าหนดให๎นักเรียนท้าการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลตํอการเก็บความร๎อนของกระติบข๎าว โดยขอให๎ครู คณิตศาสตร๑สอนเรื่องการหาพื้นที่ผิวสัมผัสและปริมาตรของรูปทรงตํางๆ กํอนให๎นักเรียนเริ่มท้าการทดลองใน วิชาวิทยาศาสตร๑ หลังจากนั้นเมื่อนักเรียนทดลองและเก็บข๎อมูลเรียบร๎อยแล๎ว ให๎น้าข๎อมูลจากการทดลองไป สร๎างกราฟและตีความผลการทดลองในวิชาคณิตศาสตร๑ การบูรณการแบบข้ามสาขาวิชา คือ การจัดการเรียนการสอนที่ชํวยนักเรียนเชื่อมโยงความรู๎และ ทักษะที่เรียนรู๎จากวิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร๑กับชีวิตจริง โดยนักเรียนได๎ ประยุกต๑ความรู๎และทักษะเหลํานั้นในการแก๎ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชนหรือสังคม และสร๎างประสบการณ๑ การเรียนรู๎ของตัวเอง ครูผู๎สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ตามความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครูอาจ ก้าหนดกรอบหรือ theme ของปัญหากว๎างๆ ให๎นักเรียนและให๎นักเรียนระบุปัญหาที่เฉพาะเจาะจงและวิธีการ แก๎ปัญหาเอง ทั้งนี้ ในการก้าหนดกรอบของปัญหาให๎นักเรียนศึกษานั้น ครูต๎องค้านึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง 3 ปัจจัยกับการเรียนรู๎ของนักเรียน ได๎แกํ (1) ปัญหาหรือค้าถามที่นักเรียนสนใจ (2) ตัวชี้วัดในวิชาตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง (3) ความรู๎เดิมของนักเรียน การจัดการเรียนรู๎แบบ problem/ project based learning เป็นกล ยุทธ๑ในการจัดการเรียนรู๎ (instructional strategies) ที่มีแนวทางใกล๎เคียงกับแนวทางบูรณแบบนี้ หาก พิจารณาการใช๎กระติบข๎าวเป็นหัวข๎อหลักในการเรียนรู๎สะเต็มศึกษา ครูสามารถจัดการเรียนรู๎บูรณการแบบ ข๎ามสาขาวิชาโดยก้าหนดกรอบปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาคุณภาพของกระติบข๎าวโดยก้าหนดเป็น สถานการณ๑ เชํน การใช๎กระติบข๎าวในร๎านอาหารที่มักมีการบรรจุข๎าวในถุงพลาสติกกํอนบรรจุลงในกระติบข๎าว เพื่อปูองกันข๎าวเหนียวติดค๎างที่กระติบมีผลให๎ท้าความสะอาดยาก และผู๎เรียนต๎องออกแบบกระติบข๎าวหรือ วิธีการที่จะท้าให๎กระติบข๎าวมีคุณสมบัติการลดการติดของข๎าวเหนียวเพื่อลดการใช๎ถุงพลาสติก หลังจากที่ ผู๎สอนน้าเสนอปัญหาดังกลําวแกํผู๎เรียนต๎องก้าหนดแนวทางในการแก๎ปัญหาโดยใช๎แนวคิด และทักษะทาง วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยีผํานกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม การเปรียบเทียบแนวคิดและทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์
  • 20. การกลําวอ๎างถึงการน้าแนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรมมาบูรณการกับการเรียนรู๎ศาสตร๑อื่นๆ อีก 4 ศาสตร๑นั้น น้ามาสูํความพยายามในการอธิบา ยความแตกตํางระหวํางศาสตร๑ 3 ศาสตร๑ที่มีความใกล๎เคียงกัน มาก ได๎แกํ วิทยาศาสตร๑ วิศวกรรมศาสตร๑ และเทคโนโลยี สภาวิจัยแหํงประเทศสหรัฐอเมริกา ( The National Research Council: NRC) ได๎ให๎ความหมายของวิศวกรรมศาสตร๑และเทคโนโลยี พร๎อมทั้งเปรียบเทียบทักษะ ของศาสตร๑ทั้งสองกับทักษะทางวิทยาศาสตร๑ไว๎ดังตารางนี้ วิทยาศาสตร์ (Science) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) เทคโนโลยี (Technology) คณิตศาสตร์ (Mathematics) ตั้งค้าถาม (เพื่อ เข้าใจธรรมชาติ) นิยามปัญหา (เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิต) ตระหนักถึงบทบาทของ เทคโนโลยีตํอสังคม ท้าความเข๎าใจและพยายาม แก๎ปัญหา พัฒนาและใช้โมเดล พัฒนาและใช๎โมเดล ใช๎คณิตศาสตร๑ในการสร๎าง โมเดล ออกแบบและลงมือ ท้าการค้นคว้า วิจัย ทดลอง ออกแบบและลงมือ ท้าการค๎นคว๎า วิจัย ทดลอง เรียนรู๎วิธีการใช๎งาน เทคโนโลยีใหมํๆ ใช๎เครื่องมือที่เหมาะสมในการ แก๎ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห๑ข๎อมูล ให๎ความส้าคัญการความแมํนย้า ใช้คณิตฯ ช่วยใน การค้านวณ ใช๎คณิตฯ ชํวยในการ ค้านวณ เข๎าใจบทบาทของเทคโนโลยี ในการพัฒนาด๎านวิทย๑ฯ และวิศวกรรม ใช๎ตัวเลขในการให๎ความหมาย หรือเหตุผล สร้างค้าอธิบาย ออกแบบวิธีแก๎ปัญหา พยายามหาและใช๎โครงการใน การแก๎ปัญหา ใช้หลักฐานในการ ยืนยันแนวคิด ใช๎หลักฐานในการยืนยัน แนวคิด ตัดสินใจเลือกใช๎เทคโนโลยี โดยพิจารณาถึงผลกระทบ ตํอสังคมและสิ่งแวดล๎อม สร๎างข๎อโต๎แย๎งและสามารถ วิพากษ๑การให๎เหตุผลของผู๎อื่น ประเมินและสื่อสาร แนวคิด ประเมินและสื่อสาร แนวคิด มองหาและน้าเสนอระเบียบวิธี ในการเหตุผลซ้้าๆ จากตาราง แนวปฏิบัติ (practice) ทางวิทยาศาสตร๑มีกระบวนการสํวนใหญํเหมือนกับแนวปฏิบัติทาง วิศวกรรมศาสตร๑ กลําวคือ ทั้งสองศาสตร๑มีการพัฒนาและใช๎โมเดลในการด้าเนินงาน มีการออกแบบและลงมือ ค๎นคว๎าวิจัยเพื่อรวบรวมข๎อมูล และวิเคราะห๑ข๎อมูลดังกลําว ทั้งวิทยาศาสตร๑ และวิศวกรรมศาสตร๑ต๎องการ ความรู๎ทางคณิตศาสตร๑ในการค้านวณ นอกจากนี้ ทั้งนักวิทยาศาสตร๑และวิศวกรมีการใช๎หลักฐานในการยืนยัน แนวคิดซึ่งอาจเป็นค้าตอบของข๎อสงสัยเกี่ยวกับธรรมชาติหรือปัญหา และสุดท๎ายต๎องมีการประเมินและสื่อสาร แนวคิดดังกลําว อยํางไรก็ตาม แนวปฏิบัติทั้งสองมีความแตกตํางกันอยูํ 2 ประการ คือ (1) ในขณะที่วิชาวิทยาศาสตร๑พยายามตั้งค้าถามเพื่อเรียนรู๎และท้าความเข๎าใจธรรมชาติ วิศวกรรมศาสตร๑พยายามนิยามปัญหาซึ่งเกิดจากความไมํพอใจและต๎องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย๑ และ (2) ผลลัพธ๑ของการท้างานทางวิทยาศาสตร๑คือการสร๎างค้าอธิบายเพื่อตอบข๎อสงสัยเกี่ยวกับธรรมชาติ ในขณะที่ผลลัพธ๑ของการท้างานทางวิศวกรรมศาสตร๑คือวิธีการแก๎ปัญหาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย๑ และวิธีการดังกลําวจะน้ามาซึ่งผลผลิตที่เป็นเทคโนโลยีใหมํหรือนวัตกรรม ที่มา: Vasquez, J.A., Sneider, C., and Comer, M. (2013). STEM Lesson Essentials: Integrating Science, Technology, Engineering, and Mathematics, p.38.
  • 21. ศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ ศูนย๑สะเต็มศึกษาแหํงชาติเป็นหนํวยงานในก้ากับดูแลของสถาบัน สํงเสริมการสอนวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยี (สสวท.) ด้าเนินงานโดย คณะกรรมการอ้านวยการโครงการฯ ซึ่งมีผู๎อ้านวยการ สสวท. เป็น ประธาน นอกจากนี้ มีคณะท้างาน 5 คณะซึ่งท้างานขับเคลื่อน โครงการฯ คณะท้างานทั้ง 5 คณะ ประกอบด๎วย ( 1) คณะท้างานฝุาย เผยแพรํความเข๎าใจและแนวคิดสะเต็มศึกษา (2) คณะท้างานฝุายสร๎าง เครือขํายการด้าเนินงานสะเต็มศึกษา (3) คณะท้างานฝุายพัฒนา ศักยภาพครูให๎สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู๎แบบบูรณการในรูปแบบสะเต็มศึกษา (4) คณะท้างานฝุายพัฒนา กิจกรรมการเรียนรู๎ตามแนวทางสะเต็มศึกษา และ (5) คณะท้างานฝุายสนับสนุนและติดตามผลการจัดการ เรียนรู๎ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ซึ่งจะท้าหน๎าที่ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาแกํ ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค และโรงเรียนเครือขําย การสนับสนุนที่ สสวท. จะจัดสํงให๎ ประกอบด๎วย สื่อในการสร๎าง ความตระหนักและให๎ความรู๎เรื่องสะเต็มศึกษาและนิทรรศการในพื้นที่ สื่อในการสร๎างความตระหนักและให๎ ความรู๎เรื่องสะเต็มศึกษาและนิทรรศการในพื้นที่ หลักสูตรพัฒนาผู๎บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใน จังหวัด การพัฒนาวิทยากรและเครือขํายพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุนในพื้นที่ และระบบติดตามและประเมินผล เครือขํายสะเต็มศึกษาประเทศไทย ประกอบด๎วย ศูนย๑สะเต็มศึกษา แหํงชาติ ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค และโรงเรียนเครือขํายสะเต็มศึกษา ซึ่ง เป็นหนํวยงานหลักในการด้าเนินงาน นอกจากนี้ ยังมีเครือขําย มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงวิชาการ เครือขํายศึกษานิเทศก๑ เครือขํายครูพี่ เลี้ยงวิชาการ เครือขํายทูตสะเต็ม ระบบ iSTEM และระบบเชิดชูเกียรติผู๎มี ความรู๎ความสามารถด๎านสะเต็ม ( STEM Hall of Fame) รํวม สนับสนุนการด้าเนินงานและขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู๎ตามแนวทาง สะเต็มศึกษาให๎เข๎าถึงโรงเรียนทั่วประเทศ
  • 22.
  • 23. โครงสร้างเครือข่ายสะเต็มศึกษา สสวท. เครือขํายสะเต็มของ สสวท. เป็นเครือขํายที่มุํงหวังจะขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาให๎เกิดขึ้นในประเทศไทย อยํางเป็นรูปธ รรมโดยการประสานความรํวมมือระหวํางหนํวยงานและองค๑กรที่เกี่ยวข๎องกับการศึกษาทั้ง ภาครัฐและเอกชนผํานทางศูนย๑สะเต็มศึกษาแหํงชาติ ( National STEM Education Center: NSEC) และ ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค (Regional STEM Education Center: RSEC) ซึ่งกระจายอยูํใน 12 จังหวัดทั่วประเทศ ทั้งนี้ สสวท. จะระดมการสนับสนุนจากหนํวยงานในเครือขํายเพื่อสํงเสริมการจัดการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และเทคโนโลยีที่บูรณการวิศวกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู๎วิทยาศาสตร๑ คณิตศาสตร๑ และ เทคโนโลยีของนักเรียนไทยอยํางเป็นระบบ โครงสร๎างของเครือขํายสะเต็มศึกษา สสวท. ประกอบด๎วย ศูนย๑ สะเต็มศึกษาแหํงชาติ ศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค 13 ศูนย๑ และโรงเรียนเครือขํายสะเต็มศึกษาที่ด้าเนินงาน รํวมกับศูนย๑สะเต็มศึกษาภาค ศูนย๑ละ 6 โรงเรียน ดังแสดงในรูป 3. กระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สสวท. กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร ? ในชีวิตประจ้าวันของมนุษย๑มีกิจกรรมตํางๆ เกิดขึ้นมากมายตามเงื่อนไขและปัจจัยในการด้ารงชีวิต ของแตํละคน ท้าให๎บางครั้งมนุษย๑ต๎องพบเจอกับปัญหาหรือความต๎องการที่จะท้าให๎การด้ารงชีวิตดีขึ้น เรา เรียกวํา “สถานการณ๑เทคโนโลยี"
  • 24. การพิจารณาวําสถานการณ๑ใดเป็นสถานการณ๑เทคโนโลยี จะพิจารณาจาก 3 ประเด็นคือ เป็นปัญหา หรือความต๎องการของมนุษย๑ เป็นปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับสิ่งแวดล๎อม หรือเป็นปัญหาที่เกี่ยวข๎องกับเศรษฐศาสตร๑ การแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการที่พบในสถานการณ๑เทคโนโลยี จะต๎องใช๎ทรัพยากร ความรู๎และทักษะ ตํางๆ ที่เกี่ยวข๎อง จึงจ้าเป็นต๎องมีวิธีการหรือกระบวนการท้างานในการแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการอยําง เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งเรียกกระบวนการนั้นวํา “กระบวนการเทคโนโลยี” กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการท้างานเพื่อสร๎างสิ่งของเครื่องใช๎หรือวิธีการอยํางใดอยํางหนึ่ง ขึ้นมาเพื่อแก๎ปัญหาหรือสนองความต๎องการของมนุษย๑ กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด๎วย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ก้าหนดปัญหาหรือความต๎องการ (Identify the problem) 2. รวบรวมข๎อมูล (Information gathering) 3. เลือกวิธีการ (Selection) 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) 5. ทดสอบ (Testing) 6. ปรับปรุงแก๎ไข (Modification and improvement) 7. ประเมินผล (Assessment) ขั้นที่ 1 ก้าหนดปัญหาหรือความต้องการ ขั้นตอนแรกของกระบวนการเทคโนโลยี คือ การก้าหนดปัญหาหรือความต๎องการ ซึ่งเป็นการท้าความ เข๎าใจหรือวิเคราะห๑ปัญหาหรือความต๎องการหรือสถานการณ๑เทคโนโลยีอยํางละเอียด เพื่อก้าหนดกรอบของ ปัญหาหรือความต๎องการให๎ชัดเจนมากขึ้น