SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ชื่อ ด.ญ. รังสิมา ป่ากว้าง
ชั้น ม. 2/1
เลขที่ 20
การฟื้ นฟูผู้ที่ติดสารเสพติด
การบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หมายถึง การดาเนินงานเพื่อ
แก้ไขสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ติดยาเสพติดให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลับไป
ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ การบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น
๓ ระบบ คือ
๑. ระบบสมัครใจ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษาใน
สถานพยาบาลต่าง ๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน
๒. ระบบบังคับบาบัด หมายถึง ผู้ที่ทางราชการตรวจพบว่ามีสารเสพติดในร่างกาย
จะต้องถูกบังคับบาบัดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ ใน
สถานพยาบาลที่จัดขึ้นตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว เป็นระยะเวลา ๖ เดือน
๓. ระบบต้องโทษ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดที่กระทาความผิดและถูกคุมขัง
จะได้รับการบาบัดรักษา ในสถานพยาบาลที่กาหนดได้ตามกฎหมาย เช่น ทัณฑ์
สถานบาบัดพิเศษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย, สานักงานคุมประพฤติ
กระทรวงยุติธรรมหรือสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง กระทรวงยุติธรรม
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแบบควบคุมตัว
• การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวเข้มงวด หมายถึง การฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องอยู่ใน
สถานที่ควบคุมมิให้หลบหนีได้ง่าย
• การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวไม่เข้มงวด หมายถึง การ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพ
ติดต้องอยู่ในสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามความเหมาะสม
วิธีการในการฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตว
• 1. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวเข้มงวด มีวิธีการดาเนินการ 2 วิธี
คือ วิธีการชุมชนบาบัด (TC) โดยศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด (ลาดหลุมแก้ว)
และวิธีการจิราสา โดยศูนย์ฟื้นฟูฯ กองทัพอากาศ ทาการบาบัดเป็นระยะเวลา 4 เดือน
จากนั้นจะเป็นขั้นตอนการปรับตัวกลับสู่สังคม
• 2. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวไม่เข้มงวด ใช้วิธีการ FAST
MODEL แต่รูปแบบการดาเนินการจะแตกต่างกันตามศักยภาพของหน่วยงานที่ดาเนินการ
ได้แก่ ค่ายกองทัพบก ค่ายกองทัพเรือ ค่ายกองร้อย อส. และศูนย์บาบัดรักษายาเสพติดของ
กรมการแพทย์ เป็นระยะเวลา 4 เดือน
การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัว
1.วิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้ติด) การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้ติด) แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ ผู้ป่วยใน และ
ผู้ป่วยนอก ซึ่งวิธีการฟื้นฟูฯ จะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับอาการของผู้เข้ารับการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และหน่วยงานที่ดาเนินการ ได้แก่ สถานพยาบาลในสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข
2. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้เสพ) การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้
ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้เสพ) มีวิธีการดาเนินการโดยใช้โปรแกรมของ
สานักงานคุมประพฤติ เป็นระยะเวลา 6 เดือน

More Related Content

What's hot

แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวkai kk
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีTeach Singing
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง AnontMungdee
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 

What's hot (20)

แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนว
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลี
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)
 
พละ ม.1
พละ ม.1พละ ม.1
พละ ม.1
 

Similar to การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด

ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2Pear Pimnipa
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดchueng
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดchueng
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษพัน พัน
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1thaitrl
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4linnoi
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษPamPaul
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจsaranyu sosing
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจsaranyu sosing
 

Similar to การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด (17)

Work
WorkWork
Work
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 

More from sarawut chaicharoen

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพเทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพsarawut chaicharoen
 
การจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียดการจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียดsarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2sarawut chaicharoen
 
แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้
แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้
แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้sarawut chaicharoen
 
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2sarawut chaicharoen
 

More from sarawut chaicharoen (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพเทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
 
การจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียดการจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้
แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้
แบบวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้ตามพฤติกรรมการเรียนรู้
 
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สุขม.2
 

การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด

  • 1. ชื่อ ด.ญ. รังสิมา ป่ากว้าง ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 20 การฟื้ นฟูผู้ที่ติดสารเสพติด
  • 2. การบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หมายถึง การดาเนินงานเพื่อ แก้ไขสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ติดยาเสพติดให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลับไป ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ การบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น ๓ ระบบ คือ ๑. ระบบสมัครใจ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษาใน สถานพยาบาลต่าง ๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน ๒. ระบบบังคับบาบัด หมายถึง ผู้ที่ทางราชการตรวจพบว่ามีสารเสพติดในร่างกาย จะต้องถูกบังคับบาบัดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ ใน สถานพยาบาลที่จัดขึ้นตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว เป็นระยะเวลา ๖ เดือน
  • 3. ๓. ระบบต้องโทษ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดที่กระทาความผิดและถูกคุมขัง จะได้รับการบาบัดรักษา ในสถานพยาบาลที่กาหนดได้ตามกฎหมาย เช่น ทัณฑ์ สถานบาบัดพิเศษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย, สานักงานคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรมหรือสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง กระทรวงยุติธรรม
  • 4. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแบบควบคุมตัว • การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวเข้มงวด หมายถึง การฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องอยู่ใน สถานที่ควบคุมมิให้หลบหนีได้ง่าย • การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวไม่เข้มงวด หมายถึง การ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพ ติดต้องอยู่ในสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามความเหมาะสม
  • 5. วิธีการในการฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตว • 1. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวเข้มงวด มีวิธีการดาเนินการ 2 วิธี คือ วิธีการชุมชนบาบัด (TC) โดยศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด (ลาดหลุมแก้ว) และวิธีการจิราสา โดยศูนย์ฟื้นฟูฯ กองทัพอากาศ ทาการบาบัดเป็นระยะเวลา 4 เดือน จากนั้นจะเป็นขั้นตอนการปรับตัวกลับสู่สังคม • 2. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุมตัวไม่เข้มงวด ใช้วิธีการ FAST MODEL แต่รูปแบบการดาเนินการจะแตกต่างกันตามศักยภาพของหน่วยงานที่ดาเนินการ ได้แก่ ค่ายกองทัพบก ค่ายกองทัพเรือ ค่ายกองร้อย อส. และศูนย์บาบัดรักษายาเสพติดของ กรมการแพทย์ เป็นระยะเวลา 4 เดือน
  • 6. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัว 1.วิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้ติด) การฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้ติด) แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ ผู้ป่วยใน และ ผู้ป่วยนอก ซึ่งวิธีการฟื้นฟูฯ จะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับอาการของผู้เข้ารับการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และหน่วยงานที่ดาเนินการ ได้แก่ สถานพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข 2. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้เสพ) การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัว (กรณีผู้เสพ) มีวิธีการดาเนินการโดยใช้โปรแกรมของ สานักงานคุมประพฤติ เป็นระยะเวลา 6 เดือน