SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ปญหาการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
Problems on Legal Enforcement regarding Treatment of Drug Addicts
in Voluntary System
วาที่ ร.ต.ศรัณยู โสสิงห1
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
99 หมู 6 ตําบลโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000
E-mail: tosoing@gmail.com
บทคัดยอ
บทความนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนมา แนวคิดพื้นฐาน หลักการ และทฤษฎีทาง
กฎหมายมหาชนที่เกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ อีกทั้งเพื่อศึกษากฎหมาย
ที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดระบบสมัครใจในตางประเทศและประเทศไทย ตลอดจน
เพื่อศึกษาปญหาการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติดยาเสพติดระบบสมัครใจ และเสนอแนะ
ใหมีการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบสมัคร
ใจ ในพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่
108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสูการ
บําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู เพื่อใหสามารถแกไขปญหาระบบการบําบัดผูติดยาเสพ
ติดรูปแบบสมัครใจไดอยางมีประสิทธิภาพ และยั่งยืนสืบไป
จากการศึกษาพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และประกาศคณะรักษาความ
สงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยา
เสพติดเพื่อเขาสูการบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู พบปญหาการบังคับใชกฎหมาย
เกี่ยวกับการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ซึ่งจากปญหาดังกลาวสงผลเสียตอการแกไขผูเสพ
ผูติดยาเสพติด ทําใหผูเสพ ผูติดยาเสพติดไมไดรับการชวยเหลือ ดูแลและติดตามใหสามารถกลับไปใช
ชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุข ทําใหผูติดยาเสพติดเหลานี้หวนกลับมาสรางปญหาและสรางความ
เดือดรอนใหแกสังคมซ้ําแลวซ้ําอีก สงผลใหปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดทวีความรุนแรงเพิ่ม
มากขึ้น และนําไปสูการทําลายชุมชน สังคม ประเทศชาติในที่สุด
ดังนั้น จะเห็นไดวาประเทศไทยจะตองแกไขบทบัญญัติของพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ. 2522 มาตรา 94 โดยเพิ่มอํานาจใหรัฐมนตรีในการออกมาตรการสงเสริม จูงใจใหผูติดยาเสพติด
เขารับการบําบัดรักษา และเพิ่มเติมบทบัญญัติ มาตรา 94/2 โดยเพิ่มเติมใหคณะกรรมการควบคุม
ยาเสพติดใหโทษมีอํานาจในการกําหนดมาตรฐาน รูปแบบ วิธีการและอัตราการคาบริการสําหรับ
การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดที่ดําเนินการโดยภาคเอกชน รวมถึงแกไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษา
1
นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) คณะนิติศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีปทุม, mini-MPM, อดีตเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน สํานักงานปองกันและปราบปรามยา
เสพติดภาค 1 สํานักงาน ป.ป.ส., อาจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
2
ความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 ขอ 3 โดยเพิ่มเติมใหมีการจัดตั้งศูนยเพื่อประสานการดูแล
ผูผานการบําบัดรักษาขึ้นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกประเภท โดยนําหลักการ ทฤษฎี
ทางกฎหมายมหาชน และแนวความคิดในตางประเทศมาปรับใชในการวิเคราะหและเสนอแนะแนว
ทางแกไขปญหา เพื่อใหประเทศไทยสามารถแกไขปญหายาเสพติดไดอยางยั่งยืน สืบไป
คําสําคัญ : ยาเสพติด, การบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ, คณะรักษาความสงบแหงชาติ
Abstract
The objectives of the thesis were: to study a background, basic concept,
principles and theories of public law regarding the treatment for addicts in voluntary
system; to study the law regarding the treatment for addicts in voluntary system in
overseas and in Thailand; to study problems on law enforcement of the treatment
for addicts in voluntary system; to give recommendations to amend the provisions of
the law regarding the treatment procedure for addicts in voluntary system under the
Narcotic Drugs Act, B.E. 2522 and the Announcement of the National Council for
Peace and Order No. 108/2557 Subject: Treatment for an accused committing an
offence under the law on drugs in order to be treated and recovered and taking care
of those who has been treated and recovered, in order to solve the problems arising
from the law enforcement of the treatment for addicts in voluntary system
proficiently.
On the basis of the results of this research, it can be concluded that the
Narcotic Drugs Act, B.E. 2522 and the Announcement of the National Council for
Peace and Order No. 108/2557 Subject: Treatment for an accused committing an
offence under the law on drugs in order to be treated and recovered and taking care
of those who has been treated and recovered have been found legal problems as
follows: Firstly, a legal problem on determination of the government’s policies in
order to encourage the addicts entering into the treatment procedure in voluntary
system. Secondly, a problem on determination of legal measures for controlling the
treatment for addicts in voluntary system by private sectors and, last but not least, a
legal problem on determination of the local administrative organization’ s duties on
tracking and assisting those who has been passed the treatment in voluntary system as
aforementioned. Therefore, it found that the said legal problems have affected to
remedy the addicts and such the addicts have not been helped, taken care of and
followed up to be back to live in the society peacefully. Those addicts may be back
to cause problems and disturbances to the society again and again. Theses shall
affect to a problem of epidemic of drugs which is seriously more increasing and
leading to a destruction of a community, a society and, finally, a nation.
3
Therefore, the author would recommend that the principles and concepts
of overseas such as: Federal Republic of Germany, French Republic, Swiss
Confederation, Republic of Portugal, Japan, USA, UK, and New Zealand shall be
applied in Thailand. The provisions of the Narcotic Drugs Act, B.E. 2522 should be
amended: Section 9 4 shall be increased the authority to the Minister to issue a
measure for promoting and inducing the addicts to entering into the treatment; and
Section shall be added that the Commission on Narcotic Drugs to have the power to
determine a standard, form, method and rate of service fees for the treatment for
addicts conducted by a private sector as well as Clause 3 of the Announcement of
the National Council for Peace and Order No. 108/2557 shall be added that it should
have an establishment of a coordinating center where taking care of those who have
been passed the treatment in all kind of local administrative organizations. These
shall help solving the problems in Thailand sustainable and continuously.
Keyword : Narcotics, Drug Addition, National Council for Peace and Order
1. บทนํา
นับตั้งแตประเทศไทยมีการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ซึ่งถือเปนการดําเนินการที่เกี่ยวของ
กับการดําเนินงานหลายรูปแบบ เพื่อลดความตองการใชยาของบุคคล ทั้งดานรางกายและจิตใจ
ทั้งนี้วัตถุประสงคของการบําบัดคือ เพื่อใหผูเสพติดงดหรือหยุดเสพยา รวมถึงลดอาการเจ็บปวยหรือ
ตายที่มีผลมาจากการใชยาเสพติด นอกจากนี้ การบําบัดรักษายาเสพติด ยังมีหมายความรวมถึงการ
สงเสริมการดําเนินชีวิตที่ปราศจากยาเสพติด หรือสงเสริมการตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติด
ภายหลังผานการบําบัดรักษาไปแลวดวย เพื่อใหผูผานการบําบัดรักษาสามารถกลับไปดํารงชีวิตอยูใน
สังคมไดอยางปกติสุข ทั้งนี้ ในประเทศไทยมีระบบการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดอยู 3 ระบบ2 ไดแก
ระบบสมัครใจ (Voluntary System) ซึ่งเปนการเปดโอกาสใหผูติดยาเสพติดที่ตองการจะเลิกเสพยา
เสพติด สามารถสมัครขอรับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งมีทั้งแบบ
ผูปวยในและผูปวยนอก ระบบที่สองคือ ระบบบังคับ (Compulsory System) ซึ่งเปนระบบ ที่
เกิดขึ้น ภายใตพระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ซึ่งบังคับใหผูกระทํา
ความผิดในขอหาเสพ ครอบครอง หรือครอบครองเพื่อจําหนายยาเสพติดที่มีปริมาณเล็กนอยเขารับ
การบําบัดรักษาตามที่กฎหมายกําหนด และระบบที่สามคือ ระบบตองโทษ(Correctional System)
ซึ่งเปนการใหการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ที่ไดกระทําความผิดในคดียาเสพติดและถูกคุมขังอยูใน
เรือนจําหรือทัณฑสถานซึ่งตองไดรับการรักษาพยาบาลภายใตขอบเขตขอบังคับของกฎหมาย
2
มานพ คณะโต. 2557. การศึกษาประสิทธิผลการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูเสพยาเสพติดในรูปแบบ
คายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูลสารเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยขอนแกน. หนา 4.
4
จากที่กลาวมาขางตน ผูเขียนจะขอกลาวถึงสภาพปญหาทางกฎหมายที่เกิดจากการบังคับใช
พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่
108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสู
การบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู ที่สงผลกระทบตอกระบวนการบําบัดรักษาผูติด
ยาเสพติดในระบบสมัครใจของประเทศไทย ดังตอไปนี้
1.1 ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหผูเสพ ผูติด
ยาเสพติดเขาสูกระบวนการบําบัดในระบบสมัครใจ
การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ถือเปนมาตรการสําคัญในการลดจํานวน
ผูเสพ ผูติดยาเสพติด และปองกันกลุมผูเสพ ผูติดยาเสพติดรายใหมไมใหเกิดขึ้นในสังคม โดยมีพื้นฐาน
แนวคิดที่วา หากสามารถลดจํานวนผูเสพ ผูติด ซึ่งเปรียบเสมือนเปนผูบริโภคลงได ก็จะสามารถลด
ปริมาณยาเสพติดซึ่งเปรียบเสมือนสินคาไดตามไปดวย
อยางไรก็ตาม จากการศึกษาพบวาพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ซึ่งเปน
กฎหมายหลักในการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ไมมีการกําหนดมาตรการจูงใจ
สงเสริมหรือสนับสนุนใหผูเสพ ผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดในระบบสมัครใจ ทําใหฝายบริหารหรือ
รัฐบาลไมมีอํานาจในการกําหนดนโยบาย และกําหนดมาตรการใดๆ ที่จะทําใหมีการเขารับการ
บําบัดรักษาในระบบสมัครใจใหมากขึ้น สงผลใหจํานวนผูติดยาเสพติดที่สมัครใจเขารับการ
บําบัดรักษา ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มีเปนจํานวนนอย สงผลใหการบังคับใช
กฎหมายไมเปนไปตามวัตถุประสงคและเจตนารมณของกฎหมาย ซึ่งมุงหมายที่จะทําใหผูเขารับการ
บําบัดสามารถลด ละ เลิก การใชยาเสพติด และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเขารับการบําบัดรักษาใหดี
ยิ่งขึ้น และไมหวนกลับมายุงเกี่ยวกับยาเสพติดอีก
1.2 ปญหาการกําหนดมาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบ
สมัครใจที่ดําเนินการโดยภาคเอกชน
การบําบัดรักษายาเสพติดในรูปแบบสมัครใจ เปนรูปแบบที่มุงหมายจะใหโอกาสแกผูเสพ
ผูติดยาเสพติด ที่มีความตองการที่จะลด ละ เลิก ยาเสพติด สามารถสมัครขอเขารับการบําบัดใน
สถานพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนได หรือในคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสวนราชการที่เกี่ยวของ
กับการแกไขปญหายาเสพติด อาทิ คายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกระทรวงมหาดไทย หรือคาย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกองกระทรวงกลาโหม เปนตน
อยางไรก็ตาม จากการศึกษาพบวาพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ยังไมได
มีการกําหนดบทบัญญัติในเรื่องของการควบคุมการดําเนินงานบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติด
ยาเสพติดในระบบสมัครใจโดยภาคเอกชน ที่มิใชการดําเนินงานในโรงพยาบาล สถานพยาบาล
หรือคลินิกเอกชน ซึ่งการควบคุมการดําเนินการบําบัดรักษาและฟนฟูผูติดยาเสพติด ถือเปนเรื่อง
สําคัญอยางยิ่งตอการคุมครองสุขภาพอนามัย ชีวิตและรางกายของผูที่เขารับการบําบัดรักษา
ตลอดจนมีสวนสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบ
สมัครใจ ซึ่งจําเปนตองดําเนินการใหสอดคลองกับหลักการวาดวยการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดของ
องคการสหประชาชาติ ซึ่งประเทศไทยเปนสมาชิกและมีพันธกรณีที่ตองปฏิบัติตาม
5
1.3 ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดอํานาจหนาที่ใหแกองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นเพื่อติดตามและชวยเหลือผูผานการบําบัดในระบบสมัครใจ
การติดตามชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา มีความสําคัญอยางยิ่งตอกระบวนการ
บําบัดรักษายาเสพติดในระบบสมัครใจ การติดตามและชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา เปนอีก
กระบวนการที่ไปหนุนเสริมการปองกันการกลับไปเสพและใชยาเสพติดซ้ําของ ผูผานการ
บําบัดรักษาไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูผานการบําบัดรักษาสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคมได
อยางปกติสุข อันจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีครอบครัวที่สมบูรณ สงผลใหชุมชน สังคมมีความ
เขมแข็ง สงบสุขและปราศจากผูเสพ ผูติดยาเสพติดในที่สุด
อยางไรก็ตาม จากการศึกษา พบวาประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่
108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสูการ
บําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู ซึ่งเปนกฎหมายหลักในการดําเนินการติดตาม ดูแล
และชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษายาเสพติด ไดกําหนดใหมีการจัดตั้งศูนยเพื่อประสานการดูแล
ผูผานการบําบัดฟนฟูในระดับภูมิภาค สงผลใหการบริหารงานและการดําเนินงานของศูนยขาดความ
คลองตัว และไมสามารถดําเนินการไดอยางเปนรูปธรรม เนื่องจากไมมีบุคลากร งบประมาณ
และนโยบายเปนของตนเอง นอกจากนี้ยังกําหนดใหมีการจัดตั้งศูนยเพื่อประสานการดูแลผูผานการ
บําบัดฟนฟูขึ้นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นบางประเภทเทานั้น ไดแก กรุงเทพมหานคร เทศบาล
นคร และเทศบาลเมือง สงผลใหประชาชนที่เปนผูเสพ ผูติดยาเสพติด ในเขตบริการของ เทศบาล
ตําบล องคการบริหารสวนตําบล และเมืองพัทยา ไมไดรับการชวยเหลือ ดูแล และติดตามภายหลัง
การบําบัดฟนฟู สงผลใหเกิดความไมเสมอภาคระหวางประชาชนผูผานการบําบัดรักษาในแตละ
ทองถิ่น
2. วิธีดําเนินการศึกษา
การศึกษานี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชวิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary
research) โดยทําการศึกษา คนควา รวบรวมและวิเคราะหขอมูลตาง ๆ จากบทบัญญัติของ
สนธิสัญญา ขอตกลง และกรอบความรวมมือระหวางประเทศ รวมถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
กฎหมาย คําแถลงนโยบาย บทความทางวิชาการ หนังสือ งานวิจัย วิทยานิพนธ เอกสารประกอบการ
อบรมและเอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ และการคนควาจากอินเทอรเน็ตที่เกี่ยวของทั้งใน
และตางประเทศ รวมถึงใชการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ประกอบดวย
3. ผลการศึกษา
ในบทความนี้ ผูเขียนจะขอนําเสนอผลการศึกษาออกเปน 3 สวนคือ สวนที่หนึ่ง จะกลาวถึง
ทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด สวนที่สอง จะกลาวถึง
กฎหมายตางประเทศและกฎหมายไทยที่เกี่ยวของกับการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
และสวนที่สาม จะกลาวถึงปญหาทางกฎหมายที่เกิดจากการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติด
ยาเสพติดในระบบสมัครใจของประเทศ ตลอดจนนําเสนอแนวทางแกไขปญหา ดังนี้
6
3.1 ทฤษฎีทางกฎหมายมหาชน ที่เกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบ
สมัครใจ
1) หลักการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ
การศึกษาถึงทฤษฎีสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนการคุมครองสิทธิเสรีภาพ จะชวยใหเขาใจ
แนวคิดวาดวยสิทธิและเสรีภาพของบุคคล รวมถึงการใหความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
จากรัฐ ตลอดจนขอบเขตการใชสิทธิและเสรีภาพดังกลาว เพื่อมิใหการใชสิทธิและเสรีภาพไป
กระทบกระเทือนประโยชนโดยรวมของสังคมอีกทางหนึ่งดวย ทั้งนี้หากจะกลาวถึงการคุมครองสิทธิ
และเสรีภาพของประชาชนนั้น ประการแรกที่ตองทําความเขาใจคือ ความหมายของคําวา สิทธิและ
เสรีภาพ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้
สิทธิ หมายถึง ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองโดยกฎหมาย ดังนั้นถาบุคคลใด
เปนผูทรงในสิทธิ บุคคลอื่นๆ ก็มีหนาที่จะตองเคารพตอการใชสิทธิของบุคคลนั้น
สวนเสรีภาพนั้น หมายถึง สภาพการณหรือสภาวะของบุคคลที่มีอิสระในการกระทําการ
อยางใดอยางหนึ่งหรือไมกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง โดยความประสงคของตนเองและไมอยูภายใต
ความครอบงําหรือแทรกแซงบุคคลอื่น ทั้งนี้สามารถแบงประเภทของสิทธิออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ
คือ
(1) การแบงประเภทของสิทธิโดยพิจารณาจากผูทรงสิทธิ โดยการแบงแยกสิทธิและ
เสรีภาพประเภทนี้ พิจารณาจากผูซึ่งไดรับสิทธิตามรัฐธรรมนูญหรือบุคคลซึ่งรัฐธรรมนูญที่จะใหความ
คุมครอง และอาจแบงสิทธิและเสรีภาพประเภทนี้ได 2 ประการ ดวยกัน คือ ประการแรกสิทธิ
มนุษยชนหรือสิทธิของทุกๆ คน โดยมิไดแบงแยกวาบุคคลนั้นจะเปนคนของชาติใด เชื้อชาติใด หรือศาสนา
ใด และประการที่สอง สิทธิพลเมือง สิทธิประเภทนี้ไดแก สิทธิที่รัฐธรรมนูญมุงที่จะใหความคุมครอง
เฉพาะบุคคลที่เปนพลเมืองของรัฐเทานั้น เชน สิทธิในทางการเมือง สิทธิในการไดรับการ
รักษาพยาบาล หรือเสรีภาพในการประกอบอาชีพ เสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู เปนตน
(2) การแบงสิทธิและเสรีภาพโดยพิจารณาจากเงื่อนไขการจํากัดสิทธิ โดยการแบงสิทธิ
และเสรีภาพประเภทนี้ จะพิจารณาจากเงื่อนไขการจํากัดสิทธิ แบงเปน 3 รูปแบบ คือ สิทธิและ
เสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่วไป สิทธิและเสรีภาพกับเงื่อนไขกฎหมายพิเศษ และสิทธิและ
เสรีภาพที่ปราศจากเงื่อนไขของกฎหมาย3 ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้
(2.1) สิทธิและเสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่วไปนั้น รัฐธรรมนูญเพียงแต
กําหนดวาการจํากัดสิทธิและเสรีภาพนั้นอาจกระทําไดโดยบทบัญญัติของกฎหมาย แตสิทธิและ
เสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่ว ไปไมไดกําหนดเงื่อนไขพิเศษในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพบาง
ประการ
(2.2) สิทธิและเสรีภาพกับเงื่อนไขกฎหมายพิเศษนั้น รัฐธรรมนูญกําหนดใหการ
แทรกแซงสิทธิและเสรีภาพโดยกฎหมายนั้น จะตองผูกพันอยูกับสถานการณใดสถานการณหนึ่งหรือ
3
บรรเจิด สิงคะเนติ. 2555. หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (พิมพครั้งที่ 4).
กรุงเทพ: วิญูชน. หนา 52-55.
7
ตองผูกพันกับวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่งเปนพิเศษ หรือตองดําเนินการโดยวิธีการที่รัฐธรรมนูญ
บัญญัติเทานั้น
(2.3) สิทธิและเสรีภาพที่ปราศจากเงื่อนไขของกฎหมายนั้น เปนกรณีที่รัฐธรรมนูญ
ไดกําหนดสิทธิและเสรีภาพนั้นไมอยูภายใตการจํากัดสิทธิโดยกฎหมายใดๆ ทั้งสิ้น
สวนการรับรองสิทธิและเสรีภาพนั้น มีการรับรองไวในระดับที่แตกตางกัน ซึ่งพอจะแบง
ออกไดเปน 2 ระดับ ดังนี้4
(1) การรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเด็ดขาด หรือการรับรองสิทธิและเสรีภาพแบบ
สัมบูรณ คือ ไมยอมใหออกกฎหมายจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเลย
(2) การรับรองสิทธิและเสรีภาพโดยมีเงื่อนไข หรือการรับรองสิทธิและเสรีภาพแบบ
สัมพัทธ ซึ่งการรับรองประเภทนี้เปนการรับรองโดยมีเงื่อนไขของกฎหมายอยู 2 ลักษณะคือ
(2.1) การรับรองสิทธิและเสรีภาพโดยมีเงื่อนไขกฎหมายทั่วไป ในกรณีนี้รัฐธรรมนูญ
เพียงแตเรียกรองวาการจํากัดสิทธิและเสรีภาพนั้น อาจจะกระทําไดโดยบทบัญญัติของกฎหมาย สิทธิ
และเสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่วไปนี้ไมไดเรียกรองเงื่อนไขพิเศษในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
ประการอื่น
(2.2) การรับรองสิทธิและเสรีภาพโดยมีเงื่อนไขกฎหมายพิเศษ ในกรณีนี้รัฐธรรมนูญ
เรียกรองวาการแทรกแซงในสิทธิและเสรีภาพโดยกฎหมายนั้นจะตองผูกพันอยูกับสถานการณใด
สถานการณหนึ่งหรือตองผูกพันอยูกับวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่ง หรือจะตองดําเนินการ
โดยวิธีการที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญเทานั้น
นอกจากนี้ยังมีการคุมครองสิทธิเสรีภาพที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ซึ่งสามารถแบง
การคุมครองสิทธิและเสรีภาพออกไดเปน 3 ระดับ ดังนี้
(1) การคุมครองสิทธิและเสรีภาพที่รัฐและองคกรของรัฐไมสามารถละเมิดสิทธิเสรีภาพ
เหลานี้ไดเลย เสรีภาพดังกลาวเปนเสรีภาพเด็ดขาด เชน เสรีภาพในรางกาย เสรีภาพในความเชื่อ
และศาสนา ดังนั้นถามีกฎหมายที่ตราออกมาแลวกระทบตอเสรีภาพแบบเด็ดขาดดังกลาว ก็ถือวา
ขัดตอรัฐธรรมนูญ
(2) การคุมครองสิทธิและเสรีภาพจากการละเมิดของฝายบริหาร เพราะฝายบริหารมี
อํานาจตามความเปนจริง เชน มีกําลังทหารและกําลังตํารวจอยูในอํานาจ ดังนั้นการจํากัดสิทธิ
และเสรีภาพ ตองกระทําโดยกฎหมายที่รัฐสภาตราขึ้นเทานั้น
(3) การคุมครองสิทธิและเสรีภาพในกรณีที่มีการละเมิด ตองใหประชาชนสามารถไป
ฟองรองตอศาลได5 เชน ถารัฐสภาออกกฎหมายจํากัดเสรีภาพขัดกับรัฐธรรมนูญ ตองมีองคกรชี้ขาด
ใหกฎหมายนั้นใชบังคับมิได
4
บรรเจิด สิงคะเนติ. 2543. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
2540. กรุงเทพฯ: วิญูชน. หนา 51-52.
5
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน. 2547. หลักกฎหมายวาดวยสิทธิเสรีภาพ. กรุงเทพฯ: วิญูชน. หนา 195.
8
2) ทฤษฎีภารกิจของรัฐ
ในบทความนี้ การศึกษาทฤษฎีวาดวยภารกิจของรัฐเปนการศึกษา เพื่อใหทราบและเขาใจ
ถึงบทบาทและหนาที่ของรัฐที่มีตอประชาชนภายในรัฐ ซึ่งจะชวยใหมีการเขาใจลักษณะการกระทํา
ของรัฐในดานตางๆ ของรัฐ ซึ่งการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติด ยาเสพติด ตลอดจนการแกไขปญหายาเสพ
ติดภายในประเทศ ก็ถือเปนสวนหนึ่งในภารกิจของรัฐ ที่รัฐจะตองดําเนินการ เพื่อใหประชาชน
และสังคมมีความสงบสุข และสามารถพัฒนาประเทศไดอยางยั่งยืน
ประเภทภารกิจของรัฐ ในที่นี้แยกภารกิจของรัฐสมัยใหมออกเปนภารกิจที่รัฐทุกรัฐ
จําเปนตองกระทําเพื่อการดํารงอยูของรัฐ ภารกิจนี้จึงเปนภารกิจที่เนนสาระสําคัญของความเปนรัฐที่
เรียกวา “ภารกิจพื้นฐาน” และภารกิจที่รัฐอาจจะทําก็ไดหรือไมกระทําก็ไดเรียกวา “ภารกิจลําดับ
รอง”6 ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้
(1) ภารกิจพื้นฐานของรัฐ หมายถึง ภารกิจที่รัฐดํารงชีวิตอยูไดไมถูกทําลายหรือสูญ
สลายไปเรียกวาความมั่นคงของรัฐหรือความปลอดภัยของประเทศ ภารกิจเชนวานี้เปนอํานาจผูกขาด
ของรัฐที่ผูปกครองใชโดยมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนสวนรวม อันไดแก การรักษาความสงบเรียบรอย
และมีสันติสุขภายในรัฐ การปกปองอธิปไตยและตอตานการรุกรานจากรัฐอื่น การอํานวยความ
ยุติธรรมโดยทางศาล ตลอดจนการเจริญสัมพันธไมตรีกับรัฐอื่น ซึ่งการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพ
ติด ก็เพื่อลดจํานวนผูเกี่ยวของกับยาเสพติดลงใหมากที่สุด รวมถึงการปองกันกลุมผูเสพ ผูติดยาเสพ
ติดรายใหมมิใหเกิดขึ้นในสังคม อันเปนการปองกันการทวีความรุนแรงของปญหายาเสพติดและ
อาชญากรรมที่เกี่ยวของกับยาเสพติด ถือเปนการรักษาความสงบเรียบรอยใหแกประชาชนภายในรัฐ
(2) ภารกิจลําดับรองของรัฐ หมายถึง ภารกิจที่จะทําใหชีวิตมีความเปนอยูของ
ประชาชนดีขึ้นหรือไดมาตรฐานขั้นต่ําในฐานะเปนมนุษย เปนภารกิจดานทํานุบํารุงชีวิตความเปนอยู
ของประชาชนใหกินดีอยูดีจึงเปนงานดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของรัฐนั่นเอง โดยรัฐอาจทํา
ดวยตนเองหรือไมก็ได รัฐอาจมอบหมายใหปจเจกชนเขามามีสวนรวมในการจัดทํา ถึงแมภารกิจรอง
จะมีความสําคัญในทางปฏิบัติก็ตาม แตก็ไมถือวาภารกิจรองของรัฐเปนเงื่อนไขของอํานาจอธิปไตย
องคกรอื่นนอกจากรัฐอาจเปนผูจัดทําภารกิจของรัฐเพื่อประโยชนสวนรวมไดเชนกัน ซึ่งการที่รัฐจัดให
มีการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติด ตลอดจนการติดตาม ดูแลและชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา
ใหสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุขนั้น ก็ถือเปนภารกิจลําดับของรัฐในดานสาธารณสุข
และดานสังคม ซึ่งรัฐอาจจะดําเนินการเอง โดยใหสวนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจเปนผูดําเนินการ หรือ
อาจมอบอํานาจใหเอกชน เปนผูดําเนินการ ภายใตการควบคุมดูแลจากรัฐก็ได
3.2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในตางประเทศและประเทศ
ไทย
ในบทความนี้ จะกลาวถึงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการบําบัดผูเสพ ผูติดยาเสพติดใน
ตางประเทศที่สําคัญ ซึ่งมีลักษณะเนื้อหาและการดําเนินงานที่สามารถเทียบเคียงไดกับกฎหมาย
เกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในประเทศไทย ดังนี้
6
ชาญชัย แสวงศักดิ์. 2556. กฎหมายมหาชน: ความเปนมา ทฤษฎี และหลักการที่สําคัญ (พิมพครั้งที่ 3).
กรุงเทพฯ: วิญูชน. หนา 212-213.
9
1) สหรัฐอเมริกา มีรัฐบัญญัติวาดวยการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด ค.ศ. 19667
มีเนื้อหาในสวนของการบังคับใหเขารับการบําบัดรักษาคลายคลึงกับพระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพ
ผูติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ของประเทศไทย แตมีสวนที่แตกตางกันคือรัฐบัญญัติวาดวยการฟนฟู
สมรรถภาพผูติดยาเสพติด ค.ศ. 1966 นั้น ไดบัญญัติใหนํารูปแบบการบําบัดรักษา และฟนฟู รวมถึง
การควบคุมตัวมาใชกับบุคคลที่ตกเปนผูตองสงสัยวากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติดดวย ซึ่งกรณี
ดังกลาวเทียบเคียงไดกับการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ตามประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ
ฉบับที่ 108/2557 ที่กําหนดใหผูที่ตองสงสัยวาไดกระทําผิดกฎหมายยาเสพติด สามารถสมัครใจ
ยินยอมเขารับการบําบัดฟนฟูไดโดยไมเปนความผิด
2) สหราชอาณาจักร มีพระราชบัญญัติวาดวยการใชยาในทาง ที่ผิดป ค.ศ. 19718 ซึ่งมี
เนื้อหาใกลเคียงพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และพระราชกําหนดปองกันการใชสาร
ระเหย พ.ศ. 2533 ของประเทศไทย ทั้งนี้ภายใตกฎหมายดังกลาว รัฐบาลสหราชอาณาจักร
โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มีอํานาจในการตราขอกําหนดใหมีการอนุญาตครอบครอง
ยาเสพติดบางประเภท เพื่อใชในการรักษาโรค9 นอกจากนี้ยังมีอํานาจในการตราขอกําหนดใหสิทธิ
ประโยชนแกผูติดยาเสพติด เพื่อสงเสริมใหเขารับการบําบัดรักษา ยาเสพติดอีกดวย เชน การรับการ
บําบัดรักษาฟรีสําหรับผูที่สมัครใจขอเขารับการบําบัดในโรงพยาบาล การชวยเหลือเงินทุน เงินคา
ครองชีพสําหรับผูติดยาเสพติดที่ยากไร การจัดหางานใหทําในภาคเอกชนที่มีความรวมมือกับภาครัฐ
เปนตน10 โดยมาตรฐานและรูปแบบการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจของ
สหราชอาณาจักรนั้น กระทรวงสาธารณสุข เปนผูกําหนดมาตรฐานและรูปแบบการบําบัดรักษา
ซึ่งมีเนื้อหาสอดคลองและคลายคลึงกับรูปแบบการบําบัดผูติดยาเสพติดขององคการสหประชาชาติ
และของสถาบันวิจัยดานยาเสพติดแหงชาติสหรัฐอเมริกา
3) ประเทศนิวซีแลนด มีรัฐบัญญัติวาดวยการบําบัดผูติดแอลกอฮอลและยาเสพติด ค.ศ.
196611 ที่กําหนดใหมีการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ซึ่งมีลักษณะใกลเคียงกับการบําบัดรักษาใน
ระบบสมัครใจของประเทศไทย กลาวคือผูเสพ ผูติดยาเสพติด หรือผูใชยาที่มีความประสงคจะเขารับ
การบําบัดรักษา สามารถสมัครขอเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลของรัฐหรือเอกชนไดตาม
ความตองการ แตอยางไรก็ตามแมผูเสพ ผูติดยาเสพติดมีความตองการจะเขารับการบําบัดรักษา แตก็
ตองไดรับการอนุญาตจากศาลทองถิ่นกอน ถึงจะเขารับการบําบัดรักษาได ทั้งนี้เพราะการบําบัดรักษา
อาจกระทบกระเทือนถึงสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ดังนั้นประเทศนิวซีแลนดจึงกําหนดใหศาล เปน
องคกรที่ยินยอมใหมีการจํากัดสิทธิ หรือการกระทบสิทธิอันอาจเกิดจากการบําบัดรักษา จึงเปนที่มา
7
The Nacrotic Addict Rehabilitation Act 1966.
8
Misuse of Drugs Act 1971. (Uk.)
9
Misuse of Drugs Act 1971. (Uk.). Section 7.
10
ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ. 2556. รายงานฉบับสมบูรณโครงการศึกษากฎหมายยาเสพติดในตางประเทศ: ศึกษา
เฉพาะกรณีประเทศญี่ปุน ฝรั่งเศส สวิตเซอรแลนด เยอรมัน โปรตุเกส อังกฤษและสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ:
สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. หนา 193-194.
11
Alcoholism and Drug Addiction Act 1966. (Nz.)
10
ของอนุญาตใหเขารับการบําบัดรักษาโดยศาล ซึ่งรวมถึงการบําบัดรักษาในผูมีอาการติดแอลกอฮอล
ดวย
4) ประเทศสวิสเซอรแลนด มีรัฐบัญญัติวาดวยยาเสพติดและสารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท
ค.ศ. 195112 ซึ่งสามารถเทียบเคียงไดกับพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และ
พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. 2518 ของประเทศไทย ทั้งนี้ภายใตรัฐบัญญัติ
ดังกลาว รัฐบาลของประเทศสวิตเซอรแลนดไดกําหนดนโยบายและมาตรการในการลดการบังคับใช
กฎหมายและการลงโทษทางอาญาตอผูเสพยาเสพติดลง แตพุงเปาไปที่การดําเนินการปราบปราม
ผูลักลอบคายาเสพติดใหมากขึ้น แลวหันมาเพิ่มการใหความชวยเหลือทางการแพทยในการดูแล
สุขภาพและดูแลสังคมของผูเสพยามากขึ้น การสงเสริมอาชีพในระหวางเขารับการบําบัด การให
ความสําคัญกับผูเสพผูติดยาเสพติดที่ติดเชื้อเอชไอวี โดยแยกการบําบัดรักษาไวเปนการเฉพาะ รวมถึง
ลดภาวะอันตรายจากการใชยา โดยอนุญาตใหครอบครองยาเสพติดบางประเภทเพื่อการรักษาโรค
รวมถึงการใหสารสังเคราะหทดแทนยาเสพติด เพื่อลดอาการอยากยา และปองกันการเสียชีวิตของ
ผูใชยาเนื่องจากอาการขาดยา
5) สาธารณรัฐฝรั่งเศส มีกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติดยาเสพติดที่สําคัญคือ ประมวล
กฎหมายการสาธารณสุข ค.ศ. 197013 ซึ่งตราขึ้นเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ.1970 โดยมี วัตถุประสงค
เพื่อปราบปรามการคายาเสพติดอยางรุนแรง การหามใชยาเสพติด นอกจากนี้รัฐบัญญัติดังกลาวยังเสนอ
ทางเลือกในการบําบัดรักษาจากการใชยาเสพติดที่หลากหลาย โดยกําหนดใหมีศูนยบําบัดยาเสพติดของ
รัฐกลางและรัฐบาลทองถิ่น ผูเสพ ผูติดยาเสพติดสามารถเขารับการรักษาโดยไมเสียคาใชจาย และ
ไดรับการปกปดขอมูลการรักษาเปนอยางดี ทั้งนี้รัฐบัญญัติดังกลาวของฝรั่งเศสสามารถเทียบเคียงได
กับพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติมาตรการปราบปรามผูกระทํา
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534
นอกจากนี้ในสวนของกฎหมายไทย ผูเขียนไดทําการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของกับการ
บําบัดผูเสพ ผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ซึ่งจากการศึกษาพบกฎหมายที่สําคัญ 2 ฉบับ ดังนี้
1) พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษา
ผูเสพ ผูติดยาเสพติดในรูปแบบสมัครใจ ซึ่งกําหนดไวเปนการเฉพาะในมาตรา 9414 โดยมีสาระสําคัญ
12
Federal Narcotics and Psychotropic Substances Act 1951. (Ch.)
13
The Public Health Code 1970. (Fr.)
14
พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 94 บัญญัติวา
“ผูใดเสพยาเสพติดใหโทษ เสพและมีไวในครอบครอง เสพและมีไวในครอบครองเพื่อจําหนาย หรือเสพและ
จําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่กําหนดในกฎกระทรวง และไดสมัครใจขอเขา
รับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลกอนความผิดจะปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานฝายปกครองหรือ
ตํารวจ อีกทั้งไดปฏิบัติครบถวนตามระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษา และระเบียบวินัยสําหรับ
สถานพยาบาลดังกลาว จนไดรับการรับรองเปนหนังสือจากพนักงานเจาหนาที่ที่รัฐมนตรีกําหนดแลว ใหพนจาก
ความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว แตทั้งนี้ไมรวมถึงกรณีความผิดที่ไดกระทําไปภายหลังการสมัครใจเขารับการ
บําบัดรักษา
การรับเขาบําบัดรักษาในสถานพยาบาลตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการ
ประกาศกําหนด”
11
คือ กําหนดใหผูเสพยาเสพติดใหโทษ เสพและมีไวในครอบครอง เสพและมีไวในครอบครองเพื่อ
จําหนาย หรือเสพและจําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษตามลักษณะ ชนิด ประเภทและปริมาณที่กําหนด
ในกฎกระทรวง ซึ่งหากบุคคลดังกลาวไดสมัครใจขอเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาล
กอนความผิดจะปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ อีกทั้งไดปฏิบัติ
ครบถวนตามระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษา และระเบียบวินัยสําหรับสถานพยาบาล
ดังกลาว จนไดรับการรับรองเปนหนังสือจากพนักงานเจาหนาที่ ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวง
สาธารณสุขกําหนดแลวนั้น ใหบุคคลนั้นพนจากความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว แตทั้งนี้ไมรวมถึง
กรณีความผิดที่ไดกระทําไปภายหลังการสมัครใจเขารับการบําบัดรักษา
2) ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตอง
สงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับ ยาเสพติดเพื่อเขาสูการบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการ
บําบัดฟนฟู ซึ่งถือเปนกฎหมายที่ออกมาเพื่อใหโอกาสผูกระทําผิดในฐานความผิดเสพยาเสพติดใหโทษ
หรือเสพและครอบครองยาเสพติดใหโทษ ไดมีโอกาสเขารับการบําบัดรักษาฟนฟูสมรรถภาพ โดย
กฎหมายไมดําเนินการเอาผิดทางอาญา ทั้งนี้เพื่อใหการดําเนินการบําบัดฟนฟูผูเสพยาเสพติดเปนไป
โดยเหมาะสม โดยกําหนดใหผูตองสงสัยวากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติดหรือเสพและมียาเสพติด
ไวในครอบครอง ตามลักษณะ ชนิดประเภท และปริมาณที่กําหนดตามบัญชีทายประกาศนี้ ซึ่งไมมี
พฤติกรรมที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกผูอื่นหรือสังคม ไดรับการบําบัดฟนฟูโดยการยินยอม และไดรับ
การดูแลอยางตอเนื่องภายหลังผานการบําบัดฟนฟู รวมทั้งกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่
เกี่ยวของในการดําเนินการดังกลาวเพื่อใหการบําบัดฟนฟูเปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ
และมีประสิทธิผลสูงสุด15
3.3 ปญหาการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติด ยาเสพติดในระบบสมัครใจ
และแนวทางแกไขปญหา
จากการศึกษา พบวา การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดระบบสมัครใจในประเทศไทย
ยังมีปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหมีการบําบัดรักษาในระบบ
สมัครใจ ปญหาการควบคุมการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจที่ดําเนินการโดย
15
ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตาม
กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสูการบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู ขอ 1 บัญญัติวา
“ในกรณีที่ผูใดตองสงสัยวากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติด หรือเสพและมียาเสพติดไวในครอบครองตาม
ลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่กําหนดตามบัญชีทายประกาศ ถาไมปรากฏวาผูนั้นเปนผูตองหาหรืออยูใน
ระหวางถูกดําเนินคดีในความผิดฐานอื่น ซึ่งเปนความผิดที่มีโทษจําคุกหรืออยูในระหวางรับโทษจําคุกตาม คํา
พิพากษาของศาล และไมมีพฤติกรรมที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกผูอื่นหรือสังคม หากผูนั้นยินยอมเขารับการบําบัด
ฟนฟู ใหเจาหนาที่ดําเนินการนําตัวผูนั้นเขารับการบําบัดฟนฟู
ในกรณีที่ผูเขารับการบําบัดฟนฟูปฏิบัติครบถวนตามหลักเกณฑที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและ
ปราบปรามยาเสพติดกําหนดเกี่ยวกับการบําบัดฟนฟู และไดรับการประเมินเปนผูผานการบําบัดฟนฟู ใหเจาหนาที่
ผูรับผิดชอบ ออกหนังสือรับรองเพื่อเปนหลักฐาน
การนําตัวผูตองสงสัยเขารับการบําบัดฟนฟู การบําบัดฟนฟู และการประเมินเปนผูผานการบําบัดฟนฟู ให
เปนไปตามหลักเกณฑที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติดประกาศกําหนด”
12
ภาคเอกชนและปญหาการติดตามดูแลชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ซึ่งผูเขียน
จะกลาวถึงปญหา ดังตอไปนี้
1) ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหผูเสพ ผูติด
ยาเสพติดเขาสูกระบวนการบําบัดในระบบสมัครใจ
นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ในระบบสมัครใจ ถือเปน
มาตรการอยางหนึ่งในการบําบัดรักษายาเสพติดในประเทศไทย เปนการเปดโอกาสใหผูเสพ ผูติด
ยาเสพติดที่ตองการจะเลิกเสพยาเสพติด สามารถขอเขารับการบําบัดรักษา ในสถานพยาบาลตางๆ
ทั้งของรัฐและเอกชน ภายใตระเบียบและขั้นตอนตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งมีรูปแบบการบําบัดทั้ง
แบบผูปวยในและผูปวยนอก โดยกระบวนการเริ่มตั้งแต ผูปวยเขามาขอรับการบําบัดรักษาไปจนถึง
การติดตามประเมินผลในระยะเวลา 1 ป จึงจะถือวาเสร็จสิ้นการบําบัดรักษา ดังนั้น กระบวนการ
บําบัดรักษาจึงตองผสมผสานรูปแบบตางๆ โดยเริ่มตั้งแตการวินิจฉัยอาการ การใหความชวยเหลือ
การบําบัดรักษา ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และอารมณ วัตถุประสงคของการบําบัดรักษาคือ เพื่อให
ผูปวยงดหรือหยุดเสพยาและลดอาการเจ็บปวย หรือตายที่มีผลมาจากการใชยาเสพติด และสามารถ
กลับไปดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข การนําระบบการบําบัดยาเสพติดรูปแบบสมัครใจมาใชใน
การลดจํานวนผูเสพผูติดยาเสพติด และปองกันกลุมผูเสพผูติดยาเสพติดรายใหมไมใหเกิดขึ้นในสังคม
เปนแนวทางหลักที่หลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยนํามาใชเปนแนวทางในการปองกัน
และแกไขปญหายาเสพติดในปจจุบัน โดยมีพื้นฐานแนวคิดที่วาหากไมมีความตองการเสพยาของผูติด
ยาเสพติดซึ่งถือเปนผูบริโภค ก็จะไมมีความตองการยาหรือสารเสพติดซึ่งเปรียบเสมือนสินคา
นอกจากนี้การบําบัดรักษายาเสพติดในระบบสมัครใจตองอาศัยความยินยอมพรอมใจและความตั้งใจ
จริงของผูเสพผูติดเปนสําคัญ จึงมีความเปนไปไดสูงที่ผูเสพผูติดยาเสพติดจะสามารถลดและเลิกใช
ยาเสพติดไดดวยตัวเองโดยไมมีการบังคับ อันจะสงผลใหครอบครัว ชุมชน สังคมปลอดจากจากปญหา
ยาเสพติด ดังนั้นการบําบัดรักษาผูมีอาการเสพติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ จึงมีความสําคัญตอ
การลดปญหายาเสพติดของประเทศ
จากการศึกษา พบวา พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ไมมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
มาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนให ผูเสพ ผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษาในรูปแบบสมัคร
ใจ สงผลใหรัฐบาลไมสามารถกําหนดนโยบายที่ชัดเจนในการดําเนินการแกไขปญหาผูเสพผูติดยาเสพ
ติด อีกทั้งการกําหนดมาตรการจูงใจ สงเสริมการบําบัดที่ผานมา เปนเพียงกรอบนโยบายที่กําหนดให
หนวยงานราชการดําเนินการใหเปนไปในทิศทางเดียวกันเทานั้น ไมปรากฏรายละเอียดมาตรการที่จะ
ใหสิทธิประโยชนอื่นใดแกผูเสพ ผูติดที่สมัครเขารับการบําบัด อันจะทําใหมีการสมัครใจเขารับ
การบําบัดมากขึ้น นอกจากนี้ เมื่อกฎหมายไมมีการกําหนดมาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนใหผู
เสพผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดเปนการเฉพาะ รอแตเพียงนโยบายของรัฐบาลแตละสมัย สงผลทํา
ใหไมมีผูเสพผูติดยาเสพติดมาสมัครเขารับการบําบัดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522
ทําใหการบังคับใชกฎหมายไมเปนไปตามวัตถุประสงคและเจตนารมณของกฎหมาย ซึ่งมุงหมายที่จะ
ใหผูเขารับการบําบัดสามารถลด ละ เลิกการใชยาเสพติด และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเขารับการ
บําบัดรักษาไปพรอมกัน โดยมุงหมายที่จะใหผูเสพผูติดยาเสพติดเกิดความสํานึกผิดในตัว วาการเขาไป
เกี่ยวของกับยาเสพติดนั้นเปนสิ่งที่ผิดกฎหมายและสังคมไมใหการยอมรับ แตกฎหมายก็เปดชองใหเขา
13
รับการบําบัดโดยสมัครใจและไมประสงคดําเนินคดีเอาผิดทางอาญากับผูเสพเหลานั้น กลาวอีกนัยหนึ่ง
คือ เปนการใชกฎหมายที่มีจุดประสงคเพื่อการแกไขฟนฟูผูกระทําผิดมากกวาจะลงโทษผูกระทําผิด16
แตจากผลการดําเนินงานของรัฐบาลที่ผานมาในป 2558 นั้นพบวา มีจํานวนผูสมัครเขารับการ
บําบัดรักษาในระบบสมัครใจ เพียง 42,042 ราย จากจํานวนประมาณการผูเสพยาเสพติดที่มากถึง
220,000 ราย17 การที่ไมสามารถบังคับใชกฎหมายดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพยังสงผลใหจํานวนผู
ขอเขารับการบําบัดในแตละปมีจํานวนนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนผูเขารับการบําบัดใน
ระบบบังคับบําบัดและระบบตองโทษ และเนื่องจาก เปนระบบสมัครใจ จึงไมมีมาตรการในการบังคับ
ใหผูเขารับการรับการบําบัดนั้นตองอยูครบกระบวนการ และโดยสวนมาก ผูเขารับการบําบัดรักษามัก
ไมปฏิบัติตามรูปแบบและระยะที่กําหนด ทําใหการการบําบัดฟนฟูไมประสบผลสําเร็จ และขาด
ประสิทธิภาพในการลดจํานวนผูเสพ ผูติดยาเสพติดอยางเห็นไดชัด
จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา การที่พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ไมมี
บทบัญญัติที่กําหนดใหฝายบริหารหรือรัฐบาลสามารถกําหนดมาตรการตางๆเพื่อจูงใจ สงเสริมหรือ
สนับสนุนใหมีการสมัครใจเขารับการบําบัดที่มากขึ้น สงผลตอการบังคับใชกฎหมายของมาตรา 94
ตามพระราชบัญญัติดังกลาวไมสัมฤทธิ์ผล ตามเจตนารมณของกฎหมาย ที่มุงหมายจะลดจํานวนผูเสพ
ผูติดยาเสพติดลง โดยไมใชกระบวนการบังคับ หรือการดําเนินคดีตามกฎหมาย และในอดีตที่ผานมา
รัฐบาลบางรัฐบาลก็กําหนดแตเพียงนโยบายใหผูเสพยาเสพติดเปนผูปวย ที่ตองไดรับการรักษา ซึ่งการ
ออกมาตรการเพียงแคนั้น ไมสามารถทําใหผูเสพมีความพรอมหรือมีความตองการที่จะเขารับการ
บําบัดมากขึ้น สังคมเต็มไปดวยผูติดยาและปญหายาเสพติด ที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
การที่รัฐบาลในฐานะฝายบริหารไมสามารถกําหนดนโยบายและมาตรการดังกลาวได เนื่องจากไมมี
บทบัญญัติของกฎหมายรองรับ จึงเปนการไมสอดคลองกับทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนวาดวยภารกิจ
ของรัฐ สงผลใหเกิดปญหาทางกฎหมาย เกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหผูติดยาเสพ
ติดเขาสูการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ
ดังนั้น จะเห็นไดวา การที่ประเทศไทยไมมีบทบัญญัติของกฎหมายที่กําหนดใหรัฐบาล
สามารถกําหนดนโยบายหรือมาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนใหผูเสพ ผูติดยาเสพติดเขารับการ
บําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ที่มีวัตถุประสงคในการเพิ่มจํานวนและเพิ่มความพรอมในการตัดสินใจ
เขารับการบําบัดรักษา และอยูจนครบกําหนดการบําบัดรักษา ไดสงผลเสียตอประชาชน ในรัฐที่เปน
ผูเสพผูติดยาเสพติด ที่ไมไดรับการบําบัดรักษายาเสพติดใหหายขาดจากอาการติด ยาเสพติด ทําใหคน
เหลานี้กลายเปนอาชญากร ถูกกีดกันออกจากสังคม ยิ่งมีผูเสพผูติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นปญหา
อาชญากรรมก็มีอัตราเพิ่มขึ้นตามมา สงผลเสียตอประชาชนโดยทั่วไปที่มีความเสี่ยงภัยในการใชชีวิต
ในสังคม โดยตองเผชิญอาชญากรรมจากการกระทําของผูเสพ ผูติดยาเสพติด สงผลกระทบตอ
16
ประวิทย ศรีมาฤทธิ์ และ ตะวัน พิมพทอง. 2554. “กฎหมายกํากับกาย คุณธรรมกํากับใจ สังคมไทยเปนสุข”.
วารสารกฎหมายคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 4(7). หนา 63
17
สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2558. อัตราคงอยูในการบําบัดรักษาทั่วประเทศ ระบบรายงาน ระบบติดตาม
และเฝาระวังปญหายาเสพติด ประจําปงบประมาณ 2558. กรุงเทพฯ : สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. หนา 1
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ

More Related Content

Similar to ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ

สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...Utai Sukviwatsirikul
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)larnpho
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
05 health consumer protection
05 health consumer protection05 health consumer protection
05 health consumer protectionFreelance
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1Utai Sukviwatsirikul
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดsarawut chaicharoen
 

Similar to ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ (20)

White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Work
WorkWork
Work
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
05 health consumer protection
05 health consumer protection05 health consumer protection
05 health consumer protection
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 

ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ

  • 1. ปญหาการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ Problems on Legal Enforcement regarding Treatment of Drug Addicts in Voluntary System วาที่ ร.ต.ศรัณยู โสสิงห1 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา 99 หมู 6 ตําบลโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000 E-mail: tosoing@gmail.com บทคัดยอ บทความนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนมา แนวคิดพื้นฐาน หลักการ และทฤษฎีทาง กฎหมายมหาชนที่เกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ อีกทั้งเพื่อศึกษากฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดระบบสมัครใจในตางประเทศและประเทศไทย ตลอดจน เพื่อศึกษาปญหาการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติดยาเสพติดระบบสมัครใจ และเสนอแนะ ใหมีการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบสมัคร ใจ ในพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสูการ บําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู เพื่อใหสามารถแกไขปญหาระบบการบําบัดผูติดยาเสพ ติดรูปแบบสมัครใจไดอยางมีประสิทธิภาพ และยั่งยืนสืบไป จากการศึกษาพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และประกาศคณะรักษาความ สงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยา เสพติดเพื่อเขาสูการบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู พบปญหาการบังคับใชกฎหมาย เกี่ยวกับการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ซึ่งจากปญหาดังกลาวสงผลเสียตอการแกไขผูเสพ ผูติดยาเสพติด ทําใหผูเสพ ผูติดยาเสพติดไมไดรับการชวยเหลือ ดูแลและติดตามใหสามารถกลับไปใช ชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุข ทําใหผูติดยาเสพติดเหลานี้หวนกลับมาสรางปญหาและสรางความ เดือดรอนใหแกสังคมซ้ําแลวซ้ําอีก สงผลใหปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดทวีความรุนแรงเพิ่ม มากขึ้น และนําไปสูการทําลายชุมชน สังคม ประเทศชาติในที่สุด ดังนั้น จะเห็นไดวาประเทศไทยจะตองแกไขบทบัญญัติของพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 94 โดยเพิ่มอํานาจใหรัฐมนตรีในการออกมาตรการสงเสริม จูงใจใหผูติดยาเสพติด เขารับการบําบัดรักษา และเพิ่มเติมบทบัญญัติ มาตรา 94/2 โดยเพิ่มเติมใหคณะกรรมการควบคุม ยาเสพติดใหโทษมีอํานาจในการกําหนดมาตรฐาน รูปแบบ วิธีการและอัตราการคาบริการสําหรับ การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดที่ดําเนินการโดยภาคเอกชน รวมถึงแกไขเพิ่มเติมประกาศคณะรักษา 1 นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม, mini-MPM, อดีตเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน สํานักงานปองกันและปราบปรามยา เสพติดภาค 1 สํานักงาน ป.ป.ส., อาจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
  • 2. 2 ความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 ขอ 3 โดยเพิ่มเติมใหมีการจัดตั้งศูนยเพื่อประสานการดูแล ผูผานการบําบัดรักษาขึ้นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกประเภท โดยนําหลักการ ทฤษฎี ทางกฎหมายมหาชน และแนวความคิดในตางประเทศมาปรับใชในการวิเคราะหและเสนอแนะแนว ทางแกไขปญหา เพื่อใหประเทศไทยสามารถแกไขปญหายาเสพติดไดอยางยั่งยืน สืบไป คําสําคัญ : ยาเสพติด, การบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ, คณะรักษาความสงบแหงชาติ Abstract The objectives of the thesis were: to study a background, basic concept, principles and theories of public law regarding the treatment for addicts in voluntary system; to study the law regarding the treatment for addicts in voluntary system in overseas and in Thailand; to study problems on law enforcement of the treatment for addicts in voluntary system; to give recommendations to amend the provisions of the law regarding the treatment procedure for addicts in voluntary system under the Narcotic Drugs Act, B.E. 2522 and the Announcement of the National Council for Peace and Order No. 108/2557 Subject: Treatment for an accused committing an offence under the law on drugs in order to be treated and recovered and taking care of those who has been treated and recovered, in order to solve the problems arising from the law enforcement of the treatment for addicts in voluntary system proficiently. On the basis of the results of this research, it can be concluded that the Narcotic Drugs Act, B.E. 2522 and the Announcement of the National Council for Peace and Order No. 108/2557 Subject: Treatment for an accused committing an offence under the law on drugs in order to be treated and recovered and taking care of those who has been treated and recovered have been found legal problems as follows: Firstly, a legal problem on determination of the government’s policies in order to encourage the addicts entering into the treatment procedure in voluntary system. Secondly, a problem on determination of legal measures for controlling the treatment for addicts in voluntary system by private sectors and, last but not least, a legal problem on determination of the local administrative organization’ s duties on tracking and assisting those who has been passed the treatment in voluntary system as aforementioned. Therefore, it found that the said legal problems have affected to remedy the addicts and such the addicts have not been helped, taken care of and followed up to be back to live in the society peacefully. Those addicts may be back to cause problems and disturbances to the society again and again. Theses shall affect to a problem of epidemic of drugs which is seriously more increasing and leading to a destruction of a community, a society and, finally, a nation.
  • 3. 3 Therefore, the author would recommend that the principles and concepts of overseas such as: Federal Republic of Germany, French Republic, Swiss Confederation, Republic of Portugal, Japan, USA, UK, and New Zealand shall be applied in Thailand. The provisions of the Narcotic Drugs Act, B.E. 2522 should be amended: Section 9 4 shall be increased the authority to the Minister to issue a measure for promoting and inducing the addicts to entering into the treatment; and Section shall be added that the Commission on Narcotic Drugs to have the power to determine a standard, form, method and rate of service fees for the treatment for addicts conducted by a private sector as well as Clause 3 of the Announcement of the National Council for Peace and Order No. 108/2557 shall be added that it should have an establishment of a coordinating center where taking care of those who have been passed the treatment in all kind of local administrative organizations. These shall help solving the problems in Thailand sustainable and continuously. Keyword : Narcotics, Drug Addition, National Council for Peace and Order 1. บทนํา นับตั้งแตประเทศไทยมีการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ซึ่งถือเปนการดําเนินการที่เกี่ยวของ กับการดําเนินงานหลายรูปแบบ เพื่อลดความตองการใชยาของบุคคล ทั้งดานรางกายและจิตใจ ทั้งนี้วัตถุประสงคของการบําบัดคือ เพื่อใหผูเสพติดงดหรือหยุดเสพยา รวมถึงลดอาการเจ็บปวยหรือ ตายที่มีผลมาจากการใชยาเสพติด นอกจากนี้ การบําบัดรักษายาเสพติด ยังมีหมายความรวมถึงการ สงเสริมการดําเนินชีวิตที่ปราศจากยาเสพติด หรือสงเสริมการตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติด ภายหลังผานการบําบัดรักษาไปแลวดวย เพื่อใหผูผานการบําบัดรักษาสามารถกลับไปดํารงชีวิตอยูใน สังคมไดอยางปกติสุข ทั้งนี้ ในประเทศไทยมีระบบการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดอยู 3 ระบบ2 ไดแก ระบบสมัครใจ (Voluntary System) ซึ่งเปนการเปดโอกาสใหผูติดยาเสพติดที่ตองการจะเลิกเสพยา เสพติด สามารถสมัครขอรับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งมีทั้งแบบ ผูปวยในและผูปวยนอก ระบบที่สองคือ ระบบบังคับ (Compulsory System) ซึ่งเปนระบบ ที่ เกิดขึ้น ภายใตพระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ซึ่งบังคับใหผูกระทํา ความผิดในขอหาเสพ ครอบครอง หรือครอบครองเพื่อจําหนายยาเสพติดที่มีปริมาณเล็กนอยเขารับ การบําบัดรักษาตามที่กฎหมายกําหนด และระบบที่สามคือ ระบบตองโทษ(Correctional System) ซึ่งเปนการใหการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ที่ไดกระทําความผิดในคดียาเสพติดและถูกคุมขังอยูใน เรือนจําหรือทัณฑสถานซึ่งตองไดรับการรักษาพยาบาลภายใตขอบเขตขอบังคับของกฎหมาย 2 มานพ คณะโต. 2557. การศึกษาประสิทธิผลการบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูเสพยาเสพติดในรูปแบบ คายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม. กรุงเทพฯ: เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูลสารเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแกน. หนา 4.
  • 4. 4 จากที่กลาวมาขางตน ผูเขียนจะขอกลาวถึงสภาพปญหาทางกฎหมายที่เกิดจากการบังคับใช พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสู การบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู ที่สงผลกระทบตอกระบวนการบําบัดรักษาผูติด ยาเสพติดในระบบสมัครใจของประเทศไทย ดังตอไปนี้ 1.1 ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหผูเสพ ผูติด ยาเสพติดเขาสูกระบวนการบําบัดในระบบสมัครใจ การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ถือเปนมาตรการสําคัญในการลดจํานวน ผูเสพ ผูติดยาเสพติด และปองกันกลุมผูเสพ ผูติดยาเสพติดรายใหมไมใหเกิดขึ้นในสังคม โดยมีพื้นฐาน แนวคิดที่วา หากสามารถลดจํานวนผูเสพ ผูติด ซึ่งเปรียบเสมือนเปนผูบริโภคลงได ก็จะสามารถลด ปริมาณยาเสพติดซึ่งเปรียบเสมือนสินคาไดตามไปดวย อยางไรก็ตาม จากการศึกษาพบวาพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ซึ่งเปน กฎหมายหลักในการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ไมมีการกําหนดมาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนใหผูเสพ ผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดในระบบสมัครใจ ทําใหฝายบริหารหรือ รัฐบาลไมมีอํานาจในการกําหนดนโยบาย และกําหนดมาตรการใดๆ ที่จะทําใหมีการเขารับการ บําบัดรักษาในระบบสมัครใจใหมากขึ้น สงผลใหจํานวนผูติดยาเสพติดที่สมัครใจเขารับการ บําบัดรักษา ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มีเปนจํานวนนอย สงผลใหการบังคับใช กฎหมายไมเปนไปตามวัตถุประสงคและเจตนารมณของกฎหมาย ซึ่งมุงหมายที่จะทําใหผูเขารับการ บําบัดสามารถลด ละ เลิก การใชยาเสพติด และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเขารับการบําบัดรักษาใหดี ยิ่งขึ้น และไมหวนกลับมายุงเกี่ยวกับยาเสพติดอีก 1.2 ปญหาการกําหนดมาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบ สมัครใจที่ดําเนินการโดยภาคเอกชน การบําบัดรักษายาเสพติดในรูปแบบสมัครใจ เปนรูปแบบที่มุงหมายจะใหโอกาสแกผูเสพ ผูติดยาเสพติด ที่มีความตองการที่จะลด ละ เลิก ยาเสพติด สามารถสมัครขอเขารับการบําบัดใน สถานพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนได หรือในคายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสวนราชการที่เกี่ยวของ กับการแกไขปญหายาเสพติด อาทิ คายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกระทรวงมหาดไทย หรือคาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกองกระทรวงกลาโหม เปนตน อยางไรก็ตาม จากการศึกษาพบวาพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ยังไมได มีการกําหนดบทบัญญัติในเรื่องของการควบคุมการดําเนินงานบําบัดรักษาและฟนฟูสมรรถภาพผูติด ยาเสพติดในระบบสมัครใจโดยภาคเอกชน ที่มิใชการดําเนินงานในโรงพยาบาล สถานพยาบาล หรือคลินิกเอกชน ซึ่งการควบคุมการดําเนินการบําบัดรักษาและฟนฟูผูติดยาเสพติด ถือเปนเรื่อง สําคัญอยางยิ่งตอการคุมครองสุขภาพอนามัย ชีวิตและรางกายของผูที่เขารับการบําบัดรักษา ตลอดจนมีสวนสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบ สมัครใจ ซึ่งจําเปนตองดําเนินการใหสอดคลองกับหลักการวาดวยการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดของ องคการสหประชาชาติ ซึ่งประเทศไทยเปนสมาชิกและมีพันธกรณีที่ตองปฏิบัติตาม
  • 5. 5 1.3 ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดอํานาจหนาที่ใหแกองคกรปกครองสวน ทองถิ่นเพื่อติดตามและชวยเหลือผูผานการบําบัดในระบบสมัครใจ การติดตามชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา มีความสําคัญอยางยิ่งตอกระบวนการ บําบัดรักษายาเสพติดในระบบสมัครใจ การติดตามและชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา เปนอีก กระบวนการที่ไปหนุนเสริมการปองกันการกลับไปเสพและใชยาเสพติดซ้ําของ ผูผานการ บําบัดรักษาไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูผานการบําบัดรักษาสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคมได อยางปกติสุข อันจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีครอบครัวที่สมบูรณ สงผลใหชุมชน สังคมมีความ เขมแข็ง สงบสุขและปราศจากผูเสพ ผูติดยาเสพติดในที่สุด อยางไรก็ตาม จากการศึกษา พบวาประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสูการ บําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู ซึ่งเปนกฎหมายหลักในการดําเนินการติดตาม ดูแล และชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษายาเสพติด ไดกําหนดใหมีการจัดตั้งศูนยเพื่อประสานการดูแล ผูผานการบําบัดฟนฟูในระดับภูมิภาค สงผลใหการบริหารงานและการดําเนินงานของศูนยขาดความ คลองตัว และไมสามารถดําเนินการไดอยางเปนรูปธรรม เนื่องจากไมมีบุคลากร งบประมาณ และนโยบายเปนของตนเอง นอกจากนี้ยังกําหนดใหมีการจัดตั้งศูนยเพื่อประสานการดูแลผูผานการ บําบัดฟนฟูขึ้นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นบางประเภทเทานั้น ไดแก กรุงเทพมหานคร เทศบาล นคร และเทศบาลเมือง สงผลใหประชาชนที่เปนผูเสพ ผูติดยาเสพติด ในเขตบริการของ เทศบาล ตําบล องคการบริหารสวนตําบล และเมืองพัทยา ไมไดรับการชวยเหลือ ดูแล และติดตามภายหลัง การบําบัดฟนฟู สงผลใหเกิดความไมเสมอภาคระหวางประชาชนผูผานการบําบัดรักษาในแตละ ทองถิ่น 2. วิธีดําเนินการศึกษา การศึกษานี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชวิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary research) โดยทําการศึกษา คนควา รวบรวมและวิเคราะหขอมูลตาง ๆ จากบทบัญญัติของ สนธิสัญญา ขอตกลง และกรอบความรวมมือระหวางประเทศ รวมถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมาย คําแถลงนโยบาย บทความทางวิชาการ หนังสือ งานวิจัย วิทยานิพนธ เอกสารประกอบการ อบรมและเอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ และการคนควาจากอินเทอรเน็ตที่เกี่ยวของทั้งใน และตางประเทศ รวมถึงใชการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ประกอบดวย 3. ผลการศึกษา ในบทความนี้ ผูเขียนจะขอนําเสนอผลการศึกษาออกเปน 3 สวนคือ สวนที่หนึ่ง จะกลาวถึง ทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด สวนที่สอง จะกลาวถึง กฎหมายตางประเทศและกฎหมายไทยที่เกี่ยวของกับการบําบัดผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ และสวนที่สาม จะกลาวถึงปญหาทางกฎหมายที่เกิดจากการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติด ยาเสพติดในระบบสมัครใจของประเทศ ตลอดจนนําเสนอแนวทางแกไขปญหา ดังนี้
  • 6. 6 3.1 ทฤษฎีทางกฎหมายมหาชน ที่เกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบ สมัครใจ 1) หลักการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ การศึกษาถึงทฤษฎีสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนการคุมครองสิทธิเสรีภาพ จะชวยใหเขาใจ แนวคิดวาดวยสิทธิและเสรีภาพของบุคคล รวมถึงการใหความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จากรัฐ ตลอดจนขอบเขตการใชสิทธิและเสรีภาพดังกลาว เพื่อมิใหการใชสิทธิและเสรีภาพไป กระทบกระเทือนประโยชนโดยรวมของสังคมอีกทางหนึ่งดวย ทั้งนี้หากจะกลาวถึงการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนนั้น ประการแรกที่ตองทําความเขาใจคือ ความหมายของคําวา สิทธิและ เสรีภาพ ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ สิทธิ หมายถึง ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองโดยกฎหมาย ดังนั้นถาบุคคลใด เปนผูทรงในสิทธิ บุคคลอื่นๆ ก็มีหนาที่จะตองเคารพตอการใชสิทธิของบุคคลนั้น สวนเสรีภาพนั้น หมายถึง สภาพการณหรือสภาวะของบุคคลที่มีอิสระในการกระทําการ อยางใดอยางหนึ่งหรือไมกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง โดยความประสงคของตนเองและไมอยูภายใต ความครอบงําหรือแทรกแซงบุคคลอื่น ทั้งนี้สามารถแบงประเภทของสิทธิออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ (1) การแบงประเภทของสิทธิโดยพิจารณาจากผูทรงสิทธิ โดยการแบงแยกสิทธิและ เสรีภาพประเภทนี้ พิจารณาจากผูซึ่งไดรับสิทธิตามรัฐธรรมนูญหรือบุคคลซึ่งรัฐธรรมนูญที่จะใหความ คุมครอง และอาจแบงสิทธิและเสรีภาพประเภทนี้ได 2 ประการ ดวยกัน คือ ประการแรกสิทธิ มนุษยชนหรือสิทธิของทุกๆ คน โดยมิไดแบงแยกวาบุคคลนั้นจะเปนคนของชาติใด เชื้อชาติใด หรือศาสนา ใด และประการที่สอง สิทธิพลเมือง สิทธิประเภทนี้ไดแก สิทธิที่รัฐธรรมนูญมุงที่จะใหความคุมครอง เฉพาะบุคคลที่เปนพลเมืองของรัฐเทานั้น เชน สิทธิในทางการเมือง สิทธิในการไดรับการ รักษาพยาบาล หรือเสรีภาพในการประกอบอาชีพ เสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู เปนตน (2) การแบงสิทธิและเสรีภาพโดยพิจารณาจากเงื่อนไขการจํากัดสิทธิ โดยการแบงสิทธิ และเสรีภาพประเภทนี้ จะพิจารณาจากเงื่อนไขการจํากัดสิทธิ แบงเปน 3 รูปแบบ คือ สิทธิและ เสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่วไป สิทธิและเสรีภาพกับเงื่อนไขกฎหมายพิเศษ และสิทธิและ เสรีภาพที่ปราศจากเงื่อนไขของกฎหมาย3 ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้ (2.1) สิทธิและเสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่วไปนั้น รัฐธรรมนูญเพียงแต กําหนดวาการจํากัดสิทธิและเสรีภาพนั้นอาจกระทําไดโดยบทบัญญัติของกฎหมาย แตสิทธิและ เสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่ว ไปไมไดกําหนดเงื่อนไขพิเศษในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพบาง ประการ (2.2) สิทธิและเสรีภาพกับเงื่อนไขกฎหมายพิเศษนั้น รัฐธรรมนูญกําหนดใหการ แทรกแซงสิทธิและเสรีภาพโดยกฎหมายนั้น จะตองผูกพันอยูกับสถานการณใดสถานการณหนึ่งหรือ 3 บรรเจิด สิงคะเนติ. 2555. หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพ: วิญูชน. หนา 52-55.
  • 7. 7 ตองผูกพันกับวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่งเปนพิเศษ หรือตองดําเนินการโดยวิธีการที่รัฐธรรมนูญ บัญญัติเทานั้น (2.3) สิทธิและเสรีภาพที่ปราศจากเงื่อนไขของกฎหมายนั้น เปนกรณีที่รัฐธรรมนูญ ไดกําหนดสิทธิและเสรีภาพนั้นไมอยูภายใตการจํากัดสิทธิโดยกฎหมายใดๆ ทั้งสิ้น สวนการรับรองสิทธิและเสรีภาพนั้น มีการรับรองไวในระดับที่แตกตางกัน ซึ่งพอจะแบง ออกไดเปน 2 ระดับ ดังนี้4 (1) การรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเด็ดขาด หรือการรับรองสิทธิและเสรีภาพแบบ สัมบูรณ คือ ไมยอมใหออกกฎหมายจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเลย (2) การรับรองสิทธิและเสรีภาพโดยมีเงื่อนไข หรือการรับรองสิทธิและเสรีภาพแบบ สัมพัทธ ซึ่งการรับรองประเภทนี้เปนการรับรองโดยมีเงื่อนไขของกฎหมายอยู 2 ลักษณะคือ (2.1) การรับรองสิทธิและเสรีภาพโดยมีเงื่อนไขกฎหมายทั่วไป ในกรณีนี้รัฐธรรมนูญ เพียงแตเรียกรองวาการจํากัดสิทธิและเสรีภาพนั้น อาจจะกระทําไดโดยบทบัญญัติของกฎหมาย สิทธิ และเสรีภาพกับเงื่อนไขของกฎหมายทั่วไปนี้ไมไดเรียกรองเงื่อนไขพิเศษในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ประการอื่น (2.2) การรับรองสิทธิและเสรีภาพโดยมีเงื่อนไขกฎหมายพิเศษ ในกรณีนี้รัฐธรรมนูญ เรียกรองวาการแทรกแซงในสิทธิและเสรีภาพโดยกฎหมายนั้นจะตองผูกพันอยูกับสถานการณใด สถานการณหนึ่งหรือตองผูกพันอยูกับวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่ง หรือจะตองดําเนินการ โดยวิธีการที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญเทานั้น นอกจากนี้ยังมีการคุมครองสิทธิเสรีภาพที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ซึ่งสามารถแบง การคุมครองสิทธิและเสรีภาพออกไดเปน 3 ระดับ ดังนี้ (1) การคุมครองสิทธิและเสรีภาพที่รัฐและองคกรของรัฐไมสามารถละเมิดสิทธิเสรีภาพ เหลานี้ไดเลย เสรีภาพดังกลาวเปนเสรีภาพเด็ดขาด เชน เสรีภาพในรางกาย เสรีภาพในความเชื่อ และศาสนา ดังนั้นถามีกฎหมายที่ตราออกมาแลวกระทบตอเสรีภาพแบบเด็ดขาดดังกลาว ก็ถือวา ขัดตอรัฐธรรมนูญ (2) การคุมครองสิทธิและเสรีภาพจากการละเมิดของฝายบริหาร เพราะฝายบริหารมี อํานาจตามความเปนจริง เชน มีกําลังทหารและกําลังตํารวจอยูในอํานาจ ดังนั้นการจํากัดสิทธิ และเสรีภาพ ตองกระทําโดยกฎหมายที่รัฐสภาตราขึ้นเทานั้น (3) การคุมครองสิทธิและเสรีภาพในกรณีที่มีการละเมิด ตองใหประชาชนสามารถไป ฟองรองตอศาลได5 เชน ถารัฐสภาออกกฎหมายจํากัดเสรีภาพขัดกับรัฐธรรมนูญ ตองมีองคกรชี้ขาด ใหกฎหมายนั้นใชบังคับมิได 4 บรรเจิด สิงคะเนติ. 2543. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ: วิญูชน. หนา 51-52. 5 เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน. 2547. หลักกฎหมายวาดวยสิทธิเสรีภาพ. กรุงเทพฯ: วิญูชน. หนา 195.
  • 8. 8 2) ทฤษฎีภารกิจของรัฐ ในบทความนี้ การศึกษาทฤษฎีวาดวยภารกิจของรัฐเปนการศึกษา เพื่อใหทราบและเขาใจ ถึงบทบาทและหนาที่ของรัฐที่มีตอประชาชนภายในรัฐ ซึ่งจะชวยใหมีการเขาใจลักษณะการกระทํา ของรัฐในดานตางๆ ของรัฐ ซึ่งการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติด ยาเสพติด ตลอดจนการแกไขปญหายาเสพ ติดภายในประเทศ ก็ถือเปนสวนหนึ่งในภารกิจของรัฐ ที่รัฐจะตองดําเนินการ เพื่อใหประชาชน และสังคมมีความสงบสุข และสามารถพัฒนาประเทศไดอยางยั่งยืน ประเภทภารกิจของรัฐ ในที่นี้แยกภารกิจของรัฐสมัยใหมออกเปนภารกิจที่รัฐทุกรัฐ จําเปนตองกระทําเพื่อการดํารงอยูของรัฐ ภารกิจนี้จึงเปนภารกิจที่เนนสาระสําคัญของความเปนรัฐที่ เรียกวา “ภารกิจพื้นฐาน” และภารกิจที่รัฐอาจจะทําก็ไดหรือไมกระทําก็ไดเรียกวา “ภารกิจลําดับ รอง”6 ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้ (1) ภารกิจพื้นฐานของรัฐ หมายถึง ภารกิจที่รัฐดํารงชีวิตอยูไดไมถูกทําลายหรือสูญ สลายไปเรียกวาความมั่นคงของรัฐหรือความปลอดภัยของประเทศ ภารกิจเชนวานี้เปนอํานาจผูกขาด ของรัฐที่ผูปกครองใชโดยมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนสวนรวม อันไดแก การรักษาความสงบเรียบรอย และมีสันติสุขภายในรัฐ การปกปองอธิปไตยและตอตานการรุกรานจากรัฐอื่น การอํานวยความ ยุติธรรมโดยทางศาล ตลอดจนการเจริญสัมพันธไมตรีกับรัฐอื่น ซึ่งการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพ ติด ก็เพื่อลดจํานวนผูเกี่ยวของกับยาเสพติดลงใหมากที่สุด รวมถึงการปองกันกลุมผูเสพ ผูติดยาเสพ ติดรายใหมมิใหเกิดขึ้นในสังคม อันเปนการปองกันการทวีความรุนแรงของปญหายาเสพติดและ อาชญากรรมที่เกี่ยวของกับยาเสพติด ถือเปนการรักษาความสงบเรียบรอยใหแกประชาชนภายในรัฐ (2) ภารกิจลําดับรองของรัฐ หมายถึง ภารกิจที่จะทําใหชีวิตมีความเปนอยูของ ประชาชนดีขึ้นหรือไดมาตรฐานขั้นต่ําในฐานะเปนมนุษย เปนภารกิจดานทํานุบํารุงชีวิตความเปนอยู ของประชาชนใหกินดีอยูดีจึงเปนงานดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของรัฐนั่นเอง โดยรัฐอาจทํา ดวยตนเองหรือไมก็ได รัฐอาจมอบหมายใหปจเจกชนเขามามีสวนรวมในการจัดทํา ถึงแมภารกิจรอง จะมีความสําคัญในทางปฏิบัติก็ตาม แตก็ไมถือวาภารกิจรองของรัฐเปนเงื่อนไขของอํานาจอธิปไตย องคกรอื่นนอกจากรัฐอาจเปนผูจัดทําภารกิจของรัฐเพื่อประโยชนสวนรวมไดเชนกัน ซึ่งการที่รัฐจัดให มีการบําบัดรักษาผูเสพ ผูติดยาเสพติด ตลอดจนการติดตาม ดูแลและชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษา ใหสามารถกลับไปใชชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุขนั้น ก็ถือเปนภารกิจลําดับของรัฐในดานสาธารณสุข และดานสังคม ซึ่งรัฐอาจจะดําเนินการเอง โดยใหสวนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจเปนผูดําเนินการ หรือ อาจมอบอํานาจใหเอกชน เปนผูดําเนินการ ภายใตการควบคุมดูแลจากรัฐก็ได 3.2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในตางประเทศและประเทศ ไทย ในบทความนี้ จะกลาวถึงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการบําบัดผูเสพ ผูติดยาเสพติดใน ตางประเทศที่สําคัญ ซึ่งมีลักษณะเนื้อหาและการดําเนินงานที่สามารถเทียบเคียงไดกับกฎหมาย เกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในประเทศไทย ดังนี้ 6 ชาญชัย แสวงศักดิ์. 2556. กฎหมายมหาชน: ความเปนมา ทฤษฎี และหลักการที่สําคัญ (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิญูชน. หนา 212-213.
  • 9. 9 1) สหรัฐอเมริกา มีรัฐบัญญัติวาดวยการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด ค.ศ. 19667 มีเนื้อหาในสวนของการบังคับใหเขารับการบําบัดรักษาคลายคลึงกับพระราชบัญญัติฟนฟูสมรรถภาพ ผูติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ของประเทศไทย แตมีสวนที่แตกตางกันคือรัฐบัญญัติวาดวยการฟนฟู สมรรถภาพผูติดยาเสพติด ค.ศ. 1966 นั้น ไดบัญญัติใหนํารูปแบบการบําบัดรักษา และฟนฟู รวมถึง การควบคุมตัวมาใชกับบุคคลที่ตกเปนผูตองสงสัยวากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติดดวย ซึ่งกรณี ดังกลาวเทียบเคียงไดกับการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ตามประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 ที่กําหนดใหผูที่ตองสงสัยวาไดกระทําผิดกฎหมายยาเสพติด สามารถสมัครใจ ยินยอมเขารับการบําบัดฟนฟูไดโดยไมเปนความผิด 2) สหราชอาณาจักร มีพระราชบัญญัติวาดวยการใชยาในทาง ที่ผิดป ค.ศ. 19718 ซึ่งมี เนื้อหาใกลเคียงพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และพระราชกําหนดปองกันการใชสาร ระเหย พ.ศ. 2533 ของประเทศไทย ทั้งนี้ภายใตกฎหมายดังกลาว รัฐบาลสหราชอาณาจักร โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มีอํานาจในการตราขอกําหนดใหมีการอนุญาตครอบครอง ยาเสพติดบางประเภท เพื่อใชในการรักษาโรค9 นอกจากนี้ยังมีอํานาจในการตราขอกําหนดใหสิทธิ ประโยชนแกผูติดยาเสพติด เพื่อสงเสริมใหเขารับการบําบัดรักษา ยาเสพติดอีกดวย เชน การรับการ บําบัดรักษาฟรีสําหรับผูที่สมัครใจขอเขารับการบําบัดในโรงพยาบาล การชวยเหลือเงินทุน เงินคา ครองชีพสําหรับผูติดยาเสพติดที่ยากไร การจัดหางานใหทําในภาคเอกชนที่มีความรวมมือกับภาครัฐ เปนตน10 โดยมาตรฐานและรูปแบบการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจของ สหราชอาณาจักรนั้น กระทรวงสาธารณสุข เปนผูกําหนดมาตรฐานและรูปแบบการบําบัดรักษา ซึ่งมีเนื้อหาสอดคลองและคลายคลึงกับรูปแบบการบําบัดผูติดยาเสพติดขององคการสหประชาชาติ และของสถาบันวิจัยดานยาเสพติดแหงชาติสหรัฐอเมริกา 3) ประเทศนิวซีแลนด มีรัฐบัญญัติวาดวยการบําบัดผูติดแอลกอฮอลและยาเสพติด ค.ศ. 196611 ที่กําหนดใหมีการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ซึ่งมีลักษณะใกลเคียงกับการบําบัดรักษาใน ระบบสมัครใจของประเทศไทย กลาวคือผูเสพ ผูติดยาเสพติด หรือผูใชยาที่มีความประสงคจะเขารับ การบําบัดรักษา สามารถสมัครขอเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลของรัฐหรือเอกชนไดตาม ความตองการ แตอยางไรก็ตามแมผูเสพ ผูติดยาเสพติดมีความตองการจะเขารับการบําบัดรักษา แตก็ ตองไดรับการอนุญาตจากศาลทองถิ่นกอน ถึงจะเขารับการบําบัดรักษาได ทั้งนี้เพราะการบําบัดรักษา อาจกระทบกระเทือนถึงสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ดังนั้นประเทศนิวซีแลนดจึงกําหนดใหศาล เปน องคกรที่ยินยอมใหมีการจํากัดสิทธิ หรือการกระทบสิทธิอันอาจเกิดจากการบําบัดรักษา จึงเปนที่มา 7 The Nacrotic Addict Rehabilitation Act 1966. 8 Misuse of Drugs Act 1971. (Uk.) 9 Misuse of Drugs Act 1971. (Uk.). Section 7. 10 ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ. 2556. รายงานฉบับสมบูรณโครงการศึกษากฎหมายยาเสพติดในตางประเทศ: ศึกษา เฉพาะกรณีประเทศญี่ปุน ฝรั่งเศส สวิตเซอรแลนด เยอรมัน โปรตุเกส อังกฤษและสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. หนา 193-194. 11 Alcoholism and Drug Addiction Act 1966. (Nz.)
  • 10. 10 ของอนุญาตใหเขารับการบําบัดรักษาโดยศาล ซึ่งรวมถึงการบําบัดรักษาในผูมีอาการติดแอลกอฮอล ดวย 4) ประเทศสวิสเซอรแลนด มีรัฐบัญญัติวาดวยยาเสพติดและสารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท ค.ศ. 195112 ซึ่งสามารถเทียบเคียงไดกับพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และ พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. 2518 ของประเทศไทย ทั้งนี้ภายใตรัฐบัญญัติ ดังกลาว รัฐบาลของประเทศสวิตเซอรแลนดไดกําหนดนโยบายและมาตรการในการลดการบังคับใช กฎหมายและการลงโทษทางอาญาตอผูเสพยาเสพติดลง แตพุงเปาไปที่การดําเนินการปราบปราม ผูลักลอบคายาเสพติดใหมากขึ้น แลวหันมาเพิ่มการใหความชวยเหลือทางการแพทยในการดูแล สุขภาพและดูแลสังคมของผูเสพยามากขึ้น การสงเสริมอาชีพในระหวางเขารับการบําบัด การให ความสําคัญกับผูเสพผูติดยาเสพติดที่ติดเชื้อเอชไอวี โดยแยกการบําบัดรักษาไวเปนการเฉพาะ รวมถึง ลดภาวะอันตรายจากการใชยา โดยอนุญาตใหครอบครองยาเสพติดบางประเภทเพื่อการรักษาโรค รวมถึงการใหสารสังเคราะหทดแทนยาเสพติด เพื่อลดอาการอยากยา และปองกันการเสียชีวิตของ ผูใชยาเนื่องจากอาการขาดยา 5) สาธารณรัฐฝรั่งเศส มีกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติดยาเสพติดที่สําคัญคือ ประมวล กฎหมายการสาธารณสุข ค.ศ. 197013 ซึ่งตราขึ้นเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ.1970 โดยมี วัตถุประสงค เพื่อปราบปรามการคายาเสพติดอยางรุนแรง การหามใชยาเสพติด นอกจากนี้รัฐบัญญัติดังกลาวยังเสนอ ทางเลือกในการบําบัดรักษาจากการใชยาเสพติดที่หลากหลาย โดยกําหนดใหมีศูนยบําบัดยาเสพติดของ รัฐกลางและรัฐบาลทองถิ่น ผูเสพ ผูติดยาเสพติดสามารถเขารับการรักษาโดยไมเสียคาใชจาย และ ไดรับการปกปดขอมูลการรักษาเปนอยางดี ทั้งนี้รัฐบัญญัติดังกลาวของฝรั่งเศสสามารถเทียบเคียงได กับพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติมาตรการปราบปรามผูกระทํา ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 นอกจากนี้ในสวนของกฎหมายไทย ผูเขียนไดทําการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของกับการ บําบัดผูเสพ ผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ ซึ่งจากการศึกษาพบกฎหมายที่สําคัญ 2 ฉบับ ดังนี้ 1) พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับการบําบัดรักษา ผูเสพ ผูติดยาเสพติดในรูปแบบสมัครใจ ซึ่งกําหนดไวเปนการเฉพาะในมาตรา 9414 โดยมีสาระสําคัญ 12 Federal Narcotics and Psychotropic Substances Act 1951. (Ch.) 13 The Public Health Code 1970. (Fr.) 14 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 94 บัญญัติวา “ผูใดเสพยาเสพติดใหโทษ เสพและมีไวในครอบครอง เสพและมีไวในครอบครองเพื่อจําหนาย หรือเสพและ จําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่กําหนดในกฎกระทรวง และไดสมัครใจขอเขา รับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลกอนความผิดจะปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานฝายปกครองหรือ ตํารวจ อีกทั้งไดปฏิบัติครบถวนตามระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษา และระเบียบวินัยสําหรับ สถานพยาบาลดังกลาว จนไดรับการรับรองเปนหนังสือจากพนักงานเจาหนาที่ที่รัฐมนตรีกําหนดแลว ใหพนจาก ความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว แตทั้งนี้ไมรวมถึงกรณีความผิดที่ไดกระทําไปภายหลังการสมัครใจเขารับการ บําบัดรักษา การรับเขาบําบัดรักษาในสถานพยาบาลตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการ ประกาศกําหนด”
  • 11. 11 คือ กําหนดใหผูเสพยาเสพติดใหโทษ เสพและมีไวในครอบครอง เสพและมีไวในครอบครองเพื่อ จําหนาย หรือเสพและจําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษตามลักษณะ ชนิด ประเภทและปริมาณที่กําหนด ในกฎกระทรวง ซึ่งหากบุคคลดังกลาวไดสมัครใจขอเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาล กอนความผิดจะปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ อีกทั้งไดปฏิบัติ ครบถวนตามระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการบําบัดรักษา และระเบียบวินัยสําหรับสถานพยาบาล ดังกลาว จนไดรับการรับรองเปนหนังสือจากพนักงานเจาหนาที่ ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวง สาธารณสุขกําหนดแลวนั้น ใหบุคคลนั้นพนจากความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว แตทั้งนี้ไมรวมถึง กรณีความผิดที่ไดกระทําไปภายหลังการสมัครใจเขารับการบําบัดรักษา 2) ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตอง สงสัยวากระทําผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับ ยาเสพติดเพื่อเขาสูการบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการ บําบัดฟนฟู ซึ่งถือเปนกฎหมายที่ออกมาเพื่อใหโอกาสผูกระทําผิดในฐานความผิดเสพยาเสพติดใหโทษ หรือเสพและครอบครองยาเสพติดใหโทษ ไดมีโอกาสเขารับการบําบัดรักษาฟนฟูสมรรถภาพ โดย กฎหมายไมดําเนินการเอาผิดทางอาญา ทั้งนี้เพื่อใหการดําเนินการบําบัดฟนฟูผูเสพยาเสพติดเปนไป โดยเหมาะสม โดยกําหนดใหผูตองสงสัยวากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติดหรือเสพและมียาเสพติด ไวในครอบครอง ตามลักษณะ ชนิดประเภท และปริมาณที่กําหนดตามบัญชีทายประกาศนี้ ซึ่งไมมี พฤติกรรมที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกผูอื่นหรือสังคม ไดรับการบําบัดฟนฟูโดยการยินยอม และไดรับ การดูแลอยางตอเนื่องภายหลังผานการบําบัดฟนฟู รวมทั้งกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่ เกี่ยวของในการดําเนินการดังกลาวเพื่อใหการบําบัดฟนฟูเปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด15 3.3 ปญหาการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการบําบัดผูติด ยาเสพติดในระบบสมัครใจ และแนวทางแกไขปญหา จากการศึกษา พบวา การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดระบบสมัครใจในประเทศไทย ยังมีปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหมีการบําบัดรักษาในระบบ สมัครใจ ปญหาการควบคุมการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจที่ดําเนินการโดย 15 ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 108/2557 เรื่อง การปฏิบัติตอผูตองสงสัยวากระทําผิดตาม กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อเขาสูการบําบัดฟนฟูและการดูแลผูผานการบําบัดฟนฟู ขอ 1 บัญญัติวา “ในกรณีที่ผูใดตองสงสัยวากระทําความผิดฐานเสพยาเสพติด หรือเสพและมียาเสพติดไวในครอบครองตาม ลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่กําหนดตามบัญชีทายประกาศ ถาไมปรากฏวาผูนั้นเปนผูตองหาหรืออยูใน ระหวางถูกดําเนินคดีในความผิดฐานอื่น ซึ่งเปนความผิดที่มีโทษจําคุกหรืออยูในระหวางรับโทษจําคุกตาม คํา พิพากษาของศาล และไมมีพฤติกรรมที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกผูอื่นหรือสังคม หากผูนั้นยินยอมเขารับการบําบัด ฟนฟู ใหเจาหนาที่ดําเนินการนําตัวผูนั้นเขารับการบําบัดฟนฟู ในกรณีที่ผูเขารับการบําบัดฟนฟูปฏิบัติครบถวนตามหลักเกณฑที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามยาเสพติดกําหนดเกี่ยวกับการบําบัดฟนฟู และไดรับการประเมินเปนผูผานการบําบัดฟนฟู ใหเจาหนาที่ ผูรับผิดชอบ ออกหนังสือรับรองเพื่อเปนหลักฐาน การนําตัวผูตองสงสัยเขารับการบําบัดฟนฟู การบําบัดฟนฟู และการประเมินเปนผูผานการบําบัดฟนฟู ให เปนไปตามหลักเกณฑที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติดประกาศกําหนด”
  • 12. 12 ภาคเอกชนและปญหาการติดตามดูแลชวยเหลือผูผานการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ซึ่งผูเขียน จะกลาวถึงปญหา ดังตอไปนี้ 1) ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหผูเสพ ผูติด ยาเสพติดเขาสูกระบวนการบําบัดในระบบสมัครใจ นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ในระบบสมัครใจ ถือเปน มาตรการอยางหนึ่งในการบําบัดรักษายาเสพติดในประเทศไทย เปนการเปดโอกาสใหผูเสพ ผูติด ยาเสพติดที่ตองการจะเลิกเสพยาเสพติด สามารถขอเขารับการบําบัดรักษา ในสถานพยาบาลตางๆ ทั้งของรัฐและเอกชน ภายใตระเบียบและขั้นตอนตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งมีรูปแบบการบําบัดทั้ง แบบผูปวยในและผูปวยนอก โดยกระบวนการเริ่มตั้งแต ผูปวยเขามาขอรับการบําบัดรักษาไปจนถึง การติดตามประเมินผลในระยะเวลา 1 ป จึงจะถือวาเสร็จสิ้นการบําบัดรักษา ดังนั้น กระบวนการ บําบัดรักษาจึงตองผสมผสานรูปแบบตางๆ โดยเริ่มตั้งแตการวินิจฉัยอาการ การใหความชวยเหลือ การบําบัดรักษา ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และอารมณ วัตถุประสงคของการบําบัดรักษาคือ เพื่อให ผูปวยงดหรือหยุดเสพยาและลดอาการเจ็บปวย หรือตายที่มีผลมาจากการใชยาเสพติด และสามารถ กลับไปดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข การนําระบบการบําบัดยาเสพติดรูปแบบสมัครใจมาใชใน การลดจํานวนผูเสพผูติดยาเสพติด และปองกันกลุมผูเสพผูติดยาเสพติดรายใหมไมใหเกิดขึ้นในสังคม เปนแนวทางหลักที่หลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยนํามาใชเปนแนวทางในการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดในปจจุบัน โดยมีพื้นฐานแนวคิดที่วาหากไมมีความตองการเสพยาของผูติด ยาเสพติดซึ่งถือเปนผูบริโภค ก็จะไมมีความตองการยาหรือสารเสพติดซึ่งเปรียบเสมือนสินคา นอกจากนี้การบําบัดรักษายาเสพติดในระบบสมัครใจตองอาศัยความยินยอมพรอมใจและความตั้งใจ จริงของผูเสพผูติดเปนสําคัญ จึงมีความเปนไปไดสูงที่ผูเสพผูติดยาเสพติดจะสามารถลดและเลิกใช ยาเสพติดไดดวยตัวเองโดยไมมีการบังคับ อันจะสงผลใหครอบครัว ชุมชน สังคมปลอดจากจากปญหา ยาเสพติด ดังนั้นการบําบัดรักษาผูมีอาการเสพติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ จึงมีความสําคัญตอ การลดปญหายาเสพติดของประเทศ จากการศึกษา พบวา พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ไมมีเนื้อหาเกี่ยวกับ มาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนให ผูเสพ ผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษาในรูปแบบสมัคร ใจ สงผลใหรัฐบาลไมสามารถกําหนดนโยบายที่ชัดเจนในการดําเนินการแกไขปญหาผูเสพผูติดยาเสพ ติด อีกทั้งการกําหนดมาตรการจูงใจ สงเสริมการบําบัดที่ผานมา เปนเพียงกรอบนโยบายที่กําหนดให หนวยงานราชการดําเนินการใหเปนไปในทิศทางเดียวกันเทานั้น ไมปรากฏรายละเอียดมาตรการที่จะ ใหสิทธิประโยชนอื่นใดแกผูเสพ ผูติดที่สมัครเขารับการบําบัด อันจะทําใหมีการสมัครใจเขารับ การบําบัดมากขึ้น นอกจากนี้ เมื่อกฎหมายไมมีการกําหนดมาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนใหผู เสพผูติดยาเสพติดเขารับการบําบัดเปนการเฉพาะ รอแตเพียงนโยบายของรัฐบาลแตละสมัย สงผลทํา ใหไมมีผูเสพผูติดยาเสพติดมาสมัครเขารับการบําบัดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 ทําใหการบังคับใชกฎหมายไมเปนไปตามวัตถุประสงคและเจตนารมณของกฎหมาย ซึ่งมุงหมายที่จะ ใหผูเขารับการบําบัดสามารถลด ละ เลิกการใชยาเสพติด และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเขารับการ บําบัดรักษาไปพรอมกัน โดยมุงหมายที่จะใหผูเสพผูติดยาเสพติดเกิดความสํานึกผิดในตัว วาการเขาไป เกี่ยวของกับยาเสพติดนั้นเปนสิ่งที่ผิดกฎหมายและสังคมไมใหการยอมรับ แตกฎหมายก็เปดชองใหเขา
  • 13. 13 รับการบําบัดโดยสมัครใจและไมประสงคดําเนินคดีเอาผิดทางอาญากับผูเสพเหลานั้น กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ เปนการใชกฎหมายที่มีจุดประสงคเพื่อการแกไขฟนฟูผูกระทําผิดมากกวาจะลงโทษผูกระทําผิด16 แตจากผลการดําเนินงานของรัฐบาลที่ผานมาในป 2558 นั้นพบวา มีจํานวนผูสมัครเขารับการ บําบัดรักษาในระบบสมัครใจ เพียง 42,042 ราย จากจํานวนประมาณการผูเสพยาเสพติดที่มากถึง 220,000 ราย17 การที่ไมสามารถบังคับใชกฎหมายดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพยังสงผลใหจํานวนผู ขอเขารับการบําบัดในแตละปมีจํานวนนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนผูเขารับการบําบัดใน ระบบบังคับบําบัดและระบบตองโทษ และเนื่องจาก เปนระบบสมัครใจ จึงไมมีมาตรการในการบังคับ ใหผูเขารับการรับการบําบัดนั้นตองอยูครบกระบวนการ และโดยสวนมาก ผูเขารับการบําบัดรักษามัก ไมปฏิบัติตามรูปแบบและระยะที่กําหนด ทําใหการการบําบัดฟนฟูไมประสบผลสําเร็จ และขาด ประสิทธิภาพในการลดจํานวนผูเสพ ผูติดยาเสพติดอยางเห็นไดชัด จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา การที่พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ไมมี บทบัญญัติที่กําหนดใหฝายบริหารหรือรัฐบาลสามารถกําหนดมาตรการตางๆเพื่อจูงใจ สงเสริมหรือ สนับสนุนใหมีการสมัครใจเขารับการบําบัดที่มากขึ้น สงผลตอการบังคับใชกฎหมายของมาตรา 94 ตามพระราชบัญญัติดังกลาวไมสัมฤทธิ์ผล ตามเจตนารมณของกฎหมาย ที่มุงหมายจะลดจํานวนผูเสพ ผูติดยาเสพติดลง โดยไมใชกระบวนการบังคับ หรือการดําเนินคดีตามกฎหมาย และในอดีตที่ผานมา รัฐบาลบางรัฐบาลก็กําหนดแตเพียงนโยบายใหผูเสพยาเสพติดเปนผูปวย ที่ตองไดรับการรักษา ซึ่งการ ออกมาตรการเพียงแคนั้น ไมสามารถทําใหผูเสพมีความพรอมหรือมีความตองการที่จะเขารับการ บําบัดมากขึ้น สังคมเต็มไปดวยผูติดยาและปญหายาเสพติด ที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น การที่รัฐบาลในฐานะฝายบริหารไมสามารถกําหนดนโยบายและมาตรการดังกลาวได เนื่องจากไมมี บทบัญญัติของกฎหมายรองรับ จึงเปนการไมสอดคลองกับทฤษฎีทางกฎหมายมหาชนวาดวยภารกิจ ของรัฐ สงผลใหเกิดปญหาทางกฎหมาย เกี่ยวกับการกําหนดนโยบายของรัฐเพื่อสงเสริมใหผูติดยาเสพ ติดเขาสูการบําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ดังนั้น จะเห็นไดวา การที่ประเทศไทยไมมีบทบัญญัติของกฎหมายที่กําหนดใหรัฐบาล สามารถกําหนดนโยบายหรือมาตรการจูงใจ สงเสริมหรือสนับสนุนใหผูเสพ ผูติดยาเสพติดเขารับการ บําบัดรักษาในระบบสมัครใจ ที่มีวัตถุประสงคในการเพิ่มจํานวนและเพิ่มความพรอมในการตัดสินใจ เขารับการบําบัดรักษา และอยูจนครบกําหนดการบําบัดรักษา ไดสงผลเสียตอประชาชน ในรัฐที่เปน ผูเสพผูติดยาเสพติด ที่ไมไดรับการบําบัดรักษายาเสพติดใหหายขาดจากอาการติด ยาเสพติด ทําใหคน เหลานี้กลายเปนอาชญากร ถูกกีดกันออกจากสังคม ยิ่งมีผูเสพผูติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นปญหา อาชญากรรมก็มีอัตราเพิ่มขึ้นตามมา สงผลเสียตอประชาชนโดยทั่วไปที่มีความเสี่ยงภัยในการใชชีวิต ในสังคม โดยตองเผชิญอาชญากรรมจากการกระทําของผูเสพ ผูติดยาเสพติด สงผลกระทบตอ 16 ประวิทย ศรีมาฤทธิ์ และ ตะวัน พิมพทอง. 2554. “กฎหมายกํากับกาย คุณธรรมกํากับใจ สังคมไทยเปนสุข”. วารสารกฎหมายคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 4(7). หนา 63 17 สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2558. อัตราคงอยูในการบําบัดรักษาทั่วประเทศ ระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝาระวังปญหายาเสพติด ประจําปงบประมาณ 2558. กรุงเทพฯ : สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. หนา 1