SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
Outcome based Education
การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์
C4ED
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ Outcome based education
การศึกษาที่เน้นการออกแบบกระบวนการ
เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Change) ผู้เรียน
โดยต้องมีเป้าหมาย (Goal) ที่กำหนดเป็น
รูปธรรมด้วยผลการเรียนรู้ (Learning
outcome) และผู้เรียนทุกคนต้องประสบ
ความสำเร็จ (รศ.ดร.บัณฑิต ทิพากร)
การ์ตูนนี้สอนเรื่องการสะท้อนความแตกต่างระหว่าง
คำว่าสอนและเรียนรู้ ได้ชัดเจน แนวความคิดใน
การวัด (Assess) การเรียนรู้ คือ ต้องเรียนรู้ จึงมี
ความสามารถ (Competence) ทำอะไรได้
สามัตถิยะ (Competences) (คำจำกัดความโดย
อ.เปลื้อง ณ นคร) ประกอบไปด้วย ความรู้ ทักษะและ
เจตคติต่างๆ เพื่อพัฒนาต่อยอดเป็น สมรรถนะ
(Competencies) เพื่อการทำงานประสบความสำเร็จ
ตัวอย่างการ์ตูนสอนปลาปีนต้นไม้ เป็นตัวอย่างที่แสดงให้
สามัตถิยะของผู้เรียนต้องมีอะไรบ้างถึงปีนต้นไม้ได้
เช่น ความรู้เรื่องต้นไม้ ทักษะการปีน ความกล้าในการปีน
เมื่อพัฒนาสิ่งเหล่านี้แล้วจึงได้ สมรรถนะของการปีนต้นไม้
ของแต่ละบุคคล
นิยาม
Ref: https://www.pinterest.com/pin/200128777165165709/?lp=true
Ref : http://alhsformativeassessment.blogspot.com/2013/01/-
look-at-cartoon-linked-here-and-explain.html
1
แม่เจ้า ผู้เรียนทุกคน
ต้องประสบความสำเร็จ
เลยเหรอ
OECD ได้ให้คำจำกัดความ
ของสามัตถิยะว่าคือ
ความสามารถที่ตอบสนอง
ความต้องการในการทำงาน
ให้ลุล่วงซึ่งรวมถึงงานที่ใช้
Cognitive (ความรู้) และ
Non-cognitive (ทักษะ
และเจตคติ)
สามัตถิยะของนักศึกษา มจธ.
KMUTT
C4ED
InterpersonalSkills&Responsibi
lity
AnalyticalandCommunication
Skill
Learning orientation
Writing skill
Verbal skill
Conflict
management
Teamwork
Leadership skill
กลุ่มความรู้และวิชาชีพ
ส่วนนี้ได้แก่ความรู้จากเนื้อหาในหลักสูตร
และความรู้ในวิชาชีพ การประเมินความรู้
ก็ใช้หลักของบลูม คือ เริ่มจากความเข้าใจ
การประยุกต์ การวิเคราะห์ การประเมิน
และการสร้างความรู้
กลุ่มด้านความคิด
และการเรียนรู้
ทักษะการคิด คือ สอนให้นักศึกษาเรียนรู้
วิธีคิดแบบต่างๆ เช่น การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดแก้ไขปัญา การคิดแบบระบบ การคิด
เชิงนวัตกรรม
Critical thinking
Analytical thinking
Systemic thinking
Creative thinking
Logical thinking
Problem solving
Innovation
Applying
Analyzing
Evaluating
Creating
กลุ่มความเป็นพลเมือง มจธ.
Adaptability & Flexibility
Responsibility &Ethnical sense
กลุ่มความเป็นผู้นำ
Self-motivation
Objective-based
management
กลุ่มด้านบริหารจัดการ
ทักษะนี้จะใช้กับการบริหารจัดการทั้งตัวบุคคลและ
การบริหารจัดการเมื่อมีการทำงานเป็นทีม
Ethical and Moral Development
Knowledge
CognitiveSkill
KMUTT’s citizenship
K
nowledge
Prof.
ThinkingSkill
L
earingSkill
Managements
Com
m
unicationSkill
Leadership
กลุ่มด้านการสื่อสาร
ทักษะการสื่อสารสำหรับการอ่านเขียนและ
การพูดฟัง
การสร้างทีม การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
นศ.ต้องไม่นิ่งดูดาย มีจิตสาธารณะ
มีจริยธรรม ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ
มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
Q. ต้องมีทุกอันเลยเหรอ
เลือกทำได้เปล่าฮับ
A. ควรเลือกให้ตรงกับ
หลักสูตร
Modified from https://www.c4ed.kmutt.ac.th/kmutt-qf 2
Understand
Sense making
Diversity interculturality & Inter
Achievement orientation
Planning Computational
skill
ICT literacy
จากสามัตถิยะไปสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้
การกระทำ + วัตถุ + คำขยาย
ทักษะการแก้ไขปัญหา
(Problem solving)
นักศึกษาประยุกต์
ความรู้ด้านเครื่องกล
มาใช้ในการซ่อมรถยนต์
นั่งส่วนบุคคลโดยมีข้อ
ผิดพลาดเพียง 10%
นักศึกษาสามารถซ่อม
แก้ไขปัญหาเครื่องยนต์
ของรถยนต์นั่งส่วนบุุคคล
ได้จริง
ความรู้ด้านเครื่องกล
(Knowledge)
ผลลัพธ์การเรียนรู้สามัตถิยะ
ทักษะ
ความรู้
การกระทำที่สื่อให้เห็นถึงสมรรถนะของ
ผู้เรียน อันสังเกตได้จากพฤติกรรมที่
ชัดเจนวัดได้และชี้เฉพาะได้ว่าตรงกับ
สมรรถนะนั้น
ตัวอย่าง
ผู้เรียนสามารถซ่อม + รถยนต์ + ให้ทำงาน
ได้ตามปกติ
3
ตัวอย่าง
สร้างหลักสูตรที่ตอบโจทย์ Stakeholders analysis
ภาคอุตสาหกรรม
ศิษย์เก่า
ภาควิชาการ
การเชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับหลักสูตร
เช่น ผู้ปกครอง ภาคอุตสาหกรรม ศิษย์เก่า
ศิษย์ปัจจุบัน อาจารย์ มานั่งจับเข่าคุยกัน
ก็สามารถที่จะวิเคราะห์ความต้องการ
ของทุกด้าน โดยอาจจะเริ่มจากแนวโน้ม
ตอบสนองความต้องการตลาดแรงงาน
แล้วถึงถามว่าถ้าต้องการผลิตนักศึกษา
เพื่อตอบโจทย์อนาคตจะต้องมีสามัติยะ
อะไรบ้าง
เราจะรู้ได้ไงว่าหลักสูตร
ที่ออกแบบขึ้นมาตอบ
โจทย์กับตลาดอนาคต
อยากได้เด็กที่
เปิดใจเรียนรู้
อยากได้การ
สอนที่ทันสมัย
เราจะสอนเด็ก
อย่างไร
4
ออกแบบหลักสูตรร่วมกันด้วยแผนที่หลักสูตร
Curriculum Mapping
วิชา 1 CLO
PLO
PLO1.1 PLO1.2 PLO1.3 PLO1.4
วิชา 2
วิชา 3
วิชา 4
CLO CLO
CLOCLO
CLO
CLO CLO CLO
CLO
CLO
CLO
CLO
แผนที่หลักสูตรควรเกิดจากการทำร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน
อาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรนั้นๆ
เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างรายวิชาสอน และความเข้าใจ
ร่วมกันในหลักสูตรที่ได้ร่วมกันกำหนด
.........................
.........................
.........................
.................
CLO
นักศึกษาทราบเทคนิค
พื้นฐานทางจุลชีววิทยา
เชน เทคนิคปลอดเชื้อ
การแยกเชื้อให
บริสุทธิ์
.........................
.........................
.........................
.................
CLO
นักศึกษาทราบเทคนิค
พื้นฐานทางจุลชีววิทยา
เชน เทคนิคปลอดเชื้อ
การแยกเชื้อให
บริสุทธิ์
CLO = Course Learning Outcome
CLO
PLO
Competences
วิชา
Bio121
Bio122
5
แผนที่หลักสูตรจะถูกออกแบบมาเพื่อให้
ครอบคลุม Outcome ช่วยกำกับแนวทาง
ระหว่างผลการเรียนรู้ระดับวิชา ให้สอดคล้องกับ
หลักสูตร ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหา นอกจาก
นี้ยังช่วยในการวางแผนหลักสูตรตามลำดับ
ความยากง่าย
ในตารางจะเห็นได้ว่าผลการเรียนรู้ระดับรายวิชาต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้
ระดับหลักสูตร
กระบวนการอันจะนำมาสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้
ปี 1 เทอม 1 ปี 1 เทอม 2 ปี 2 เทอม 1
ปี 2 เทอม 2
ปี 3 เทอม 1
ปี 3 เทอม 2ปี 4 เทอม 1
คัดเลือกนักศึกษา
สอบคัดแยกเด็ก
อ่อนภาษาอังกฤษ
เรียนทักษะพื้นฐาน
การเขียนภาษาอังกฤษ
ปี 4 เทอม 2
ฝึกเขียนเรียงความ
ความฝันของวิศวกร
ยานยนต์
ฝึกทำรายงานจาก
การเรียนรู้เครื่องยนต์
ฝึกนำเสนอ
หน้าชั้นเรียน
8 รอบ
ฝึกสนทนา
เป็นภาษา
อังกฤษในวิชา
สัมมนา
ฝึกนำเสนอ
ผลงานวิจัย
ฝึกเขียนแบบนำเสนอ
เพื่อขอทุนวิจัย
ฝึกเขียนรายงาน
ตัวอย่าง
สามัตถิยะการพัฒนา
การสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ
6
เด็กอ่อน
ตรวจสอบ
หนังสือ
วิทยานิพนธ์
ในด้านภาษา
ทำอย่างไรให้ตอบผลลัพธ์การเรียนรู้
ผลลัพธ์การเรียนรู้
เทคนิคการสอน การประเมินผล
นักศึกษาสามารถซ่อมแก้ไขปัญหาเครื่องยนต์
ของรถยนต์นั่งส่วนได้จริง
สอนโดยลงมือ
ปฏิบัติ
สอนโดยการอ่าน
จากหนังสือ
การประเมินผลเทคนิคการสอน
ประเมินทักษะ
การซ่อมจาก
การเลียนแบบ
คู่มือ
ประเมินทักษะ
การซ่อมจาก
การทำได้จริง
Constructive Alignment
7
ตัวอย่าง
Constructive หมายถึง
ผู้เรียนสามารถสร้างความหมาย
ด้วยตนเองที่การเรียนรู้
ตรงประเด็นกับผู้เรียน
Alignment หมายถึง
ผู้สอนจะต้องเลือกช่องทาง
ในการสอนที่ถูกกับความสามารถ
ของผู้เรียนเพื่อจะตอบผลลัพธ์
การเรียนรู้
Constructive alignment (Biggs, 2011) Teaching for quality learning at university : What students does,
the Society for Research into Higher Education & Open University Press, New York.
ตามลักษณะของ Constructive Alignment หมายถึง ต้องสอนให้ได้ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ เช่น
ถ้าสอนให้เด็กประยุกต์ได้ แต่สอนแบบท่องจำก็ไม่ถือว่า alignment เป้าหมายของการเป็น constructive
คือ สอนให้เกิด Higher order thinking ในผู้เรียน
กรอบการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์
ผลลัพธ์การเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ผู้เรียน
ตัวชี้วัดด้านสมรรถนะ
และแผนที่หลักสูตร
ผลลัพธ์การเรียนรู้
ระดับรายวิชา
การวางแผนรายวิชา
- แผนการสอน
- เทคนิคการสอน
- กิจกรรมการสอน
- การประเมินผล
การประเมิน
ระดับวิชา
การประเมินระดับ
หลักสูตร
การประเมินระดับ
สถาบัน
การทวนสอบ
พัฒนาปรับปรุง
วัตถุประสงค์ของ
การศึกษา
ข้อมูลและผลตอบกลับของผู้ปกครองผู้เรียน
ภาคอุตสาหกรรม
ระดับสถาบันระดับหลักสูตรระดับรายวิชา
พันธกิจและวิสัยทัศน์
ประเมินสามัตถิยะ
ความสามารถที่
ผู้เรียนทำได้
หลังจากจบหลักสูตร
CLO
CLO
CLO
ความสามารถที่ผู้เรียนทำได้หลังจาก
จบวิชานั้นๆ
KM
UT
T
C4
ED
InterpersonalSkills&Responsibi
lity
AnalyticalandCommunication
Skill
Learning orientation
Digital literacy
Writing skill
Verbal skill
Conflict
management
Teamwork
Leadership skill
Critical thinking
Analytical thinking
Systemic thinking
Creative thinking
Logical thinking
Problem solving
Innovation
Underst.
Applying
Analyzing
Evaluating
Creating
Volunteering &
Service Learning
Adaptability & Flexibility
Humanization
Ethnical sense
Self-motivation
Objective-based
management
Ethical and Moral Development
Knowledge
CognitiveSkill
KMUTT’s citizenship
K
nowledge
Prof.
ThinkingSkill
L
earingSkill
Managements
Com
m
unicationSkill
Leadership
Alignment
8
การวางแผน การเรียนรู้ระดับ
รายวิชาจะเป็นแนวเดียวกับ
พันธกิจและวิสัยทัศน์ของสถาบัน
และผลเรียนรู้ของผู้เรียน
ตัวแผนการสอนต้องสะท้อน
กลยุทธ์ที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์
การเรียนรู้และวิธีวัด
การทวนสอบ เป็นการเทียบกับ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง
กับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ทุกคน ตั้งแต่ระดับรายวิชา
หลักสูตรและระดับสถาบัน ซึ่งเป็น
กระบวนการป้อนกลับในการพัฒนา
คุณภาพ
พัฒนาปรับปรุงพิจารณาว่า
อะไรที่ควรจะเปลี่ยนเพื่อ
ทำให้เกิดการพัฒนา เช่น
การแก้ไขผลลัพธ์การเรียนรู้
และวัตถุประสงค์สำหรับ
การเปลี่ยนแปลงรอบถัดไป
กระบวนการประเมิน
หลักฐานการเรียนรู้
องค์ประกอบของการประเมิน
เครื่องมือในการประเมิน
สูงกว่ามาตรฐานของสมรรถนะ
ตามมาตรฐาน
ของสมรรถนะ
ต่ำกว่า
มาตรฐาน
ของสมรรถนะ1
2 3
เกณฑ์การประเมิน
วินิจฉัย พัฒนา ตัดสิน
วิเคราะห์ความรู้
ของผู้เรียนว่าอยู่
ระดับไหนก่อนเรียน
ให้ผลตอบกลับ
ผู้เรียนเพื่อแสดง
การพัฒนาระหว่าง
การเรียนรู้
ตัดสินบน
ความสำเร็จ
ของผู้เรียน
Diagnostic Formative Summative
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้
รูบิคเป็นเครื่องมือในการประเมิน เขียนไว้
ว่าอะไรที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะทำได้
ประโยชน์ของการสร้างรูบิค
- ลดเวลาในอธิบายให้ผู้เรียนฟังว่าทำไมถึงตัดสินให้คะแนน
เพราะมีเกณฑ์มาตรฐาน
- กำหนดคุณภาพร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนโดยการ
เขียนรูบิคร่วม
1 2 3 4
จำ
เข้าใจ
ประยุกต์
วิเคราะห์
สร้างสรรค์
ประเมิน
ยอมรับฟัง
ตอบสนอง
เห็นคุณค่า
จัดระบบคุณค่า
ปฎิบัติเป็นนิสัย
เลียนแบบ
ควบคุมได้
แม่นยำ
เปลี่ยนแปลงสไตล์
สไตล์ตนเอง
Reinforce
Master
ก ข ค
ไข่ =
การประเมินสามารถแบ่งออกเป็นสามโดเมนคือ ด้านปัญญา ทักษะ และเจตคติ และมีลำดับของการพัฒนา
ยกตัวอย่างเช่น ในกลุ่มรายวิชาทางภาษา การพัฒนาของด้านปัญญาจะเริ่มจากการจำและเข้าใจภาษา
ประยุกต์ภาษาและวิเคราะห์ภาษา ประเมินและสร้างสรรค์ภาษา
หลักฐานโดยตรงว่าเด็กเรียนอะไร
- การให้คะแนนทักษะเด็กจากสหกิจศึกษา
- ระบบตอบคำถาม เช่น clicker
- แบบสะท้อนการเรียนรู้ของเด็ก
- การสังเกตพฤติกรรมเด็กในห้องเรียน
- ผลงานของผู้เรียน
หลักฐานทางอ้อม
- เกรดของวิชา
- อัตราการจ้างงาน
- ความพึงพอใจของศิษย์เก่า
- รางวัลหรือทุนที่นศ.ได้
หลักฐานกระบวนการเรียนรู้
- แผนการสอน หลักสูตรกิจกรรมต่างๆ
- สนททนากลุ่มหรือสัมภาษณ์นักศึกษาว่า
ประสบความสำเร็จในการเรียนด้านใดบ้าง
- กิจกรรมในห้องสมุดที่เกี่ยวโยงกับหลักสูตร
ผลลัพธ์การเรียนรู้
บางอย่างเป็นไป
ได้ทั้งสองโดเมน
Higherorder
thinking
9
Introduce
การออกแบบกิจกรรมการสอน.........................
.........................
.........................
.................
CLO 1
อธิบายแนวคิดพื้นฐาน
ดานระบบสารสนเทศ
สถาปตยกรรม รวมอินเตอร
เน็ทและเวป
.........................
.........................
.........................
.................
CLO 2
อธิบายจริยธรรมที่มีตอสังคม
เศรษฐศาสตร และใชระบบ
สารสนเทศสำหรับธุรกิจ
นานาชาติ
.........................
.........................
.........................
.................
CLO 3
ประยุกตองคความรูและวิธี
วิทยาดานสารสนเทศ รวมถึง
การใชฮารดแวรและซอฟแวร
.........................
.........................
.........................
.................
CLO 4
ออกแบบและพัฒนาแบบ
จำลองเพื่อที่จะพัฒนา
ธุรกรรมดานธุรกิจ
.........................
.........................
.........................
.................
CLO 5
ทำงานอยางมีประสิทธิภาพ
ในการทำงานเปนทีม การสื่อ
สารและนำเสนอขอมูลใน
การทำรายงาน
Ref: Teaching for quality learning at university : What students does, (Biggs, 2011)
the Society for Research into Higher Education & Open University Press, pp. 336
New York.
การออกแบบกิจกรรมการสอนที่สัมฤทธิ์ผลนั้น ควรเน้นย้ำให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของกิจกรรม และผลการเรียนรู้ (Learning Outcome; LO)
ของผู้เรียนที่พึงประสงค์ ซึ่งการจัดทำแบบนี้ จะช่วยให้เกิดรูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นเชิงประจักษ์ (Assesment tasks)
อันจะนำไปสู่การสร้างเกณฑ์การประเมิน (Rubrics) ออกมาในรูปของระดับคะแนนที่จะสามารถแบ่งแยกความระดับสามารถของผู้เรียนในกิจกรรมนั้น ๆ
ได้อย่างเที่ยงตรง
10
หัวข้อกิจกรรม จุดเน้นLO
รายละเอียด
กิจกรรม
การวัดและ
ประเมินผล
Rubrics
การเสริมทักษะ
การปฏิบัติการ
ทางคอมพิวเตอร์
จุดเน้นหลัก: CLO 4
จุดเน้นรอง: CLO 3
และ 5
-การทำกิจกรรมเสริม
ทักษะการใช้ซอฟแวร์
-การอภิปรายกลุ่มของ
โครงงานทำเว๊ปและ
ฐานข้อมูลสำหรับการขาย
สินค้าออนไลน์
CLO3
CLO4
เนื้อหา ดีมาก ดี เพียงพอ เริ่มต้น
ความคิด
สร้างสรรค์
การออก
แบบ
CLO4 สร้างสรรค์
น้อย
สร้างสรรค์
สูง มีเอก-
ลักษณ์
ออกแบบ
มามีความ
คิดสร้าง
สรรค์
ออกแบบ
ได้ระดับ
กลาง
ออกแบบ
ระดับ
มืออาชีพ
การออก
แบบมีข้อ
ผิดพลาด
น้อย
คุณภาพ
แบบกลางๆ
ยอมรับได้
ทั่ว ๆ ไป
งานกลุ่ม (35%)
โครงการจะถูกแบ่งออก
เป็นสามส่วนแต่ละส่วนถูก
ออกแบบมาให้ประเมิน
ความสามารถของผู้เรียน
ในการสร้างเว๊ป ฐานข้อมูล
โมเดลในการสร้างธุรกิจ
จุดเน้นหลัก CLO 3
และ 4
จุดเน้นรอง CLO 5
ตัวอย่างการออกแบบกิจกรรมการสอน
การจัดการห้องเรียนในรูปแบบ
Active learning
บทบาทการเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ Facilitator
อาจารย์จะเป็นผู้ชี้แนะหรือโค้ชผู้เรียนให้ได้สมรรถนะ
ตามที่ระบุไว้ในผลลัพธ์การเรียนรู้
PLAN
LO
..................
Assessment
........................
Activities
...........................
IND434
การออกแบบแผนการสอนเพื่อสร้างกิจกรรมที่
ตอบผลลัพธ์การเรียนรู้โดยใช้ LEB2 ซึ่งเป็นซอฟแวร์
บริหารจัดการในห้องเรียนที่ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับ
การสอนและดูสมรรถนะของผู้เรียนตลอดหลักสูตร
เทคนิคการสอนที่เป็น Active learning จะทำให้เกิดการคิดที่เป็น Higher order thinking
และทำให้เกิดความมีส่วนร่วมระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เทคนิคการสอนจะมีความแตกต่างกันตาม
ศาสตร์ของวิชาชีพนั้นๆ เช่น การสอนแบบวิทยาศาสตร์ เทคนิคการสอนก็จะเน้นไปในเรื่องของการตั้งคำถาม
การค้นคว้า ถ้าเป็นวิศวกรรมก็จะเป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องการประยุกต์ การสร้าง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นผู้สอนต้องคัด
เลือกสิ่งที่เป็น Main concept และพยายามเชื่อมโยงเข้าสู่ประสบการณ์ของผู้เรียน นอกจากนี้แล้วยังต้อง
ต่อยอดกับวิชาอื่นเหมือน Building block.
สื่อการสอนและโต๊ะ
สำหรับวางวัสดุ
สำหรับกิจกรรมต่างๆ
โต๊ะจะถูกออกแบบให้สามารถปรับ
เป็นรูปทรงต่างๆได้และเคลื่อนย้าย
ไปมาได้สะดวก ในหนึ่งโต๊ะจะถูก
ออกแบบมาให้สามารถทำงานเป็น
ทีม
ห้องเรียนในลักษณะผสมระหว่างห้องปฏิบัติการ
และโต๊ะทำงานกลุ่มที่สามารถบรรยายและจัด
กิจกรรมได้หลากหลาย
11
ทิ้งท้าย
Outcome based education เน้นการเรียนรู้เป็นสำคัญโดยเริ่มจาก
สามัตถิยะ (Competencies) ที่ได้จากลักษณะเด่นของสถาบันนั้นๆ บวกกับ
ความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต แล้วจึงแปลงออกมาเป็นผลลัพธ์
การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLO-Program learning outcome) หลังจากนั้น
จึงสร้างผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับวิชา (CLO -Course learning outcome)
และใช้แผนที่หลักสูตร (Curriculum mapping) ในการช่วยตรวจดูว่า
วิชาใดจะรับผิดชอบในการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนและส่งต่อให้วิชา
อื่นอย่างไร ผู้สอนก็ต้องนำ CLO มาเป็นตัวตั้งเพื่อที่จะออกแบบแผนการสอน
ที่ต้องมีทั้งเรื่องการประเมิน (Assess) และแนวคิดทางการสอน(Teaching
approach) อันจะนำมาสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน
การทำ OBE ไม่ได้เน้นที่ปริมาณความรู้หรือเนื้อหาที่จะสอนให้ผู้เรียน แต่จะ
เน้นที่หลักการ(Concept) ที่ผู้เรียนสามารถนำไปต่อยอดได้ เพราะความรู้
ในโลกอนาคตสามารถหาได้ง่ายกว่าปัจจุบัน ทั้งจากระบบการเรียนออนไลน์ต่างๆ
เช่น MOOC ดังนั้นหน้าที่ส่วนที่เหลือของผู้สอนคือ การอำนวยการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนด้วยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบใหม่ที่ท้าทายและให้เกิดผลลัพธ์
การเรียนรู้ การเรียนรู้จึงไม่ได้อยู่ที่มองว่า Output หรือสิ่งที่ได้จากผู้เรียน
นั้นถูกหรือผิด แต่อยู่ที่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ Learn how to learn
เพื่อทำให้ผู้เรียนพร้อมที่จะเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ หรือค้นหาความรู้ใหม่ๆได้
ด้วยตนเองเมื่อได้จบการศึกษาไปแล้ว
การที่จะทำให้ OBE บรรลุผลจึงไม่ใช่แค่การทำเอกสาร แต่อยู่ที่การค้นหากลยุทธ์
วิธีการปัญหาและอุปสรรคที่ผู้เรียนประสบ และการทำ OBE ให้สำเร็จเกิดขึ้นได้
หลายระดับตั้งแต่วิชาของตนเองไปจนถึงระดับหลักสูตรและมหาวิทยาลัย หลักการ
สำคัญคือการเปลี่ยนผู้เรียนที่เป็นลักษณะเดิมที่เก่งในเรื่องการท่องจำเหมือนนกแก้ว
ให้มาเป็นนกฮูกที่เป็นผู้รู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
12
C4ED
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docamppbbird
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
การลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptx
การลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptxการลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptx
การลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptxPattarojKamonrojsiri1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.docหน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
หน่วยที่ 4-การบวก ลบ คูณ หารระคน ป.2.doc
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
การลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptx
การลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptxการลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptx
การลบโดยใช้วิธีนิขิลัม.pptx
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
 

Similar to Outcome based education (Thai Language)

Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
งานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญางานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญาAphinya Ganjina
 
งานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญางานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญาAphinya Ganjina
 
งานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญางานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญาAphinya Ganjina
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพpeter dontoom
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
 

Similar to Outcome based education (Thai Language) (20)

Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
งานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญางานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญา
 
งานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญางานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญา
 
งานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญางานวิจัยอภิญญา
งานวิจัยอภิญญา
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
 
Thesis oral presentaton
Thesis oral presentatonThesis oral presentaton
Thesis oral presentaton
 
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
แบบประเมินมาตรฐานวิชาชีพครู(ประเมินตนเอง)
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 

More from Him Chitchat

Creative design thinking
Creative design thinkingCreative design thinking
Creative design thinkingHim Chitchat
 
Fail fast fail often
Fail fast fail oftenFail fast fail often
Fail fast fail oftenHim Chitchat
 
Metrics in usability testing and user experiences
Metrics in usability testing and user experiencesMetrics in usability testing and user experiences
Metrics in usability testing and user experiencesHim Chitchat
 
Coding data with Boris software
Coding data with Boris softwareCoding data with Boris software
Coding data with Boris softwareHim Chitchat
 
Bullet journal method
Bullet journal methodBullet journal method
Bullet journal methodHim Chitchat
 
Atomic Habit Summary
Atomic Habit SummaryAtomic Habit Summary
Atomic Habit SummaryHim Chitchat
 

More from Him Chitchat (9)

Human error
Human error Human error
Human error
 
Creative design thinking
Creative design thinkingCreative design thinking
Creative design thinking
 
Fail fast fail often
Fail fast fail oftenFail fast fail often
Fail fast fail often
 
Metrics in usability testing and user experiences
Metrics in usability testing and user experiencesMetrics in usability testing and user experiences
Metrics in usability testing and user experiences
 
Google analytics
Google analyticsGoogle analytics
Google analytics
 
Mindset
MindsetMindset
Mindset
 
Coding data with Boris software
Coding data with Boris softwareCoding data with Boris software
Coding data with Boris software
 
Bullet journal method
Bullet journal methodBullet journal method
Bullet journal method
 
Atomic Habit Summary
Atomic Habit SummaryAtomic Habit Summary
Atomic Habit Summary
 

Outcome based education (Thai Language)

  • 2. การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ Outcome based education การศึกษาที่เน้นการออกแบบกระบวนการ เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Change) ผู้เรียน โดยต้องมีเป้าหมาย (Goal) ที่กำหนดเป็น รูปธรรมด้วยผลการเรียนรู้ (Learning outcome) และผู้เรียนทุกคนต้องประสบ ความสำเร็จ (รศ.ดร.บัณฑิต ทิพากร) การ์ตูนนี้สอนเรื่องการสะท้อนความแตกต่างระหว่าง คำว่าสอนและเรียนรู้ ได้ชัดเจน แนวความคิดใน การวัด (Assess) การเรียนรู้ คือ ต้องเรียนรู้ จึงมี ความสามารถ (Competence) ทำอะไรได้ สามัตถิยะ (Competences) (คำจำกัดความโดย อ.เปลื้อง ณ นคร) ประกอบไปด้วย ความรู้ ทักษะและ เจตคติต่างๆ เพื่อพัฒนาต่อยอดเป็น สมรรถนะ (Competencies) เพื่อการทำงานประสบความสำเร็จ ตัวอย่างการ์ตูนสอนปลาปีนต้นไม้ เป็นตัวอย่างที่แสดงให้ สามัตถิยะของผู้เรียนต้องมีอะไรบ้างถึงปีนต้นไม้ได้ เช่น ความรู้เรื่องต้นไม้ ทักษะการปีน ความกล้าในการปีน เมื่อพัฒนาสิ่งเหล่านี้แล้วจึงได้ สมรรถนะของการปีนต้นไม้ ของแต่ละบุคคล นิยาม Ref: https://www.pinterest.com/pin/200128777165165709/?lp=true Ref : http://alhsformativeassessment.blogspot.com/2013/01/- look-at-cartoon-linked-here-and-explain.html 1 แม่เจ้า ผู้เรียนทุกคน ต้องประสบความสำเร็จ เลยเหรอ OECD ได้ให้คำจำกัดความ ของสามัตถิยะว่าคือ ความสามารถที่ตอบสนอง ความต้องการในการทำงาน ให้ลุล่วงซึ่งรวมถึงงานที่ใช้ Cognitive (ความรู้) และ Non-cognitive (ทักษะ และเจตคติ)
  • 3. สามัตถิยะของนักศึกษา มจธ. KMUTT C4ED InterpersonalSkills&Responsibi lity AnalyticalandCommunication Skill Learning orientation Writing skill Verbal skill Conflict management Teamwork Leadership skill กลุ่มความรู้และวิชาชีพ ส่วนนี้ได้แก่ความรู้จากเนื้อหาในหลักสูตร และความรู้ในวิชาชีพ การประเมินความรู้ ก็ใช้หลักของบลูม คือ เริ่มจากความเข้าใจ การประยุกต์ การวิเคราะห์ การประเมิน และการสร้างความรู้ กลุ่มด้านความคิด และการเรียนรู้ ทักษะการคิด คือ สอนให้นักศึกษาเรียนรู้ วิธีคิดแบบต่างๆ เช่น การคิดเชิงสร้างสรรค์ การคิดแก้ไขปัญา การคิดแบบระบบ การคิด เชิงนวัตกรรม Critical thinking Analytical thinking Systemic thinking Creative thinking Logical thinking Problem solving Innovation Applying Analyzing Evaluating Creating กลุ่มความเป็นพลเมือง มจธ. Adaptability & Flexibility Responsibility &Ethnical sense กลุ่มความเป็นผู้นำ Self-motivation Objective-based management กลุ่มด้านบริหารจัดการ ทักษะนี้จะใช้กับการบริหารจัดการทั้งตัวบุคคลและ การบริหารจัดการเมื่อมีการทำงานเป็นทีม Ethical and Moral Development Knowledge CognitiveSkill KMUTT’s citizenship K nowledge Prof. ThinkingSkill L earingSkill Managements Com m unicationSkill Leadership กลุ่มด้านการสื่อสาร ทักษะการสื่อสารสำหรับการอ่านเขียนและ การพูดฟัง การสร้างทีม การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การแก้ปัญหาความขัดแย้ง นศ.ต้องไม่นิ่งดูดาย มีจิตสาธารณะ มีจริยธรรม ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ Q. ต้องมีทุกอันเลยเหรอ เลือกทำได้เปล่าฮับ A. ควรเลือกให้ตรงกับ หลักสูตร Modified from https://www.c4ed.kmutt.ac.th/kmutt-qf 2 Understand Sense making Diversity interculturality & Inter Achievement orientation Planning Computational skill ICT literacy
  • 4. จากสามัตถิยะไปสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้ การกระทำ + วัตถุ + คำขยาย ทักษะการแก้ไขปัญหา (Problem solving) นักศึกษาประยุกต์ ความรู้ด้านเครื่องกล มาใช้ในการซ่อมรถยนต์ นั่งส่วนบุคคลโดยมีข้อ ผิดพลาดเพียง 10% นักศึกษาสามารถซ่อม แก้ไขปัญหาเครื่องยนต์ ของรถยนต์นั่งส่วนบุุคคล ได้จริง ความรู้ด้านเครื่องกล (Knowledge) ผลลัพธ์การเรียนรู้สามัตถิยะ ทักษะ ความรู้ การกระทำที่สื่อให้เห็นถึงสมรรถนะของ ผู้เรียน อันสังเกตได้จากพฤติกรรมที่ ชัดเจนวัดได้และชี้เฉพาะได้ว่าตรงกับ สมรรถนะนั้น ตัวอย่าง ผู้เรียนสามารถซ่อม + รถยนต์ + ให้ทำงาน ได้ตามปกติ 3 ตัวอย่าง
  • 5. สร้างหลักสูตรที่ตอบโจทย์ Stakeholders analysis ภาคอุตสาหกรรม ศิษย์เก่า ภาควิชาการ การเชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับหลักสูตร เช่น ผู้ปกครอง ภาคอุตสาหกรรม ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน อาจารย์ มานั่งจับเข่าคุยกัน ก็สามารถที่จะวิเคราะห์ความต้องการ ของทุกด้าน โดยอาจจะเริ่มจากแนวโน้ม ตอบสนองความต้องการตลาดแรงงาน แล้วถึงถามว่าถ้าต้องการผลิตนักศึกษา เพื่อตอบโจทย์อนาคตจะต้องมีสามัติยะ อะไรบ้าง เราจะรู้ได้ไงว่าหลักสูตร ที่ออกแบบขึ้นมาตอบ โจทย์กับตลาดอนาคต อยากได้เด็กที่ เปิดใจเรียนรู้ อยากได้การ สอนที่ทันสมัย เราจะสอนเด็ก อย่างไร 4
  • 6. ออกแบบหลักสูตรร่วมกันด้วยแผนที่หลักสูตร Curriculum Mapping วิชา 1 CLO PLO PLO1.1 PLO1.2 PLO1.3 PLO1.4 วิชา 2 วิชา 3 วิชา 4 CLO CLO CLOCLO CLO CLO CLO CLO CLO CLO CLO CLO แผนที่หลักสูตรควรเกิดจากการทำร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน อาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรนั้นๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างรายวิชาสอน และความเข้าใจ ร่วมกันในหลักสูตรที่ได้ร่วมกันกำหนด ......................... ......................... ......................... ................. CLO นักศึกษาทราบเทคนิค พื้นฐานทางจุลชีววิทยา เชน เทคนิคปลอดเชื้อ การแยกเชื้อให บริสุทธิ์ ......................... ......................... ......................... ................. CLO นักศึกษาทราบเทคนิค พื้นฐานทางจุลชีววิทยา เชน เทคนิคปลอดเชื้อ การแยกเชื้อให บริสุทธิ์ CLO = Course Learning Outcome CLO PLO Competences วิชา Bio121 Bio122 5 แผนที่หลักสูตรจะถูกออกแบบมาเพื่อให้ ครอบคลุม Outcome ช่วยกำกับแนวทาง ระหว่างผลการเรียนรู้ระดับวิชา ให้สอดคล้องกับ หลักสูตร ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหา นอกจาก นี้ยังช่วยในการวางแผนหลักสูตรตามลำดับ ความยากง่าย ในตารางจะเห็นได้ว่าผลการเรียนรู้ระดับรายวิชาต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ ระดับหลักสูตร
  • 7. กระบวนการอันจะนำมาสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้ ปี 1 เทอม 1 ปี 1 เทอม 2 ปี 2 เทอม 1 ปี 2 เทอม 2 ปี 3 เทอม 1 ปี 3 เทอม 2ปี 4 เทอม 1 คัดเลือกนักศึกษา สอบคัดแยกเด็ก อ่อนภาษาอังกฤษ เรียนทักษะพื้นฐาน การเขียนภาษาอังกฤษ ปี 4 เทอม 2 ฝึกเขียนเรียงความ ความฝันของวิศวกร ยานยนต์ ฝึกทำรายงานจาก การเรียนรู้เครื่องยนต์ ฝึกนำเสนอ หน้าชั้นเรียน 8 รอบ ฝึกสนทนา เป็นภาษา อังกฤษในวิชา สัมมนา ฝึกนำเสนอ ผลงานวิจัย ฝึกเขียนแบบนำเสนอ เพื่อขอทุนวิจัย ฝึกเขียนรายงาน ตัวอย่าง สามัตถิยะการพัฒนา การสื่อสาร ภาษาอังกฤษ 6 เด็กอ่อน ตรวจสอบ หนังสือ วิทยานิพนธ์ ในด้านภาษา
  • 8. ทำอย่างไรให้ตอบผลลัพธ์การเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ เทคนิคการสอน การประเมินผล นักศึกษาสามารถซ่อมแก้ไขปัญหาเครื่องยนต์ ของรถยนต์นั่งส่วนได้จริง สอนโดยลงมือ ปฏิบัติ สอนโดยการอ่าน จากหนังสือ การประเมินผลเทคนิคการสอน ประเมินทักษะ การซ่อมจาก การเลียนแบบ คู่มือ ประเมินทักษะ การซ่อมจาก การทำได้จริง Constructive Alignment 7 ตัวอย่าง Constructive หมายถึง ผู้เรียนสามารถสร้างความหมาย ด้วยตนเองที่การเรียนรู้ ตรงประเด็นกับผู้เรียน Alignment หมายถึง ผู้สอนจะต้องเลือกช่องทาง ในการสอนที่ถูกกับความสามารถ ของผู้เรียนเพื่อจะตอบผลลัพธ์ การเรียนรู้ Constructive alignment (Biggs, 2011) Teaching for quality learning at university : What students does, the Society for Research into Higher Education & Open University Press, New York. ตามลักษณะของ Constructive Alignment หมายถึง ต้องสอนให้ได้ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ เช่น ถ้าสอนให้เด็กประยุกต์ได้ แต่สอนแบบท่องจำก็ไม่ถือว่า alignment เป้าหมายของการเป็น constructive คือ สอนให้เกิด Higher order thinking ในผู้เรียน
  • 9. กรอบการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ผู้เรียน ตัวชี้วัดด้านสมรรถนะ และแผนที่หลักสูตร ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับรายวิชา การวางแผนรายวิชา - แผนการสอน - เทคนิคการสอน - กิจกรรมการสอน - การประเมินผล การประเมิน ระดับวิชา การประเมินระดับ หลักสูตร การประเมินระดับ สถาบัน การทวนสอบ พัฒนาปรับปรุง วัตถุประสงค์ของ การศึกษา ข้อมูลและผลตอบกลับของผู้ปกครองผู้เรียน ภาคอุตสาหกรรม ระดับสถาบันระดับหลักสูตรระดับรายวิชา พันธกิจและวิสัยทัศน์ ประเมินสามัตถิยะ ความสามารถที่ ผู้เรียนทำได้ หลังจากจบหลักสูตร CLO CLO CLO ความสามารถที่ผู้เรียนทำได้หลังจาก จบวิชานั้นๆ KM UT T C4 ED InterpersonalSkills&Responsibi lity AnalyticalandCommunication Skill Learning orientation Digital literacy Writing skill Verbal skill Conflict management Teamwork Leadership skill Critical thinking Analytical thinking Systemic thinking Creative thinking Logical thinking Problem solving Innovation Underst. Applying Analyzing Evaluating Creating Volunteering & Service Learning Adaptability & Flexibility Humanization Ethnical sense Self-motivation Objective-based management Ethical and Moral Development Knowledge CognitiveSkill KMUTT’s citizenship K nowledge Prof. ThinkingSkill L earingSkill Managements Com m unicationSkill Leadership Alignment 8 การวางแผน การเรียนรู้ระดับ รายวิชาจะเป็นแนวเดียวกับ พันธกิจและวิสัยทัศน์ของสถาบัน และผลเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวแผนการสอนต้องสะท้อน กลยุทธ์ที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์ การเรียนรู้และวิธีวัด การทวนสอบ เป็นการเทียบกับ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ทุกคน ตั้งแต่ระดับรายวิชา หลักสูตรและระดับสถาบัน ซึ่งเป็น กระบวนการป้อนกลับในการพัฒนา คุณภาพ พัฒนาปรับปรุงพิจารณาว่า อะไรที่ควรจะเปลี่ยนเพื่อ ทำให้เกิดการพัฒนา เช่น การแก้ไขผลลัพธ์การเรียนรู้ และวัตถุประสงค์สำหรับ การเปลี่ยนแปลงรอบถัดไป
  • 10. กระบวนการประเมิน หลักฐานการเรียนรู้ องค์ประกอบของการประเมิน เครื่องมือในการประเมิน สูงกว่ามาตรฐานของสมรรถนะ ตามมาตรฐาน ของสมรรถนะ ต่ำกว่า มาตรฐาน ของสมรรถนะ1 2 3 เกณฑ์การประเมิน วินิจฉัย พัฒนา ตัดสิน วิเคราะห์ความรู้ ของผู้เรียนว่าอยู่ ระดับไหนก่อนเรียน ให้ผลตอบกลับ ผู้เรียนเพื่อแสดง การพัฒนาระหว่าง การเรียนรู้ ตัดสินบน ความสำเร็จ ของผู้เรียน Diagnostic Formative Summative การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ รูบิคเป็นเครื่องมือในการประเมิน เขียนไว้ ว่าอะไรที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะทำได้ ประโยชน์ของการสร้างรูบิค - ลดเวลาในอธิบายให้ผู้เรียนฟังว่าทำไมถึงตัดสินให้คะแนน เพราะมีเกณฑ์มาตรฐาน - กำหนดคุณภาพร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนโดยการ เขียนรูบิคร่วม 1 2 3 4 จำ เข้าใจ ประยุกต์ วิเคราะห์ สร้างสรรค์ ประเมิน ยอมรับฟัง ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า ปฎิบัติเป็นนิสัย เลียนแบบ ควบคุมได้ แม่นยำ เปลี่ยนแปลงสไตล์ สไตล์ตนเอง Reinforce Master ก ข ค ไข่ = การประเมินสามารถแบ่งออกเป็นสามโดเมนคือ ด้านปัญญา ทักษะ และเจตคติ และมีลำดับของการพัฒนา ยกตัวอย่างเช่น ในกลุ่มรายวิชาทางภาษา การพัฒนาของด้านปัญญาจะเริ่มจากการจำและเข้าใจภาษา ประยุกต์ภาษาและวิเคราะห์ภาษา ประเมินและสร้างสรรค์ภาษา หลักฐานโดยตรงว่าเด็กเรียนอะไร - การให้คะแนนทักษะเด็กจากสหกิจศึกษา - ระบบตอบคำถาม เช่น clicker - แบบสะท้อนการเรียนรู้ของเด็ก - การสังเกตพฤติกรรมเด็กในห้องเรียน - ผลงานของผู้เรียน หลักฐานทางอ้อม - เกรดของวิชา - อัตราการจ้างงาน - ความพึงพอใจของศิษย์เก่า - รางวัลหรือทุนที่นศ.ได้ หลักฐานกระบวนการเรียนรู้ - แผนการสอน หลักสูตรกิจกรรมต่างๆ - สนททนากลุ่มหรือสัมภาษณ์นักศึกษาว่า ประสบความสำเร็จในการเรียนด้านใดบ้าง - กิจกรรมในห้องสมุดที่เกี่ยวโยงกับหลักสูตร ผลลัพธ์การเรียนรู้ บางอย่างเป็นไป ได้ทั้งสองโดเมน Higherorder thinking 9 Introduce
  • 11. การออกแบบกิจกรรมการสอน......................... ......................... ......................... ................. CLO 1 อธิบายแนวคิดพื้นฐาน ดานระบบสารสนเทศ สถาปตยกรรม รวมอินเตอร เน็ทและเวป ......................... ......................... ......................... ................. CLO 2 อธิบายจริยธรรมที่มีตอสังคม เศรษฐศาสตร และใชระบบ สารสนเทศสำหรับธุรกิจ นานาชาติ ......................... ......................... ......................... ................. CLO 3 ประยุกตองคความรูและวิธี วิทยาดานสารสนเทศ รวมถึง การใชฮารดแวรและซอฟแวร ......................... ......................... ......................... ................. CLO 4 ออกแบบและพัฒนาแบบ จำลองเพื่อที่จะพัฒนา ธุรกรรมดานธุรกิจ ......................... ......................... ......................... ................. CLO 5 ทำงานอยางมีประสิทธิภาพ ในการทำงานเปนทีม การสื่อ สารและนำเสนอขอมูลใน การทำรายงาน Ref: Teaching for quality learning at university : What students does, (Biggs, 2011) the Society for Research into Higher Education & Open University Press, pp. 336 New York. การออกแบบกิจกรรมการสอนที่สัมฤทธิ์ผลนั้น ควรเน้นย้ำให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของกิจกรรม และผลการเรียนรู้ (Learning Outcome; LO) ของผู้เรียนที่พึงประสงค์ ซึ่งการจัดทำแบบนี้ จะช่วยให้เกิดรูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นเชิงประจักษ์ (Assesment tasks) อันจะนำไปสู่การสร้างเกณฑ์การประเมิน (Rubrics) ออกมาในรูปของระดับคะแนนที่จะสามารถแบ่งแยกความระดับสามารถของผู้เรียนในกิจกรรมนั้น ๆ ได้อย่างเที่ยงตรง 10 หัวข้อกิจกรรม จุดเน้นLO รายละเอียด กิจกรรม การวัดและ ประเมินผล Rubrics การเสริมทักษะ การปฏิบัติการ ทางคอมพิวเตอร์ จุดเน้นหลัก: CLO 4 จุดเน้นรอง: CLO 3 และ 5 -การทำกิจกรรมเสริม ทักษะการใช้ซอฟแวร์ -การอภิปรายกลุ่มของ โครงงานทำเว๊ปและ ฐานข้อมูลสำหรับการขาย สินค้าออนไลน์ CLO3 CLO4 เนื้อหา ดีมาก ดี เพียงพอ เริ่มต้น ความคิด สร้างสรรค์ การออก แบบ CLO4 สร้างสรรค์ น้อย สร้างสรรค์ สูง มีเอก- ลักษณ์ ออกแบบ มามีความ คิดสร้าง สรรค์ ออกแบบ ได้ระดับ กลาง ออกแบบ ระดับ มืออาชีพ การออก แบบมีข้อ ผิดพลาด น้อย คุณภาพ แบบกลางๆ ยอมรับได้ ทั่ว ๆ ไป งานกลุ่ม (35%) โครงการจะถูกแบ่งออก เป็นสามส่วนแต่ละส่วนถูก ออกแบบมาให้ประเมิน ความสามารถของผู้เรียน ในการสร้างเว๊ป ฐานข้อมูล โมเดลในการสร้างธุรกิจ จุดเน้นหลัก CLO 3 และ 4 จุดเน้นรอง CLO 5 ตัวอย่างการออกแบบกิจกรรมการสอน
  • 12. การจัดการห้องเรียนในรูปแบบ Active learning บทบาทการเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ Facilitator อาจารย์จะเป็นผู้ชี้แนะหรือโค้ชผู้เรียนให้ได้สมรรถนะ ตามที่ระบุไว้ในผลลัพธ์การเรียนรู้ PLAN LO .................. Assessment ........................ Activities ........................... IND434 การออกแบบแผนการสอนเพื่อสร้างกิจกรรมที่ ตอบผลลัพธ์การเรียนรู้โดยใช้ LEB2 ซึ่งเป็นซอฟแวร์ บริหารจัดการในห้องเรียนที่ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับ การสอนและดูสมรรถนะของผู้เรียนตลอดหลักสูตร เทคนิคการสอนที่เป็น Active learning จะทำให้เกิดการคิดที่เป็น Higher order thinking และทำให้เกิดความมีส่วนร่วมระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เทคนิคการสอนจะมีความแตกต่างกันตาม ศาสตร์ของวิชาชีพนั้นๆ เช่น การสอนแบบวิทยาศาสตร์ เทคนิคการสอนก็จะเน้นไปในเรื่องของการตั้งคำถาม การค้นคว้า ถ้าเป็นวิศวกรรมก็จะเป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องการประยุกต์ การสร้าง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นผู้สอนต้องคัด เลือกสิ่งที่เป็น Main concept และพยายามเชื่อมโยงเข้าสู่ประสบการณ์ของผู้เรียน นอกจากนี้แล้วยังต้อง ต่อยอดกับวิชาอื่นเหมือน Building block. สื่อการสอนและโต๊ะ สำหรับวางวัสดุ สำหรับกิจกรรมต่างๆ โต๊ะจะถูกออกแบบให้สามารถปรับ เป็นรูปทรงต่างๆได้และเคลื่อนย้าย ไปมาได้สะดวก ในหนึ่งโต๊ะจะถูก ออกแบบมาให้สามารถทำงานเป็น ทีม ห้องเรียนในลักษณะผสมระหว่างห้องปฏิบัติการ และโต๊ะทำงานกลุ่มที่สามารถบรรยายและจัด กิจกรรมได้หลากหลาย 11
  • 13. ทิ้งท้าย Outcome based education เน้นการเรียนรู้เป็นสำคัญโดยเริ่มจาก สามัตถิยะ (Competencies) ที่ได้จากลักษณะเด่นของสถาบันนั้นๆ บวกกับ ความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต แล้วจึงแปลงออกมาเป็นผลลัพธ์ การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLO-Program learning outcome) หลังจากนั้น จึงสร้างผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับวิชา (CLO -Course learning outcome) และใช้แผนที่หลักสูตร (Curriculum mapping) ในการช่วยตรวจดูว่า วิชาใดจะรับผิดชอบในการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนและส่งต่อให้วิชา อื่นอย่างไร ผู้สอนก็ต้องนำ CLO มาเป็นตัวตั้งเพื่อที่จะออกแบบแผนการสอน ที่ต้องมีทั้งเรื่องการประเมิน (Assess) และแนวคิดทางการสอน(Teaching approach) อันจะนำมาสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน การทำ OBE ไม่ได้เน้นที่ปริมาณความรู้หรือเนื้อหาที่จะสอนให้ผู้เรียน แต่จะ เน้นที่หลักการ(Concept) ที่ผู้เรียนสามารถนำไปต่อยอดได้ เพราะความรู้ ในโลกอนาคตสามารถหาได้ง่ายกว่าปัจจุบัน ทั้งจากระบบการเรียนออนไลน์ต่างๆ เช่น MOOC ดังนั้นหน้าที่ส่วนที่เหลือของผู้สอนคือ การอำนวยการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนด้วยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบใหม่ที่ท้าทายและให้เกิดผลลัพธ์ การเรียนรู้ การเรียนรู้จึงไม่ได้อยู่ที่มองว่า Output หรือสิ่งที่ได้จากผู้เรียน นั้นถูกหรือผิด แต่อยู่ที่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ Learn how to learn เพื่อทำให้ผู้เรียนพร้อมที่จะเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ หรือค้นหาความรู้ใหม่ๆได้ ด้วยตนเองเมื่อได้จบการศึกษาไปแล้ว การที่จะทำให้ OBE บรรลุผลจึงไม่ใช่แค่การทำเอกสาร แต่อยู่ที่การค้นหากลยุทธ์ วิธีการปัญหาและอุปสรรคที่ผู้เรียนประสบ และการทำ OBE ให้สำเร็จเกิดขึ้นได้ หลายระดับตั้งแต่วิชาของตนเองไปจนถึงระดับหลักสูตรและมหาวิทยาลัย หลักการ สำคัญคือการเปลี่ยนผู้เรียนที่เป็นลักษณะเดิมที่เก่งในเรื่องการท่องจำเหมือนนกแก้ว ให้มาเป็นนกฮูกที่เป็นผู้รู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 12 C4ED มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี