SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์
-ภาษาคอมพิวเตอร์
-โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
-องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
1. ภาษาคอมพิวเตอร์
 คาสั่งหรือชุดคาสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียน
เป็นคาสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อ
เรียกว่า "โปรแกรม"
1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็น
ภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความ
เข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์
เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดี
ในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมอาร์ดาแวร์แต่ละส่วนได้
โดยตรงจึงทางานได้เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนา
โปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง
(Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี
(Assembly Language) เป็นต้น
2. ภาษาระดับสูง (High Level Language)
เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของการใช้
คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการ
สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปลความหมายของ
คาสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า
Interpreter หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่
เรียกว่า Compiler
2. โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
 ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ ไปเป็น
ภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามคาสั่งได้โดยโปรแกรมที่เขียนจะเป็นโปรแกรมต้นฉบับหรือซอร์สโค้ด
(source code) ซึ่งโปรแกรมเมอร์เขียนคาสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรมและจาเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อ
ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียนถูกต้องหรือไม่ และทดสอบผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรซึ่งภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ จะมีตัวแปล
ภาษาของตนเองโดยเฉพาะโปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วจะเรียกว่าออบเจ็คโค้ด (object code) ซึ่งเป็นภาษาเครื่อง
ที่ประกอบด้วย รหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไป 2 ประเภทดังนี้
 1. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องโดยใช้หลักการแปลคาสั่งครั้ง
ละ 1 คาสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนาคาสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่พบข้อผิดพลาด
หลังจากนั้นจะแปลคาสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรมในระหว่างการแปลคาสั่งถ้าหากพบข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา
โปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์ก็จะหยุดการทางานพร้อมแจ้งข้อผิดพลาดให้ทาการแก้ไขซึ่งทาได้ง่ายและรวดเร็วแต่ออบเจ็คโค้ดที่ได้จาก
การแปลคาสั่งโดยใช้อินเทอพรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งานทาให้โปรแกรม
ทางานได้ค่อนข้างช้า
 2. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องโดยทาการตรวจสอบความถูกต้องของการ
เขียนคาสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทาการแปลคาสั่งไปเป็นภาษาเครื่องจากนั้นจึงทาการประมวลผลและ
แสดงผลลัพธ์หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคาสั่งที่ผิดหลักไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์
จะแจ้งให้โปรแกรมเมอร์ทาการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีกครั้งจนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนาโปรแกรมไป
ใช้งานได้
ข้อดีของคอมไพเลอร์ คือโปรแกรมออปเจ็คโค้ดที่ได้จะรวบรวมคาสั่งที่สาคัญในการรันโปรแกรมไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง
ทาให้การทางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงเป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
3. องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
 ส่วนหัวของโปรแกรม (Header) เป็นส่วนที่จะต้องเขียนไว้เพื่อให้ใช้งานฟังก์ชันต่างๆ ในกรณีที่ต้องการทราบว่าฟังก์ชัน
ใดถูกนิยามใว้ที่ใด โดยให้ทาแถบสีที่ฟังก์ชันนั้นๆ และกดปุ่ม Ctel+f1
 ส่วนฟังก์ชันหลัก(Function) เป็นฟังก์ชันหลักของโปรแกรมโดยภายในวงเล็บนั้น (main())
 ส่วนคาสั่ง (Statemnt)เป็นส่วนที่ใช้เขียนประโยคคาสั่ง
 ส่วนแสดงผล (Comment) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการในโปรแกรม
 ส่วนปิดโปรแกรม (End) ใช้ปีกกาปิด (}) แสดงการจบการเขียนโปรแกรม
หน่วยที่ 3 ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา (Algorithm)
-การวิเคราะห์ปัญหา
-การวิเคราะห์ขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาอย่างง่าย
-การกาหนดค่าตัวแปร
-การเขียนอัลกอริทึม (Algorithm) ปละรหัสเทียม (Pseudo Code)
1. การวิเคราะห์ปัญหา
การวิเคราะห์ปัญหามีดังนี้
 สิ่งที่ต้องการ (Need)
 การนาข้อมูลเข้า (Input)
 การประมวลผล (Processing)
 การแสดงผลลัพธ์ที่ต้องการ (Desried Results)
2. การวิเคราะห์ขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาอย่างง่าย
 กาหนดปัญหาต่าง ๆ และสิ่งที่ต้องการ (Requirement)
 กาหนดข้อมูลเข้า (Input) และ ข้อมูลออก (Output)
 ทดลองแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง(Hand Example)
3. การกาหนดค่าตัวแปร
 ตัวแปร (Variable) ตัวแปรจะเป็นชื่อที่ใช้ในการบอกจานวนหรือปริมาณ ซึ่งสามารถ
ที่จะทาการเปลี่ยนแปลงจานวนได้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตั้งชื่อตัวแปร จะต้องตั้ง
ชื่อให้แตกต่างไปจากชื่อของตัวแปรอื่นๆ ยกตัวอย่างชื่อของตัวแปร ได้แก่ x, y,
peter, num_of_points และ streetnum เป็นต้น โดยปกติการเขียน
โปรแกรมที่ดี ควรจะตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับการทางานหรือหน้าที่ของตัวแปรนั้นๆ
เพราะเมื่อถึงเวลาต้องมาทาการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม จะสามารถทาได้โดยไม่ยากนักใน
ภาษา C หรือ C++ ได้มีกฎในการตั้งชื่อตัวแปรที่สามารถใช้งาน
4. การเขียนอัลกอริทึม (Algorithm)
และรหัสเทียม (Pseudo Code)
 การออกแบบโปรแกรม เช่น การเขียนอัลกอริทึม การเขียนรหัสเทียม
 การเขียนอัลกอริทึม หมายถึง การอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานในลักษณะของข้อความ
 การเขียนรหัสเทียม เป็นส่วนที่ต่อจากการเขียนอัลกอริทึม โดยรหัสเทียมจะเป็นการเขียน
ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม

More Related Content

What's hot

13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาRavib Prt
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1wachiradej
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 

What's hot (20)

13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
 
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 

Similar to 12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7

03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9naraporn buanuch
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศPhutawan Murcielago
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9naraporn buanuch
 
สอบ
สอบสอบ
สอบRewTD89
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์naraporn buanuch
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9naraporn buanuch
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

Similar to 12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7 (18)

14 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-714 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-7
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 
10 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-910 ชยานนท์ 3-9
10 ชยานนท์ 3-9
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
 
123456
123456123456
123456
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 

More from naraporn buanuch

06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7naraporn buanuch
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7naraporn buanuch
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

More from naraporn buanuch (15)

07 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-907 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-9
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
44 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-744 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 

12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7

  • 2. 1. ภาษาคอมพิวเตอร์  คาสั่งหรือชุดคาสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียน เป็นคาสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อ เรียกว่า "โปรแกรม" 1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็น ภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความ เข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์ เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดี ในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมอาร์ดาแวร์แต่ละส่วนได้ โดยตรงจึงทางานได้เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนา โปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นต้น 2. ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของการใช้ คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการ สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปลความหมายของ คาสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่ เรียกว่า Compiler
  • 3. 2. โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์  ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลความหมายของคาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ ไปเป็น ภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานตามคาสั่งได้โดยโปรแกรมที่เขียนจะเป็นโปรแกรมต้นฉบับหรือซอร์สโค้ด (source code) ซึ่งโปรแกรมเมอร์เขียนคาสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรมและจาเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อ ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียนถูกต้องหรือไม่ และทดสอบผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรซึ่งภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ จะมีตัวแปล ภาษาของตนเองโดยเฉพาะโปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วจะเรียกว่าออบเจ็คโค้ด (object code) ซึ่งเป็นภาษาเครื่อง ที่ประกอบด้วย รหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไป 2 ประเภทดังนี้  1. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องโดยใช้หลักการแปลคาสั่งครั้ง ละ 1 คาสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนาคาสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่พบข้อผิดพลาด หลังจากนั้นจะแปลคาสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรมในระหว่างการแปลคาสั่งถ้าหากพบข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา โปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์ก็จะหยุดการทางานพร้อมแจ้งข้อผิดพลาดให้ทาการแก้ไขซึ่งทาได้ง่ายและรวดเร็วแต่ออบเจ็คโค้ดที่ได้จาก การแปลคาสั่งโดยใช้อินเทอพรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งานทาให้โปรแกรม ทางานได้ค่อนข้างช้า  2. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องโดยทาการตรวจสอบความถูกต้องของการ เขียนคาสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทาการแปลคาสั่งไปเป็นภาษาเครื่องจากนั้นจึงทาการประมวลผลและ แสดงผลลัพธ์หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคาสั่งที่ผิดหลักไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์ จะแจ้งให้โปรแกรมเมอร์ทาการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีกครั้งจนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนาโปรแกรมไป ใช้งานได้ ข้อดีของคอมไพเลอร์ คือโปรแกรมออปเจ็คโค้ดที่ได้จะรวบรวมคาสั่งที่สาคัญในการรันโปรแกรมไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทาให้การทางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงเป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
  • 4. 3. องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ มีดังนี้  ส่วนหัวของโปรแกรม (Header) เป็นส่วนที่จะต้องเขียนไว้เพื่อให้ใช้งานฟังก์ชันต่างๆ ในกรณีที่ต้องการทราบว่าฟังก์ชัน ใดถูกนิยามใว้ที่ใด โดยให้ทาแถบสีที่ฟังก์ชันนั้นๆ และกดปุ่ม Ctel+f1  ส่วนฟังก์ชันหลัก(Function) เป็นฟังก์ชันหลักของโปรแกรมโดยภายในวงเล็บนั้น (main())  ส่วนคาสั่ง (Statemnt)เป็นส่วนที่ใช้เขียนประโยคคาสั่ง  ส่วนแสดงผล (Comment) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการในโปรแกรม  ส่วนปิดโปรแกรม (End) ใช้ปีกกาปิด (}) แสดงการจบการเขียนโปรแกรม
  • 5. หน่วยที่ 3 ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา (Algorithm) -การวิเคราะห์ปัญหา -การวิเคราะห์ขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาอย่างง่าย -การกาหนดค่าตัวแปร -การเขียนอัลกอริทึม (Algorithm) ปละรหัสเทียม (Pseudo Code)
  • 6. 1. การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหามีดังนี้  สิ่งที่ต้องการ (Need)  การนาข้อมูลเข้า (Input)  การประมวลผล (Processing)  การแสดงผลลัพธ์ที่ต้องการ (Desried Results)
  • 7. 2. การวิเคราะห์ขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาอย่างง่าย  กาหนดปัญหาต่าง ๆ และสิ่งที่ต้องการ (Requirement)  กาหนดข้อมูลเข้า (Input) และ ข้อมูลออก (Output)  ทดลองแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง(Hand Example)
  • 8. 3. การกาหนดค่าตัวแปร  ตัวแปร (Variable) ตัวแปรจะเป็นชื่อที่ใช้ในการบอกจานวนหรือปริมาณ ซึ่งสามารถ ที่จะทาการเปลี่ยนแปลงจานวนได้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตั้งชื่อตัวแปร จะต้องตั้ง ชื่อให้แตกต่างไปจากชื่อของตัวแปรอื่นๆ ยกตัวอย่างชื่อของตัวแปร ได้แก่ x, y, peter, num_of_points และ streetnum เป็นต้น โดยปกติการเขียน โปรแกรมที่ดี ควรจะตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับการทางานหรือหน้าที่ของตัวแปรนั้นๆ เพราะเมื่อถึงเวลาต้องมาทาการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม จะสามารถทาได้โดยไม่ยากนักใน ภาษา C หรือ C++ ได้มีกฎในการตั้งชื่อตัวแปรที่สามารถใช้งาน
  • 9. 4. การเขียนอัลกอริทึม (Algorithm) และรหัสเทียม (Pseudo Code)  การออกแบบโปรแกรม เช่น การเขียนอัลกอริทึม การเขียนรหัสเทียม  การเขียนอัลกอริทึม หมายถึง การอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานในลักษณะของข้อความ  การเขียนรหัสเทียม เป็นส่วนที่ต่อจากการเขียนอัลกอริทึม โดยรหัสเทียมจะเป็นการเขียน ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม