SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages)
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง
ที่เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทา งาน ซึ่งสามารถ
ที่จะประมวลผลงานได้หลาย ๆ คา สั่ง และรวดเร็วกว่ามนุษย์มาก
การที่จะให้คอมพิวเตอร์ทา งาน ก็จะต้องป้อนคา สั่งให้มัน และคาสั่ง
นั้นจะต้องเป็นคา สั่งที่คอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย ซึ่งคาสั่งเหล่า นนั้
เราเรียกว่า ภาษาโปรแกรม เมื่อ โปรแกรมถูก ป้อ น เขา
ไปในเครื่องคอมพิวเตอร ์ เครื่องจะทา งานทีละคา สั่งภาษาที่ค อมพิว
เตอร์ เรียกว่า ภาษาเครื่อ ง (Machine Language) ซึ้งเป็น
เลขฐานสองและจะถูกแปลงเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา
ก็คือต้องมีคาสั่งต่อไปนี้
1. คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล
คาสั่งประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา
กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด
และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด
2. คาสั่งคานวณ
โปรแกรมหรือคาสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท
บวก ลบ คูณ หาร
3. คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น
ถ้ามากกว่าให้ทาอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทาอย่างหนึ่ง
หรือน้อยกว่าให้ทาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น
นอกจากนั้นอาจมีคาสั่งประเภทให้ทางานเป็นวงซ้าแล้วซ้าอีก
จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้
หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้
4. คาสั่งให้นาโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก
และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาเครื่อง
ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ
ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด
ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก
แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที
คาสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน
ส่วนแรกเป็นคาสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทาอะไร
เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคา Operation
code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนาข้อมูลมาจากที่ใด
เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคาสั่งภาษานี้
ผู้ทาโปรแกรมจะต้องจาที่อยู่ (Address)
ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้
อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจาได้
มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น
ถ้าจะสั่งให้นาค่าที่หน่วยความจาเลขที่ 0184
บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจา 8672 จะเขียนว่า
00100000000000000000000000010111000
หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก
คาสั่งของภาษาเครื่องนี้
จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ภาษาเครื่อง (Machine Language)
เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น
การใช้
ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก
นอกจากจะต้องจาคาสั่งเป็นลาดับของเลข 0 กับ 1
แล้วยังจะต้องออกคาสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย
ตัวอย่างเช่น
คาสั่งภาษาเครื่องสาหรับบวกเลขสองจานวนอาจมีลักษณะดังนี้
0110000000000110
0110110000010000
1010010000010001
ภาษามนุษย์
ภาษามนุษย์
เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย
มนุษย์ก็คิดหาวิธีทาหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น
จึงมีผู้คิดให้มีการทาโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยแ
ละจาได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์
โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เค
รื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language)
โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย
การพัฒนาเช่นนี้ทาให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มา
กขึ้นการสั่งงานจึงทาได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที
ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ
2.1 ภาษาระดับต่า (Low level language)
2.2 ภาษาระดับสูง (High level language)
ภาษาระดับต่า หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก
ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น
ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น
ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code
อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี
(Assembly language)
เมื่อคอมพิวเตอร์รับคาสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว
ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler)
ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ
โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source
program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า
โปรแกรมผล (Object program)
ภาษาระดับสูง (High Level Language)
เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์
โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคาสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ
ออกมาให้รัดกุม และจาได้ง่าย
ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น
ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่
ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C
ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG
ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา
Cโปรแกรมที่จัดทาขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษ
าสัญลักษณ์คือ
จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน
คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานให้ได้
ตัวอย่างภาษาระดับสูง
1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose
Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง
ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที
(Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย
การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท
"ตัวแปลคาสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง
การแปลนั้นจะแปลทีละคาสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคาสั่งเลย
ถ้ามีการสั่งให้ทาซ้า ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง
ภาษาเบสิก
เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้
นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้
และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้
นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง
อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน
คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย
ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจารอม
เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้
2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คานี้ย่อมาจาก Formular
Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM
ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคานวณทางวิทยาศาสตร์
ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น
FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคานวณมาก
จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย
ในการคานวณจะมีฟงงก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น
การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น
แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure)
ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกาหนดเฉพาะที่ไม่สับสน
กาหนดถึงลาดับของวิธีการ(operations)
ซึ่งให้ผลลัพธ์สาหรับปงญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจานวนจากัด
โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ
และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซ้า (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive)
โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison)
ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทางาน
ในการทางานอย่างเดียวกัน
เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปงญหาได้
โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้
และจะมีความแตกต่าง ที่จานวนและชุดคาสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้
เวลา (time) และขนาดหน่วยความจา (space) ที่ต้องการต่างกัน
หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน
การนาขั้นตอนวิธีไปใช้
ไม่จากัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แต่สามารถใช้กับปงญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า,
การทางานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปงญหาในธรรมชาติ เช่น
วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง
คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี
1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์
อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคาสั่งจาลอง
2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness)
3. การประมวลผล operations
ที่กาหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลาดับที่แน่นอน(effectiveness)
4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กาหนดในปงญหา
โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality)
5.
ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness)
ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
1. เข้าใจปงญหา
2. วางแผนลาดับขั้นตอนการแก้ปงญหา
3. เขียนโปรแกรม
4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง
5. ทดสอบโปรแกรม
6. นาโปรแกรมไปใช้
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์
มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทางาน
การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ
เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทาให้เห็นขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน
มีลูกศรกากับทิศทางการทางานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น
และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน
คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm)
เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง
ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า
ผังงานมี 2 ชนิด คือ
1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ
ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง ๆ
แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ
ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล
คานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
สัญลักษณ์ของผังงาน
โปรแกรมโครงสร้าง
ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ
1. การทางานแบบตามลาดับ(Sequence)
รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทางานจากบนลงล่าง
เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด
และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด
สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
2. การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision or Selection)
การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ
เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา
2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง
และเป็นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น
จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น
ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย
เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
3. การทาซ้า(Repeation or Loop)
การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม
หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2
รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา
จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน
ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง
ประโยชน์ของผังงาน
1. ทาให้เข้าใจ และแยกแยะปงญหาได้ง่าย (Problem Define)
2. แสดงลาดับการทางาน (Step Flowing)
3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug)
4. ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read)
5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language
รหัสเทียม (Pseudo code)
รหัสเทียม (Pseudo code) คือ
การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอ
นกะทัดรัด
และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภา
ษาใดภาษาหนึ่ง
การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว
แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์
เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม
1. ประโยคคาสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย
2. ประโยคคาสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น
3. คาหลัก (key word)
และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม
4. คาสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว
5.
กลุ่มของประโยคคาสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจาเพาะ(Module)
และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก
การเขียนรหัสเทียม
การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้
1. การกาหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล
1.1 กาหนดค่าเริ่มต้น คาที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA
= 500
1.2
กาหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย =
เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA
2. การรับข้อมูล คาที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA
3. การแสดงข้อมูลออก คาที่ใช้ Print ,Write , Put , Display ,
Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA
4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) *
5/9
5. การเปรียบเทียบและทาการเลือก คาที่ใช้ IF, THEN, ELSE
6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้า คาที่ใช้คือ DOWHILE และ
END DO
ปาสคาล (Pascal)
ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สาหรับคอมพิวเตอร์
เนื่องจากมีรูปแบบคาสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ)
มีลาดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure
language)
ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจาเป็นที่จะต้องมี
ตัวแปลคาสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้
ตัวแปลคาสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ
1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทาการแปล
ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง
โดยจะทาการแปลคาสั่งทีเดียวหมดทุกคาสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error)
ก็จะทาการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย
การแปลแบบนี้ทาให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด
(ชุดคาสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด
นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนาไปประมวลผล(execute) หรือ
รัน(run) ได้ทันที
2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter)
เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคาสั่ง
เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error)
ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้
จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทางานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า
คอมไพเลอร์
โครงสร้างของภาษาปาสคาล
ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้
1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header)
ใช้สาหรับกาหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคาว่า
PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม
ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น
เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ;
ใช้สาหรับจบคาสั่ง
2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม
บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น
- กาหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type
- กาหนดตัวแปรโดยใช้ VAR
ชนิดของตัวแปร
1. จานวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer
2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char
3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string
4. จานวนจริง เช่น 1.414 คือ real
- กาหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST
- กาหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure
- กาหนดฟงงก์ชั่น Function
3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body)
ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคาสั่งต่าง ๆ
ที่จะให้โปรแกรมทางาน โดยนาคาสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน
แต่ละประโยคคาสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; )
โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END
ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’
คาสั่งในการเขียนโปรแกรม
คาสั่งประกาศตัวแปร
var a,b,c : integer;
- ประกาศตัวแปร a,b,c เป็นชนิด integer
const tax = 0.07;
- ประกาศตัวแปร tax เป็นชนิดค่าคงที่ และกาหนดค่าเท่ากับ
0.07
คาสั่งรับค่า
read(x);
- รับค่าจากแป้นพิมพ์ เก็บไว้ในตัวแปร x
readln(y);
- รับค่าจากแป้นพิมพ์ เก็บไว้ในตัวแปร y แล้วขึ้นบรรทัดใหม่
readln;
- คาสั่งรอรับการ enter
คาสั่งแสดงผล
write(‘ข้อความ’);
- สั่งแสดง ข้อความ ออกทางจอภาพ
writeln(‘ข้อความ’);
- สั่งแสดง ข้อความ ทางจอภาพ แล้วขึ้นบรรทัดใหม่
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม
ภาษา BASIC
เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมาก
ใช้สาหรับผู้เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรมและผู้ที่เขียนโปรแกรมเป็นง
านอดิเรก นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสั้น ๆ ภาษา BASIC รุ่นแรกใช้
interpreter เป็นตัวแปลภาษา ทาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ
และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย
ภาษา Pascal
เป็นภาษาระดับสูงที่เอื้ออานวยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมได้อย่
างมีโครงสร้าง และเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาอื่น
นิยมใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
เป็นภาษาสาหรับการเรียนการสอน และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง
ๆ
ภาษา C
และ C++ ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปีค.ศ. 1972
ที่ห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT&T
เป็นภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการ UNIX
ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมคู่กับภาษาซี
และมีการใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ ภาษา
เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นักเขียนโปรแกรมเป็นอย่างม
าก เนื่องจากภาษา
จะเป็นภาษาที่รวมเอกข้อดีของภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่นแ
ละไวยากรณ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ
JAVA
ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปงจจุบัน
คงจะไม่มีภาษาไหนที่เทียบได้รับภาษาจาวาซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นโดย
บริษัทซันไมโครซิสเตมส์ ในปี 1991
โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเล็คทรอนิกส์สาหรับผู้บริโภคที่ง่าย
ต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่า ไม่มีข้อผิดพลาด
และสามารถใช้กับเครื่องใด ๆ ก็ได้
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็ได้กลายเป็นข้อดีของจาวาที่เหนื่อกว่าภาษาอื่น ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การที่โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นด้วยจาวาสามารถนาไปใช้กับเครื่องต่าง ๆ
โดยไม่ต้องทาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่
ทาให้ไม่จากัดอยู่กับเครื่องหรือโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง
แม้ว่าการใช้งานจาวาในช่วงแรกจะจากัดอยู่กับ World Wide Web
(WWW) และ Internet
แต่ในปงจจุบันได้มีการนาจาวาไปประยุกต์ใช้กับงานด้านซอฟต์แวร์ต่าง
ๆ อย่างมากมาย
ตัวแปลภาษา
อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เช่น ภาษาเบสิก การทา
งานจะแปลความ หมายของคา สั่งทีละคา สั่ง
ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดเครื่องจะทา งานตามคา สั่งที่แปลได้
แต่ถ้าพบข้อผิด พลาดจะหยุดทา งานและแจ้งข้อผิดพลาดออกมา
คอมไพเลอร์ (Compiler) โดยจะทา
การแปลงโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมดให้เป็นรหัสภาษาเครื่อง และถ้า
พบขอ้ ผดิ พลาดกจ็ ะแจง้ ออกมา ข้อดีคือ การแปลงแบบนี้ก็คือ
จะทางานได้เร็วขึ้น เพราะเครื่องไม่ต้อง แปลอีกเมื่อถึงคา สั่งถัดไป
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1.การวิเคราะห์ปงญหาเป็นขั้นตอนแรกสุด ตอนแรกสุดที่นักเขียนโปรแก
รมต้องทา มีขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้
-กาหนดขอบเขตของปงญหา โดยการกา หนดให้ชัดเจนว่าจะทา
งานอะไร ตัวแปรค่าคงที่ ที่ต้องใช้มี ลักษณะใด
-กาหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ (Input/Output
Specification) กา หนดว่าข้อมูลที่ จะส่งเข้าถึงผู้ใช้เป็นหลัก
-กาหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification)
2.การเขียนผังงาน หลังจากได้เคราะห์ปงญหาแล้ว
ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการเขียนผังงาน โดยใช้เครืองมือในการออก แบบ
ซึ่งยังไม่ได้เขียนเป็นโปรแกรมจริง ๆ โดยลา
ดับขั้นตอนของการทางานโปรแกรม เราเรียกว่า อัลกอริทึม
(Algorithm) โดยจะถูกเขียนอยู่ในรูปของ ซูโดโค้ด (Pseudo Code)
หรือ เขียนเป็นผังงาน (Flowchart)
โดยแต่ละส่วนจะเป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
3.การเขียนโปรแกรม ขั้นตอนนี้เ ป็นขั้นของการเขียนโปรแกรม
เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ การเขียน
โปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
โดยจะใช้ภาษาระดับใดก็ได ้ ซึ่งจะต้องเขียนให้ถูก หลักไวยากรณ์
(Syntax) ของภาษานั้น ๆ
4.การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม หลังจากการเขียนโปรแกรมจะต้องท
ดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้นว่ามีข้อผิดพลาดหรือ ไม่
ซึ่งเรียกว่า ดีบัก (Debug) ซึ่งโดยทั่วไปข้อผิดพลาด (Bug) มี 2 ประเภท
คือ 1.! Syntax error คือ การเขียนคา
สั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมของภาษานั้น ๆ โปรแกรม
จะไม่สามารถทา งานได้ 2.! Logic error เป็นข้อผิดพลาดทางตรรกะ
โปรแกรมสามารถทา งานได้แต่ผลลัพธ์จะไม่ถูกต้อง
การเขียน Flowchart
1.การทางานแบบลาดับ ( Sequence)
2.การทางานตามเงื่อนไข (Condition)
3การทาซ้า (Iteration , Loop)
อัลกอริทึม (Algorithm)
-คือ กลุ่มของขั้นตอนหรือกฎเกณฑ์ที่จะนาพาไปสู่การแก้ปงญหา
-คือ ขั้นตอนวิธีที่ประกอ้บด้วยชุดคาสั่งเป็นขั้นเป็นตอนที่ชัดเจน
-คือ รูปแบบของการกาหนดการทางานอย่างเป็นขั้นตอน
ซึ่งผ่านการวิเคราะห์แล้ว
รหัสเทียม หรือซูโดโค้ด (Pseudo Code)
คือ รหัสจาลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทึม
โดยมีถ้อยคาหรือประโยคคาสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่
ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ใดภาษาหนึ่ง

More Related Content

What's hot

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาRavib Prt
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา Chanikan Kongkaew
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Diiz Yokiiz
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 

What's hot (20)

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
Language
LanguageLanguage
Language
 

Similar to ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์bpatra
 
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25Fai Sudhadee
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยาJiJee Pj
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31Starng Sathiankhetta
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อThanisorn Deenarn
 

Similar to ภาษาคอมพิวเตอร์ (20)

หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ฝ้าย 55
ฝ้าย 55ฝ้าย 55
ฝ้าย 55
 
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
 
ฝ้าย 55
ฝ้าย 55ฝ้าย 55
ฝ้าย 55
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
นาวสาว หัทยา
นาวสาว   หัทยานาวสาว   หัทยา
นาวสาว หัทยา
 
123456
123456123456
123456
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 

ภาษาคอมพิวเตอร์

  • 1. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ที่เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทา งาน ซึ่งสามารถ ที่จะประมวลผลงานได้หลาย ๆ คา สั่ง และรวดเร็วกว่ามนุษย์มาก การที่จะให้คอมพิวเตอร์ทา งาน ก็จะต้องป้อนคา สั่งให้มัน และคาสั่ง นั้นจะต้องเป็นคา สั่งที่คอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย ซึ่งคาสั่งเหล่า นนั้ เราเรียกว่า ภาษาโปรแกรม เมื่อ โปรแกรมถูก ป้อ น เขา ไปในเครื่องคอมพิวเตอร ์ เครื่องจะทา งานทีละคา สั่งภาษาที่ค อมพิว เตอร์ เรียกว่า ภาษาเครื่อ ง (Machine Language) ซึ้งเป็น เลขฐานสองและจะถูกแปลงเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคาสั่งต่อไปนี้ 1. คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คาสั่งประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คาสั่งคานวณ โปรแกรมหรือคาสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทาอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทาอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคาสั่งประเภทให้ทางานเป็นวงซ้าแล้วซ้าอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คาสั่งให้นาโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก
  • 2. และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คาสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคาสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทาอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคา Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนาข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคาสั่งภาษานี้ ผู้ทาโปรแกรมจะต้องจาที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจาได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นาค่าที่หน่วยความจาเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจา 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คาสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น
  • 3. การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจาคาสั่งเป็นลาดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคาสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คาสั่งภาษาเครื่องสาหรับบวกเลขสองจานวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทาหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทาโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยแ ละจาได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เค รื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย
  • 4. การพัฒนาเช่นนี้ทาให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มา กขึ้นการสั่งงานจึงทาได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่า (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่า หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคาสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคาสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจาได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C
  • 5. ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทาขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษ าสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคาสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคาสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคาสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทาซ้า ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้ นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้ นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจารอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คานี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM
  • 6. ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคานวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคานวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคานวณจะมีฟงงก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกาหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กาหนดถึงลาดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สาหรับปงญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจานวนจากัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซ้า (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทางาน ในการทางานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปงญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จานวนและชุดคาสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจา (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนาขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จากัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปงญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า,
  • 7. การทางานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปงญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคาสั่งจาลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กาหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลาดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กาหนดในปงญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม 1. เข้าใจปงญหา 2. วางแผนลาดับขั้นตอนการแก้ปงญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นาโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทางาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ
  • 8. เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทาให้เห็นขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน มีลูกศรกากับทิศทางการทางานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
  • 10. โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทางานแบบตามลาดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย
  • 11. เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทาซ้า(Repeation or Loop) การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน
  • 12. 1. ทาให้เข้าใจ และแยกแยะปงญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลาดับการทางาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอ นกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภา ษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคาสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคาสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คาหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คาสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคาสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจาเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก
  • 13. การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกาหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กาหนดค่าเริ่มต้น คาที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กาหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คาที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คาที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทาการเลือก คาที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้า คาที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO
  • 14. ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สาหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคาสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลาดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจาเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคาสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคาสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทาการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทาการแปลคาสั่งทีเดียวหมดทุกคาสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทาการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทาให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคาสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนาไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคาสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทางานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้
  • 15. 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สาหรับกาหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคาว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สาหรับจบคาสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กาหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กาหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จานวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จานวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กาหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST
  • 16. - กาหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กาหนดฟงงก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทางาน โดยนาคาสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคาสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’
  • 17. คาสั่งในการเขียนโปรแกรม คาสั่งประกาศตัวแปร var a,b,c : integer; - ประกาศตัวแปร a,b,c เป็นชนิด integer const tax = 0.07; - ประกาศตัวแปร tax เป็นชนิดค่าคงที่ และกาหนดค่าเท่ากับ 0.07 คาสั่งรับค่า read(x); - รับค่าจากแป้นพิมพ์ เก็บไว้ในตัวแปร x readln(y); - รับค่าจากแป้นพิมพ์ เก็บไว้ในตัวแปร y แล้วขึ้นบรรทัดใหม่ readln; - คาสั่งรอรับการ enter คาสั่งแสดงผล write(‘ข้อความ’); - สั่งแสดง ข้อความ ออกทางจอภาพ writeln(‘ข้อความ’); - สั่งแสดง ข้อความ ทางจอภาพ แล้วขึ้นบรรทัดใหม่
  • 18. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ภาษา BASIC เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สาหรับผู้เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรมและผู้ที่เขียนโปรแกรมเป็นง านอดิเรก นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสั้น ๆ ภาษา BASIC รุ่นแรกใช้ interpreter เป็นตัวแปลภาษา ทาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย ภาษา Pascal เป็นภาษาระดับสูงที่เอื้ออานวยให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมได้อย่ างมีโครงสร้าง และเขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาอื่น นิยมใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาสาหรับการเรียนการสอน และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษา C และ C++ ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปีค.ศ. 1972 ที่ห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT&T เป็นภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการ UNIX ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมคู่กับภาษาซี และมีการใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ ภาษา เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นักเขียนโปรแกรมเป็นอย่างม าก เนื่องจากภาษา จะเป็นภาษาที่รวมเอกข้อดีของภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่นแ
  • 19. ละไวยากรณ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ JAVA ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปงจจุบัน คงจะไม่มีภาษาไหนที่เทียบได้รับภาษาจาวาซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นโดย บริษัทซันไมโครซิสเตมส์ ในปี 1991 โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเล็คทรอนิกส์สาหรับผู้บริโภคที่ง่าย ต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่า ไม่มีข้อผิดพลาด และสามารถใช้กับเครื่องใด ๆ ก็ได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็ได้กลายเป็นข้อดีของจาวาที่เหนื่อกว่าภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นด้วยจาวาสามารถนาไปใช้กับเครื่องต่าง ๆ โดยไม่ต้องทาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ทาให้ไม่จากัดอยู่กับเครื่องหรือโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง แม้ว่าการใช้งานจาวาในช่วงแรกจะจากัดอยู่กับ World Wide Web (WWW) และ Internet แต่ในปงจจุบันได้มีการนาจาวาไปประยุกต์ใช้กับงานด้านซอฟต์แวร์ต่าง ๆ อย่างมากมาย ตัวแปลภาษา อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เช่น ภาษาเบสิก การทา งานจะแปลความ หมายของคา สั่งทีละคา สั่ง ถ้าไม่พบข้อผิดพลาดเครื่องจะทา งานตามคา สั่งที่แปลได้ แต่ถ้าพบข้อผิด พลาดจะหยุดทา งานและแจ้งข้อผิดพลาดออกมา คอมไพเลอร์ (Compiler) โดยจะทา การแปลงโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมดให้เป็นรหัสภาษาเครื่อง และถ้า
  • 20. พบขอ้ ผดิ พลาดกจ็ ะแจง้ ออกมา ข้อดีคือ การแปลงแบบนี้ก็คือ จะทางานได้เร็วขึ้น เพราะเครื่องไม่ต้อง แปลอีกเมื่อถึงคา สั่งถัดไป ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1.การวิเคราะห์ปงญหาเป็นขั้นตอนแรกสุด ตอนแรกสุดที่นักเขียนโปรแก รมต้องทา มีขั้นตอนย่อย ๆ ดังนี้ -กาหนดขอบเขตของปงญหา โดยการกา หนดให้ชัดเจนว่าจะทา งานอะไร ตัวแปรค่าคงที่ ที่ต้องใช้มี ลักษณะใด -กาหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ (Input/Output Specification) กา หนดว่าข้อมูลที่ จะส่งเข้าถึงผู้ใช้เป็นหลัก -กาหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification) 2.การเขียนผังงาน หลังจากได้เคราะห์ปงญหาแล้ว ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการเขียนผังงาน โดยใช้เครืองมือในการออก แบบ ซึ่งยังไม่ได้เขียนเป็นโปรแกรมจริง ๆ โดยลา ดับขั้นตอนของการทางานโปรแกรม เราเรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) โดยจะถูกเขียนอยู่ในรูปของ ซูโดโค้ด (Pseudo Code) หรือ เขียนเป็นผังงาน (Flowchart) โดยแต่ละส่วนจะเป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น 3.การเขียนโปรแกรม ขั้นตอนนี้เ ป็นขั้นของการเขียนโปรแกรม เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ การเขียน โปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ โดยจะใช้ภาษาระดับใดก็ได ้ ซึ่งจะต้องเขียนให้ถูก หลักไวยากรณ์ (Syntax) ของภาษานั้น ๆ 4.การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม หลังจากการเขียนโปรแกรมจะต้องท ดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้นว่ามีข้อผิดพลาดหรือ ไม่
  • 21. ซึ่งเรียกว่า ดีบัก (Debug) ซึ่งโดยทั่วไปข้อผิดพลาด (Bug) มี 2 ประเภท คือ 1.! Syntax error คือ การเขียนคา สั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมของภาษานั้น ๆ โปรแกรม จะไม่สามารถทา งานได้ 2.! Logic error เป็นข้อผิดพลาดทางตรรกะ โปรแกรมสามารถทา งานได้แต่ผลลัพธ์จะไม่ถูกต้อง การเขียน Flowchart 1.การทางานแบบลาดับ ( Sequence) 2.การทางานตามเงื่อนไข (Condition) 3การทาซ้า (Iteration , Loop) อัลกอริทึม (Algorithm) -คือ กลุ่มของขั้นตอนหรือกฎเกณฑ์ที่จะนาพาไปสู่การแก้ปงญหา -คือ ขั้นตอนวิธีที่ประกอ้บด้วยชุดคาสั่งเป็นขั้นเป็นตอนที่ชัดเจน -คือ รูปแบบของการกาหนดการทางานอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งผ่านการวิเคราะห์แล้ว รหัสเทียม หรือซูโดโค้ด (Pseudo Code) คือ รหัสจาลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทึม โดยมีถ้อยคาหรือประโยคคาสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ใดภาษาหนึ่ง