SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) หมายถึง ภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อ
สื่อสารชุดคาสั่งแก่เครื่องจักรโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
หมายถึง ชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม
(program) ถ้ามีหลาย ๆ คาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง (Statement) ซึ่งปัจจุบันมีอยู่หลายภาษาตามความถนัด
ของผู้ใช้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกได้ว่าจะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใด ให้เหมาะกับงานที่ต้องการ ที่คล้ายคลึง
กันของภาษาคอมพิวเตอร์
1. คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (Receive Data and Display) คาสั่งประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง
การใช้ในภาษา ทั้งยังห้องแจกแจงรายละเอียดต่อไปด้วยว่ารับผ่านอุปกรณ์และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด
2. คาสั่งคานวณ (Calculated) โปรแกรมหรือคาสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ
คูณ และหาร
3.คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง (Direction) หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทาอย่างหนึ่ง ถ้า
เท่ากันให้ทาอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น
4. คาสั่งเข้าออกของข้อมูล (input and Output Data) หมายถึง การนาโปรแกรมหรือข้อมูลออกหรือส่ง
เข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้
ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาเป็นภาษรุ่นแรก ๆ ที่ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ใช้เขียนคาสั่งเพื่อให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เขียนสลับกันไปมาเพื่อใช้เป็นรหัสสั่งงาน
ภาษาระดับต่า ( Low Level Language) ภาษาระดับต่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีอยู่เพียงภาษาเดียวคือ
ภาษาแอสแซมบลี ภาษานี้จะมีการนาตัวอักษรย่อหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาใช้แทนชุดคาสั่งที่เป็นเลขฐานสอง
เช่น ADD หมายถึง บวก, SUB หมายถึง ลบ เช่น A SUB X,Y ให้นาค่า A ลบออกจากค่า X และนาค่าที่ได้ไป
เก็บไว้ที่ Y เป็นต้น
ภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนได้ง่าย เพราะมีการนาคาศัพท์
และข้อความต่าง ๆ ที่บุคคลนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน เช่น คาว่า Read, Print < Goto ,
Ead เป็นต้น
โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
หากเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง จาเป็นต้องมีตัวกลางในการแปลภาษาระดับสูงที่เขียนให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้เครื่อง
เข้าใจชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่เขียนได้
1. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาระดับสูง เมื่อแปลเสร็จก็จะทางานตามคาสั่งนั้นจึงจะ
แปลคาสั่งอื่นต่อไปจนกว่าจะจบโปรแกรม การแปลแต่ละครั้งไม่มีการจาหรือบันทึกไว้เมื่อต้องการจะใช้งานอีกก็จะต้องทาการ
แปลใหม่ทุกครั้ง
2. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาซึ่งทาการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องโกยจะทาการแปล
คาสั่งทั้งหมดเมื่อนาโปรแกรมที่ผ่านการแปลเรียบร้อยแล้วไปใช้งานจะทาให้เครื่องทางานได้เร็วขึ้น การแปลแบบนี้มีการบันทึก
โปรแกรมได้ทันทีไปใช้งานเมื่อใดก็สามารถใช้งานได้โดยทันทีโดยที่ไม่ต้องแปลอีก
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
1. ส่วนหัวของโปรแกรม (Header) เป็นส่วนที่จะต้องเขียนไว้เพื่อให้ใช้งานฟังก์ชันต่าง ๆ
2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Function) เป็นฟังก์ชันหลักของโปรแกรม โดยภายในวงเล็บนั้น (main()) เป็น
ค่าพารามิเตอร์ที่จะส่งผ่านไปทางานยังฟังก์ชันอื่น ๆ
3. ส่วนคาสั่ง (Statement) เป็นส่วนที่ใช้เขียนประโยคคาสั่ง
4. ส่วนแสดงผล (Comment) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับแสดงข้อความ
5. ส่วนปิดโปรแกรม (End) ใช้ปีกกาปิด แสดงการจบการเขียนโปรแกรม
การวิเคราะห์ปัญหา หมายถึง การวิเคราะห์โปรแกรมว่ามีการทางานอย่างไร ใช้ข้อมูลและตัวแปลอะไรบ้าง และต้องการ
ให้ผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบใด โดยขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่สาคัญที่สุด
1.สิ่งที่ต้องการ หมายถึง การวิเคราะห์ว่าต้องการให้ผลลัพธ์
2.การนาข้อมูลเข้า หมายถึง การวิเคราะห์ว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่จะป้อนเข้าไปในโปรแกรม
3.การประมวลผล หมายถึง การวิเคราะห์หรือการนาเอาค่าของข้อมูลทางคณิตศาสตร์เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
4.การแสดงผลลัพธ์ที่ต้องการ หมายถึง เมื่อข้อมูลผ่านการคานวณและได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
สรุปสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 3
สิ่งที่สาคัญที่สุดในขั้นตอนการแก้ไขปีญหานั้นคือการวิเคราะห์ปัญหา โดยอาจต้องวิเคราะห์จากสิ่งที่ต้องการ ทา
ความเข้าใจกับปัญหาต่าง ๆ และกาหนดปัญหาให้ชัดเจน มีรูปแบบอย่างไร และมาจากที่ใด นอกนี้ก็ยังมีส่วนอื่น ๆ ที่
ควรพิจารณาในการของข้อความตั้งแต่ต้นจนจบว่ามีลาดับขั้นตอนการทางานอย่างไรบ้าง
การเขียนรหัสเทียม หมายถึง การเขียนขั้นตอนการทางานของโปรแกรมจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ตามที่ได้วิเคราะห์
ออกมา โดยใช้ภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม ซึ่งการเขียนรหัสเทียมนี้เป็นส่วนที่ต่อจากการเขียน
อัลกอริทึม

More Related Content

What's hot

1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7naraporn buanuch
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์naraporn buanuch
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 

What's hot (20)

Intro program php
Intro program phpIntro program php
Intro program php
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
123456
123456123456
123456
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

Similar to 08 ณัฐนนท์-3-9

43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7naraporn buanuch
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7naraporn buanuch
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7naraporn buanuch
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8naraporn buanuch
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31Starng Sathiankhetta
 

Similar to 08 ณัฐนนท์-3-9 (16)

43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-727 กฤษณะ-ปวช.3-7
27 กฤษณะ-ปวช.3-7
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
08 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-808 สวัสดิวรรษ-2-8
08 สวัสดิวรรษ-2-8
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
 

More from naraporn buanuch

04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9naraporn buanuch
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9naraporn buanuch
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9naraporn buanuch
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 

More from naraporn buanuch (8)

07 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-907 ทศพล-3-9
07 ทศพล-3-9
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
03 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-903 พิพีฒน์-3-9
03 พิพีฒน์-3-9
 
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-902 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
02 กิตติพงศ์-ปวช.3-9
 
49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
44 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-744 กฤษณะ-3-7
44 กฤษณะ-3-7
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 

08 ณัฐนนท์-3-9

  • 1. ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) หมายถึง ภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อ สื่อสารชุดคาสั่งแก่เครื่องจักรโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) หมายถึง ชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งการเขียนคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม (program) ถ้ามีหลาย ๆ คาสั่งจะเรียกว่า ชุดคาสั่ง (Statement) ซึ่งปัจจุบันมีอยู่หลายภาษาตามความถนัด ของผู้ใช้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกได้ว่าจะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใด ให้เหมาะกับงานที่ต้องการ ที่คล้ายคลึง กันของภาษาคอมพิวเตอร์ 1. คาสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (Receive Data and Display) คาสั่งประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง การใช้ในภาษา ทั้งยังห้องแจกแจงรายละเอียดต่อไปด้วยว่ารับผ่านอุปกรณ์และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด
  • 2. 2. คาสั่งคานวณ (Calculated) โปรแกรมหรือคาสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ และหาร 3.คาสั่งที่มีการเลือกทิศทาง (Direction) หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทาอย่างหนึ่ง ถ้า เท่ากันให้ทาอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทาอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น 4. คาสั่งเข้าออกของข้อมูล (input and Output Data) หมายถึง การนาโปรแกรมหรือข้อมูลออกหรือส่ง เข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาเป็นภาษรุ่นแรก ๆ ที่ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ใช้เขียนคาสั่งเพื่อให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เขียนสลับกันไปมาเพื่อใช้เป็นรหัสสั่งงาน ภาษาระดับต่า ( Low Level Language) ภาษาระดับต่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีอยู่เพียงภาษาเดียวคือ ภาษาแอสแซมบลี ภาษานี้จะมีการนาตัวอักษรย่อหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาใช้แทนชุดคาสั่งที่เป็นเลขฐานสอง เช่น ADD หมายถึง บวก, SUB หมายถึง ลบ เช่น A SUB X,Y ให้นาค่า A ลบออกจากค่า X และนาค่าที่ได้ไป เก็บไว้ที่ Y เป็นต้น
  • 3. ภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนได้ง่าย เพราะมีการนาคาศัพท์ และข้อความต่าง ๆ ที่บุคคลนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน เช่น คาว่า Read, Print < Goto , Ead เป็นต้น โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ หากเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง จาเป็นต้องมีตัวกลางในการแปลภาษาระดับสูงที่เขียนให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้เครื่อง เข้าใจชุดคาสั่งต่าง ๆ ที่เขียนได้ 1. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นโปรแกรมแปลภาษาระดับสูง เมื่อแปลเสร็จก็จะทางานตามคาสั่งนั้นจึงจะ แปลคาสั่งอื่นต่อไปจนกว่าจะจบโปรแกรม การแปลแต่ละครั้งไม่มีการจาหรือบันทึกไว้เมื่อต้องการจะใช้งานอีกก็จะต้องทาการ แปลใหม่ทุกครั้ง 2. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาซึ่งทาการแปลภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องโกยจะทาการแปล คาสั่งทั้งหมดเมื่อนาโปรแกรมที่ผ่านการแปลเรียบร้อยแล้วไปใช้งานจะทาให้เครื่องทางานได้เร็วขึ้น การแปลแบบนี้มีการบันทึก โปรแกรมได้ทันทีไปใช้งานเมื่อใดก็สามารถใช้งานได้โดยทันทีโดยที่ไม่ต้องแปลอีก
  • 4. องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1. ส่วนหัวของโปรแกรม (Header) เป็นส่วนที่จะต้องเขียนไว้เพื่อให้ใช้งานฟังก์ชันต่าง ๆ 2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Function) เป็นฟังก์ชันหลักของโปรแกรม โดยภายในวงเล็บนั้น (main()) เป็น ค่าพารามิเตอร์ที่จะส่งผ่านไปทางานยังฟังก์ชันอื่น ๆ 3. ส่วนคาสั่ง (Statement) เป็นส่วนที่ใช้เขียนประโยคคาสั่ง 4. ส่วนแสดงผล (Comment) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับแสดงข้อความ 5. ส่วนปิดโปรแกรม (End) ใช้ปีกกาปิด แสดงการจบการเขียนโปรแกรม
  • 5. การวิเคราะห์ปัญหา หมายถึง การวิเคราะห์โปรแกรมว่ามีการทางานอย่างไร ใช้ข้อมูลและตัวแปลอะไรบ้าง และต้องการ ให้ผลลัพธ์ออกมาในรูปแบบใด โดยขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่สาคัญที่สุด 1.สิ่งที่ต้องการ หมายถึง การวิเคราะห์ว่าต้องการให้ผลลัพธ์ 2.การนาข้อมูลเข้า หมายถึง การวิเคราะห์ว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่จะป้อนเข้าไปในโปรแกรม 3.การประมวลผล หมายถึง การวิเคราะห์หรือการนาเอาค่าของข้อมูลทางคณิตศาสตร์เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ 4.การแสดงผลลัพธ์ที่ต้องการ หมายถึง เมื่อข้อมูลผ่านการคานวณและได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
  • 6. สรุปสาระการเรียนรู้หน่วยที่ 3 สิ่งที่สาคัญที่สุดในขั้นตอนการแก้ไขปีญหานั้นคือการวิเคราะห์ปัญหา โดยอาจต้องวิเคราะห์จากสิ่งที่ต้องการ ทา ความเข้าใจกับปัญหาต่าง ๆ และกาหนดปัญหาให้ชัดเจน มีรูปแบบอย่างไร และมาจากที่ใด นอกนี้ก็ยังมีส่วนอื่น ๆ ที่ ควรพิจารณาในการของข้อความตั้งแต่ต้นจนจบว่ามีลาดับขั้นตอนการทางานอย่างไรบ้าง การเขียนรหัสเทียม หมายถึง การเขียนขั้นตอนการทางานของโปรแกรมจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ตามที่ได้วิเคราะห์ ออกมา โดยใช้ภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม ซึ่งการเขียนรหัสเทียมนี้เป็นส่วนที่ต่อจากการเขียน อัลกอริทึม