SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี

                        denpong@kku.ac.th
2
ความท้าทายที่สาคัญและโอกาสสาหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ความท้าทายด้าานแรงงาน
 ความท้าทายด้ นแรงงาน                               ทิศทางของภูมิภาค                            สถาบันการศึกษามากขึ้น
••ผูจานวนผู้ส่มขึ้น ประชากรเด็กลดลง
    ้สูงอายุเพิ ูงอายุเพิ่มขึ้นขณะที่อัตราการเกิด   • AEC 2015                                  • การแข่งขันของอุดมศึกษาที่มากขึ้นทั้งจาก ม.
• อุลดลง
    ตสาหกรรมให้ความสาคัญกับความสามารถ               • การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน                  รัฐ ม.เอกชนและต่างประเทศ
 •ของแรงงาน ความสาคัญกับผลิตภาพและ
   อุตสาหกรรมให้                                    • การทางานมุ่งเน้นประสิทธิภาพ
   ความสามารถของแรงงาน

แนวโน้มด้านรายได้                                   นโยบายของรัฐ                                เครือข่ายความร่วมมือ
• มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ                          • นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต                 • ศูนย์กลางของ GMS
• การพึ่งพารายได้จากหลักสูตร                        • การปฏิรูปการศึกษา                         • ความร่วมมือกับชุมชน เอกชนและ
• การพึ่งรายได้จากความสามารถเฉพาะทาง                • การประเมินมหาวิทยาลัยจากหน่วยงาน            สถาบันการศึกษาอื่นๆ
                                                      ภายนอก
                                                    • มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
สถานการทางเศรษฐกิจ                                  เทคโนโลยีและสารสนเทศ                        การบริหารอย่างมืออาชีพ
• งบประมาณภาครัฐที่จากัด                            • การบริหารจัดการข้อมูลขององค์กรด้วย IT     • การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและ
• มาตรฐานการศึกษาที่สูงขึ้น                         • สื่อการเรียนการสอนที่เป็นอิเล็คทรอนิคส์     ซับซ้อน
                  Staff
• การขยายตัวด้านการค้าและการลงทุนใน GMS                                                         • การปรับเปลี่ยนและเสริมสร้างวัฒนธรรมการ
                                                                                                  บริหาร


                                                                                                                                               3
การเปลี่ยนแปลงใน
อนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง
ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ




       มหาวิทยาลัยขอนแก่นขุมปัญญาของอาเซียน
                                              4
SWOT Analysis
            จุดแข็ง                                      จุดอ่อน
 เป็นสถาบันที่ตั้งมานาน                 บัณฑิตมีจุดอ่อนในด้านภาษาอังกฤษ
 ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางของภูมิภาค         หลักสูตรของ มข. ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นจาก
 นโยบายเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งการ          การริเริ่มของภาควิชา
  วิจัย”                                 คณะต่างๆ ใน มข. มีศักยภาพแตกต่างกัน
 คุณภาพบัณฑิต เป็นที่ยอมรับของผู้ใช้     ค่อนข้างมาก
  บัณฑิต                                 ศักยภาพและความพร้อมในการก้าวไปสู่
 มีศูนย์ให้บริการวิชาการในระดับชาติ      ความเป็นสากล
  และระดับภูมิภาค                        ระบบบริหารงานบุคคลไม่เอื้อให้ดึงดูด/
 มีกองทุนสนับสนุนการบริหารงานของ         รักษาผูมีศักยภาพสูงทางานที่ มข.
                                                   ้
  มหาวิทยาลัย                                                                                5
                                              ที่มา: แผนปฏิบัติราชการ มข. ประจาปีงบประมาณ 2554
สถานะภาพของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
  อันดับของมหาวิทยาลัยขอนแก่น   2005        2006       2007       2008      2009       2010
ระดับโลก                        486         475            531    528       500+      550+
ระดับเอเชีย                     n.a.        n.a.           n.a.   n.a.       113       122
ระดับประเทศ                      5           7              7      7          7         6


                                            2009                            2010
  อันดับของมหาวิทยาลัยไทย
                                   โลก             เอเชีย          โลก             เอเชีย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย               138              30             180             28
มหาวิทยาลัยมหิดล                    220              35             228             44
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่              401-500            81           401-450           79
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์             401-500           85            451-550            91
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์          501-600           109           501-550           101
มหาวิทยาลัยขอนแก่น                501-600            113          551-600           122
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์            501-600           108           551-600           126

                                                                                              6
World Ranking
        Inter. Faculty                5%
                                                              เกณฑ์การวิเคราะห์
        Inter. Students
        Asian Ranking
                                      5%
                                                           Quacquarelli Symonds
        Inter. Faculty                2.5%
        Inter. Students               2.5%
        Inbound Exchange Students     2.5%
        Outbound Exchange Students    2.5%   Employability 10%
           Internationalization 10%


          Student Faculty
               Ratio 20%                     Research Quality 60%
20000
15000
10000                                            World Ranking              Asian Ranking
 5000                                            Global Academic        40% Asian Academic       30%
    0                                            Peer Review                Peer Review
                                                 Citation per Faculty   20% Paper per Faculty    15%
                                                                            Citation per Paper   15%
                                                                                                       7
1          2            3                 4              5
            การเรียน   องค์ความรู้เชิง    การทางาน
นวัตกรรม                                                 ตลาดงาน
            การสอน      บูรณาการ         อย่างมืออาชีพ




 งานวิจัย   อาจารย์      คณะต่างๆ        สายสนับสนุน       บัณฑิต




                                                                    8
เป้าหมายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใน 4 ปี ข้างหน้า


                     อันดับ 3 ของประเทศไทย
                        อันดับ 80 ของเอเซีย
                        อันดับ 400 ของโลก
                                                   มหาวิทยาลัย
   มหาวิทยาลัย
                                                ที่พึ่งพาตนเองได้
ที่ใช้วิจัยเป็นฐาน
                            มหาวิทยาลัย
                            ที่มีสุขภาวะที่ดี

                                                                    9
ยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการเป็น
          มหาวิทยาลัยที่มีสุขภาวะ
          และการจัดการองค์กรที่ดี
           สามารถเป็นต้นแบบที่ดี



                                                10
ความหมายของคาว่า “สุขภาวะที่ดี”

ความสุขทางร่างกาย               ความสุขทางจิตใจ
• ร่างกายแข็งแรง                • ความดี
• ความปลอดจากสารพิษ             • ความมีสติ
• มีความปลอดภัย                 • ความสงบ
• ความมีปัจจัย 4                • ความมีสุนทรียะ


                      สุขภาวะที่ดี

ความสุขทางปัญญา                   ความสุขทางสังคม
• รอบรู้เท่าทัน                   • สังคมสุสัมพันธ์
• ทาเป็น                          • สังคมเข้มแข็ง
• อยู่ร่วมกันเป็น                 • สังคมสันติ
• บรรลุอิสระภาพ                   • สังคมยุติธรรม

  บุคลากร              นักศึกษา                    ชุมชน/สังคม
                                                                 11
บุคลากร                       นักศึกษา                         ชุมชน


              ความมั่นคง              โอกาสในการเรียนรู้
               สวัสดิการ                                                ความมีสัมมาชีพ
                                         กิจกรรม นศ.
            ความก้าวหน้า                                               เศรษฐกิจพอเพียง
                                       หอพักแห่งปัญญา
      ศูนย์ข้อมูลความเดือดร้อน                                             CSR & USR
                                       How to live & learn
                                                                        สังคมสุสัมพันธ์
                                          ทุนการศึกษา

หลักการของวิธีบริหารจัดการ       หลักการของวิธีบริหารจัดการ         หลักการของวิธีบริหารจัดการ
ที่ดี                            ที่ดี                              ที่ดี
• หลักนิติธรรม                   • หลักการมีส่วนร่วม                • หลักความคุ้มค่า
• หลักคุณธรรม                    • หลักความรับผิดชอบและตรวจสอบได้   • หลักคุณภาพและมาตรฐาน
• หลักความโปร่งใส                                                   • หลักความพึงพอใจ




                                                                                                 12
KKU
                                             Zero waste




Land mark และ    เพิ่มพื้นที่สีเขียว มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม โครงสร้าง   ระบบขนส่งมวลชน
ลานอเนกประสงค์                         พื้นฐานที่ดี                      ระบบจราจร
                                                                                       13
14
เป้าหมายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใน 4 ปี ข้างหน้า


                     อันดับ 3 ของประเทศไทย
                        อันดับ 80 ของเอเซีย
                       อันดับ 400 ของโลก
                                                    มหาวิทยาลัย
   มหาวิทยาลัย                                   ที่พึ่งพาตนเองได้
ที่ใช้วิจัยเป็นฐาน

                             มหาวิทยาลัย
                             ที่มีสุขภาวะทีดี
                                           ่



                                                                     15
มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยต้นแบบในการนาเอาหลักการของการวิจัยไปประยุกต์ใช้ใน
        การพัฒนางานประจาและการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อนามหาวิทยาลัยขอนแก่นไปสู่ “มหาวิทยาลัย
        ที่ใช้การวิจัยเป็นฐานในการพัฒนา (Research Based University)”


                                 เป็นมหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐาน


    การบริหาร                                    การบริการ              ทานุบารุง     การพึ่งพาตนเองด้าน
                         ด้านการวิจัย
    จัดการที่ดี                                  วิชาการที่ดี        ศิลปวัฒนธรรม        งบประมาณ
                      พัฒนาระบบบริหาร      การขับเคลื่อนด้านบริการ   ศูนย์กลางศิลป-    การบริหารจัดการ
พัฒนาทรัพยากรบุคคล
                        จัดการงานวิจัย           วิชาการที่ดี        วัฒนธรรม GMS         ทรัพยากร
     การผลิต         การสร้างบรรยากาศการ
                                                 เชิงพานิชย์
    บัณฑิตที่ดี               วิจัย
                     การพัฒนาบุคลากรด้าน    การพัฒนาประเทศและ
    หลักสูตรที่ดี
                           การวิจัย               ภูมิภาค
กการจัดการเรียนการ    การใช้ประโยชน์จาก
     สอนที่ดี              งานวิจัย
                      สร้างเครือข่ายความ      โครงการ ม. วิจัย
 การพัฒนาอาจารย์
                          ร่วมมือวิจัย           แห่งชาติ
                                                                                                           16
ตัวอย่างโครงการภายใต้
มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา


การพัฒนาบุคลากร
• ส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนของ มข. ทุกคนเข้ารับการ
  อบรมและพัฒนางานประจาด้วยงานวิจัย (R2R) และการวิจัย
  สถาบัน โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนด้านงบประมาณใน
  การดาเนินงานร่งมกับคณะวิชา
• จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานที่เกิดจากกิจกรรม R2R
  และงานวิจัยสถาบัน
• การพัฒนานักวิจัยอย่างต่อเนื่อง จนมีความเข้มแข็งและก้าว
  ไปสู่การจัดตั้งเป็นสถาบันวิจัยเฉพาะทาง
• จัดกิจกรรม Show and Share




                                                           17
บ.ข้าม                  องค์กร
                                                        CSR        ชาติ            รัฐ   นานาชาติ




                                                                                         ชื่อเสียงระดับสากลด้านองค์
                                                                                         ความรู้ GMS
                                                                      งานวิจัย
                                                                                         รายได้
                                                                                         หลักสูตรเฉพาะทางจากองค์
         โอกาสและ                                                    องค์ความรู้         ความรู้ของงานวิจัย
        ความท้าทาย
                                                                                         หลักสูตรเฉพาะเพื่อการ
                                                         บริการ
ศิษย์เก่า         ผู้มีฐานะ             CSR              สุขภาพ                          เรียนรู้ตลอดชีวิต
       พัฒนาพื้นที่           บริการ              HRD                                    หลักสูตรเพื่อการพัฒนา
                              วิชาการ
                                                                                         เศรษฐกิจและสังคมของ GMS
                 สานักพิมพ์         ของที่ระลึก
                                                                                                                      18
ตัวอย่างโครงการภายใต้
         มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา


กาหนดทิศทางการวิจัยของมหาวิทยาลัย
• สร้างความโดดเด่นด้านการวิจยที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นให้เป็น
                            ั
  ศูนย์กลางการวิจัยของโลกในประเด็นดังต่อไปนี้

     การแพทย์ การสาธารณสุข และสุขภาพเขตร้อน
     อาหารและอาหารเพือสุขภาพ
                      ่
     การบริหารจัดการลุมน้าแบบองค์รวม
                       ่
     คณิตศาสตร์ศกษาและวิทยาศาสตร์ศกษา
                 ึ                 ึ
     น้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพ
     ความหลากหลายทางชีวภาพลุมน้าโขง
                             ่
     ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาคลุมน้าโขง
                                         ่
     สมุนไพรไทยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
     ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุมน้าโขง
                                                  ่




                                                                            19
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                                เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนาของประเทศ อันดับ 1 ใน 3 ของ
                                ประเทศ อันดับ 1 ใน 80 ของเอเซีย อันดับ 1 ใน 400 ของโลก



การสร้างแบรนด์
ความโดดเด่นของ มข.
• การแพทย์ การสาธารณสุข และสุขภาพเขตร้อน
• การเกษตรและระบบฟาร์มเขตร้อน (สัตวศาสตร์ พืชศาสตร์)
• ความหลากหลายทางชีวภาพลุ่มน้าโขง
• ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง
• ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง




                                                                                         20
ตัวอย่างโครงการภายใต้
มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา


สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยกับเครือข่ายองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
•   การพัฒนาระบบการศึกษาขันพืนฐานให้กับชุมชน
                             ้ ้
•   ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถินในการแก้ปัญหาของชุมชนด้วย
                                    ่
    งานวิจัย
สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยด้าน “เศรษฐกิจสร้างสรรค์”
•   ร่วมมือกับท้องถิ่นพัฒนา “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ที่เป็นเอกลักษณ์ของ
    ตนเอง




                                                                       21
ตัวอย่างโครงการภายใต้
มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา


     สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยกับเครือข่าย
     ภาคอุตสาหกรรม
     • สร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ SME เพื่อ
       รองรับนโยบาย AEC2015
     • พัฒนาองค์ความรู้ให้เป็นของคนไทยด้วยการร่วมมือ
       กับผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ เช่น กลุ่มมิตรผล
       กลุ่มเบทาโกร กลุ่มซีพี
     • สร้างความร่วมมือกับกลุ่มผู้ประกอบการท้องถิ่น/
       ภูมิภาค เช่น กลุ่มศรีวิโรจน์ฟาร์ม สมาคม
       ผู้ประกอบการ SME อีสาน




                                                       22
เป้าหมายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใน 4 ปี ข้างหน้า


                        อันดับ 3 ของประเทศไทย
                           อันดับ 80 ของเอเซีย
                          อันดับ 400 ของโลก
     มหาวิทยาลัย                                      มหาวิทยาลัย
ที่ใช้งานวิจัยเป็นฐาน                              ที่พึ่งพาตนเองได้
                                มหาวิทยาลัย
                                ที่มีสุขภาวะทีดี
                                              ่



                                                                       23
มหาวิทยาลัยขอนแก่นมีการบริหารจัดการทรัพยากร และทรัพย์สินอย่างมีประสิทธิภาพลดการ
       พึ่งพางบประมาณแผ่นดินและมีความมั่นคงทางด้านงบประมาณมากขึ้นจากการจัดหารายได้เป็น
       ของตนเอง

                           การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพย์สิน และทรัพย์สินทางปัญญา


   การดาเนินงาน                 การจัดการ            ด้านการวิจัยและการ      ทรัพย์สินและคุณค่า
                                                                                                       การระดมทุน
   ที่มีประสิทธิภาพ           เรียนการสอน               บริการวิชาการ         ของมหาวิทยาลัย

                                                    การวิจัย/การให้บริการ
มาตรการประหยัดไฟฟ้า      ค่าเล่าเรียนหลักสูตรปกติ                             การพัฒนาพื้นที่             ศิษย์เก่า
                                                             วิจัย
                           ค่าเล่าเรียนหลักสูตร                                                   ผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ/
การใช้พลังงานทดแทน                                   การบริการวิชาการ       ทรัพย์สินทางปัญญา
                                   พิเศษ                                                                     องค์กร
มาตรการประหยัดน้ามัน                                 โครงการ CSR ให้แก่
                           หลักสูตรนานาชาติ                                 คุณค่าความเป็น มข.
      เชื้อเพลิง                                         ภาคเอกชน
 ระบบจัดซื้อจัดหาวัสดุ     การพัฒนาหลักสูตร         โครงการตามนโยบาย
        กลาง                สาหรับคนทางาน                 ของรัฐ
                         การอบรมระยะสั้น ระยะ
                                ยาว


                                                                                                                             24
การสร้างรายได้จาก
     การจัดการเรียนการสอน

การสร้างรายได้จากหลักสูตรที่หลากหลาย
• หลักสูตรมีความทันสมัยและต่างจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น
     หลักสูตรที่เกิดจากผลงานวิจยที่โดดเด่นของ มข.
                                ั
     บริหารธุรกิจการจัดการโรงพยาบาลและสุขภาพ
• หลักสูตรสาหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
     หลักสูตรสาหรับคนทางาน
     หลักสูตรสาหรับผู้สูงอายุ
• หลักสูตรนานาชาติที่เป็นความโดดเด่นของ มข. เกี่ยวข้องกับอนุภูมภาคลุ่มน้า
                                                               ิ
  โขง/เขตโซนร้อน เช่น
     การแพทย์ การสาธารณสุข และสุขภาพเขตร้อน
     การเกษตรและระบบฟาร์มเขตร้อน
     ความหลากหลายทางชีวภาพลุมน้าโขง
                                  ่
     ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาคลุมน้าโขง
                                            ่
     สมุนไพรและยาแผนโบราณ
     ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุมน้าโขง
                                                  ่
                                                                            25
การสร้างรายได้จาก
        ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ

• การทากิจกรรม CRS ให้ภาคเอกชน และ USR ให้กับชุมชนและสังคม
     มข. มีองค์ความรู้ ผู้ประกอบการมีงบประมาณ และชุมชนต้องการใช้ประโยชน์
     โครงการชุมชนต้นแบบ
• รายได้จากการให้บริการวิชาการ
     การให้คาปรึกษา/การออกแบบ
     ศึกษา วิเคราะห์ ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม การวางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
     การบริหารจัดการโครงการ เช่น งานก่อสร้าง โรงพยาบาล
     การวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาอุตสาหกรรม
• รายได้จากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
     โครงการ HRD โดยศูนย์บริการวิชาการ
     โครงการ HRD โดยสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
• การให้บริการตรวจสอบทางเทคนิค การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ใน
  ห้องปฏิบัติการ


                                                                             26
การสร้างรายได้จาก
ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ
 • โครงการ Medical Hub ของภูมิภาค
   เพื่อให้ มข. เป็นศูนย์กลางสุขภาพของภูมิภาค / GMS โดยเน้น
     • การรักษาพยาบาล ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการรักษาคนไข้ที่
        เป็นคนยากจน
     • ธุรกิจส่งเสริมสุขภาพ เช่น สปา นวดแผนไทย
     • การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย เช่น เครื่องสาอาง ตลาดยา
        และอาหารเสริมสุขภาพ

   ศักยภาพและความพร้อมของ มข. ในปัจจุบัน
     • โรงพยาบาลศรีนครินทร์
     • ศูนย์หัวใจสิริกิติ์
     • โรงพยาบาลทันตกรรม
     • ศักยภาพความพร้อม ผลงานวิจัยของกลุ่มคณะวิชาทางด้าน
       วิทยาศาสตร์สุขภาพ
                       • บ้านสามวิถี คณะพยาบาลศาสตร์



                                                                   27
28
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมใน
   การประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน
   หลักสูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับ
   กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
   สาขาวิชา (ถ้ามี)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์
   ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อย
   ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
                                                     29
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล
   การดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
   มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาค
   การศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.
   ๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการ
   เรียนรู้ ที่กาหนดใน มคอ.๓ และมคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อย
   ละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
                                                          30
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์
   การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการ
   ประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗ ปีที่แล้ว
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือ
   คาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอน
9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ
   และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

                                                31
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี)
    ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า
    ร้อยละ ๕๐ ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่
    ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จาก
    คะแนนเต็ม ๕.๐
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่
    เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐
                                                    32
ถาม – ตอบ


      oคาถามหรือข้อเสนอแนะที่เกิดขึ้นหลังจากวันนี้
                            สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่
                        denpong@kku.ac.th
            http://facebook.com/denpong.s
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความคาดหวังของสังคม
                      34
TQF and Research Base University

More Related Content

What's hot

Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กsosoksg
 

What's hot (10)

Static utq 14sep
Static utq 14sepStatic utq 14sep
Static utq 14sep
 
Static utq 19august
Static utq 19augustStatic utq 19august
Static utq 19august
 
Static utq 7sep
Static utq 7sepStatic utq 7sep
Static utq 7sep
 
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ประกัน
ประกันประกัน
ประกัน
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
No7 january2013
No7 january2013No7 january2013
No7 january2013
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
 

Viewers also liked

วัยก่อนเรียน
วัยก่อนเรียนวัยก่อนเรียน
วัยก่อนเรียนtassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birds
ตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birdsตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birds
ตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birdsNattakorn Sunkdon
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Somchai Siricharoenphol
 

Viewers also liked (6)

วัยก่อนเรียน
วัยก่อนเรียนวัยก่อนเรียน
วัยก่อนเรียน
 
Oldy club
Oldy club Oldy club
Oldy club
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birds
ตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birdsตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birds
ตัวอย่างแผนธุรกิจAlien birds
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing home
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4
 

Similar to TQF and Research Base University

ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2nakaenoi
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555K S
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาAonaon Krubpom
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITDenpong Soodphakdee
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Denpong Soodphakdee
 
มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย
มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทยมองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย
มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทยTeerapat Piyaket
 
มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา
มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษามองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา
มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาTeerapat Piyaket
 

Similar to TQF and Research Base University (20)

ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
Education psu
Education psuEducation psu
Education psu
 
Organization intelligence2
Organization intelligence2Organization intelligence2
Organization intelligence2
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
Move610724 n four
Move610724 n fourMove610724 n four
Move610724 n four
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
 
Msu 610906
Msu 610906Msu 610906
Msu 610906
 
Wanchai
WanchaiWanchai
Wanchai
 
Gd610910 n
Gd610910 nGd610910 n
Gd610910 n
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
Wanchai s
Wanchai sWanchai s
Wanchai s
 
มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย
มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทยมองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย
มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย
 
มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา
มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษามองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา
มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา
 

More from Denpong Soodphakdee

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUDenpong Soodphakdee
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKUDenpong Soodphakdee
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsDenpong Soodphakdee
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteDenpong Soodphakdee
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationDenpong Soodphakdee
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceDenpong Soodphakdee
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersDenpong Soodphakdee
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryDenpong Soodphakdee
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesDenpong Soodphakdee
 

More from Denpong Soodphakdee (20)

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKU
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKU
 
New Media in Digital Age
New Media in Digital AgeNew Media in Digital Age
New Media in Digital Age
 
21st century learning skills
21st century learning skills21st century learning skills
21st century learning skills
 
ICT in Modern Education
ICT in Modern EducationICT in Modern Education
ICT in Modern Education
 
New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 

TQF and Research Base University

  • 2. 2
  • 3. ความท้าทายที่สาคัญและโอกาสสาหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ความท้าทายด้าานแรงงาน ความท้าทายด้ นแรงงาน ทิศทางของภูมิภาค สถาบันการศึกษามากขึ้น ••ผูจานวนผู้ส่มขึ้น ประชากรเด็กลดลง ้สูงอายุเพิ ูงอายุเพิ่มขึ้นขณะที่อัตราการเกิด • AEC 2015 • การแข่งขันของอุดมศึกษาที่มากขึ้นทั้งจาก ม. • อุลดลง ตสาหกรรมให้ความสาคัญกับความสามารถ • การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รัฐ ม.เอกชนและต่างประเทศ •ของแรงงาน ความสาคัญกับผลิตภาพและ อุตสาหกรรมให้ • การทางานมุ่งเน้นประสิทธิภาพ ความสามารถของแรงงาน แนวโน้มด้านรายได้ นโยบายของรัฐ เครือข่ายความร่วมมือ • มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ • นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต • ศูนย์กลางของ GMS • การพึ่งพารายได้จากหลักสูตร • การปฏิรูปการศึกษา • ความร่วมมือกับชุมชน เอกชนและ • การพึ่งรายได้จากความสามารถเฉพาะทาง • การประเมินมหาวิทยาลัยจากหน่วยงาน สถาบันการศึกษาอื่นๆ ภายนอก • มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สถานการทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสารสนเทศ การบริหารอย่างมืออาชีพ • งบประมาณภาครัฐที่จากัด • การบริหารจัดการข้อมูลขององค์กรด้วย IT • การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและ • มาตรฐานการศึกษาที่สูงขึ้น • สื่อการเรียนการสอนที่เป็นอิเล็คทรอนิคส์ ซับซ้อน Staff • การขยายตัวด้านการค้าและการลงทุนใน GMS • การปรับเปลี่ยนและเสริมสร้างวัฒนธรรมการ บริหาร 3
  • 5. SWOT Analysis จุดแข็ง จุดอ่อน  เป็นสถาบันที่ตั้งมานาน  บัณฑิตมีจุดอ่อนในด้านภาษาอังกฤษ  ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางของภูมิภาค  หลักสูตรของ มข. ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นจาก  นโยบายเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งการ การริเริ่มของภาควิชา วิจัย”  คณะต่างๆ ใน มข. มีศักยภาพแตกต่างกัน  คุณภาพบัณฑิต เป็นที่ยอมรับของผู้ใช้ ค่อนข้างมาก บัณฑิต  ศักยภาพและความพร้อมในการก้าวไปสู่  มีศูนย์ให้บริการวิชาการในระดับชาติ ความเป็นสากล และระดับภูมิภาค  ระบบบริหารงานบุคคลไม่เอื้อให้ดึงดูด/  มีกองทุนสนับสนุนการบริหารงานของ รักษาผูมีศักยภาพสูงทางานที่ มข. ้ มหาวิทยาลัย 5 ที่มา: แผนปฏิบัติราชการ มข. ประจาปีงบประมาณ 2554
  • 6. สถานะภาพของมหาวิทยาลัยขอนแก่น อันดับของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2005 2006 2007 2008 2009 2010 ระดับโลก 486 475 531 528 500+ 550+ ระดับเอเชีย n.a. n.a. n.a. n.a. 113 122 ระดับประเทศ 5 7 7 7 7 6 2009 2010 อันดับของมหาวิทยาลัยไทย โลก เอเชีย โลก เอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 138 30 180 28 มหาวิทยาลัยมหิดล 220 35 228 44 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 401-500 81 401-450 79 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 401-500 85 451-550 91 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 501-600 109 501-550 101 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 501-600 113 551-600 122 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 501-600 108 551-600 126 6
  • 7. World Ranking Inter. Faculty 5% เกณฑ์การวิเคราะห์ Inter. Students Asian Ranking 5% Quacquarelli Symonds Inter. Faculty 2.5% Inter. Students 2.5% Inbound Exchange Students 2.5% Outbound Exchange Students 2.5% Employability 10% Internationalization 10% Student Faculty Ratio 20% Research Quality 60% 20000 15000 10000 World Ranking Asian Ranking 5000 Global Academic 40% Asian Academic 30% 0 Peer Review Peer Review Citation per Faculty 20% Paper per Faculty 15% Citation per Paper 15% 7
  • 8. 1 2 3 4 5 การเรียน องค์ความรู้เชิง การทางาน นวัตกรรม ตลาดงาน การสอน บูรณาการ อย่างมืออาชีพ งานวิจัย อาจารย์ คณะต่างๆ สายสนับสนุน บัณฑิต 8
  • 9. เป้าหมายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใน 4 ปี ข้างหน้า อันดับ 3 ของประเทศไทย อันดับ 80 ของเอเซีย อันดับ 400 ของโลก มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ที่พึ่งพาตนเองได้ ที่ใช้วิจัยเป็นฐาน มหาวิทยาลัย ที่มีสุขภาวะที่ดี 9
  • 10. ยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการเป็น มหาวิทยาลัยที่มีสุขภาวะ และการจัดการองค์กรที่ดี สามารถเป็นต้นแบบที่ดี 10
  • 11. ความหมายของคาว่า “สุขภาวะที่ดี” ความสุขทางร่างกาย ความสุขทางจิตใจ • ร่างกายแข็งแรง • ความดี • ความปลอดจากสารพิษ • ความมีสติ • มีความปลอดภัย • ความสงบ • ความมีปัจจัย 4 • ความมีสุนทรียะ สุขภาวะที่ดี ความสุขทางปัญญา ความสุขทางสังคม • รอบรู้เท่าทัน • สังคมสุสัมพันธ์ • ทาเป็น • สังคมเข้มแข็ง • อยู่ร่วมกันเป็น • สังคมสันติ • บรรลุอิสระภาพ • สังคมยุติธรรม บุคลากร นักศึกษา ชุมชน/สังคม 11
  • 12. บุคลากร นักศึกษา ชุมชน ความมั่นคง โอกาสในการเรียนรู้ สวัสดิการ ความมีสัมมาชีพ กิจกรรม นศ. ความก้าวหน้า เศรษฐกิจพอเพียง หอพักแห่งปัญญา ศูนย์ข้อมูลความเดือดร้อน CSR & USR How to live & learn สังคมสุสัมพันธ์ ทุนการศึกษา หลักการของวิธีบริหารจัดการ หลักการของวิธีบริหารจัดการ หลักการของวิธีบริหารจัดการ ที่ดี ที่ดี ที่ดี • หลักนิติธรรม • หลักการมีส่วนร่วม • หลักความคุ้มค่า • หลักคุณธรรม • หลักความรับผิดชอบและตรวจสอบได้ • หลักคุณภาพและมาตรฐาน • หลักความโปร่งใส • หลักความพึงพอใจ 12
  • 13. KKU Zero waste Land mark และ เพิ่มพื้นที่สีเขียว มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม โครงสร้าง ระบบขนส่งมวลชน ลานอเนกประสงค์ พื้นฐานที่ดี ระบบจราจร 13
  • 14. 14
  • 15. เป้าหมายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใน 4 ปี ข้างหน้า อันดับ 3 ของประเทศไทย อันดับ 80 ของเอเซีย อันดับ 400 ของโลก มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ที่พึ่งพาตนเองได้ ที่ใช้วิจัยเป็นฐาน มหาวิทยาลัย ที่มีสุขภาวะทีดี ่ 15
  • 16. มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยต้นแบบในการนาเอาหลักการของการวิจัยไปประยุกต์ใช้ใน การพัฒนางานประจาและการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อนามหาวิทยาลัยขอนแก่นไปสู่ “มหาวิทยาลัย ที่ใช้การวิจัยเป็นฐานในการพัฒนา (Research Based University)” เป็นมหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐาน การบริหาร การบริการ ทานุบารุง การพึ่งพาตนเองด้าน ด้านการวิจัย จัดการที่ดี วิชาการที่ดี ศิลปวัฒนธรรม งบประมาณ พัฒนาระบบบริหาร การขับเคลื่อนด้านบริการ ศูนย์กลางศิลป- การบริหารจัดการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล จัดการงานวิจัย วิชาการที่ดี วัฒนธรรม GMS ทรัพยากร การผลิต การสร้างบรรยากาศการ เชิงพานิชย์ บัณฑิตที่ดี วิจัย การพัฒนาบุคลากรด้าน การพัฒนาประเทศและ หลักสูตรที่ดี การวิจัย ภูมิภาค กการจัดการเรียนการ การใช้ประโยชน์จาก สอนที่ดี งานวิจัย สร้างเครือข่ายความ โครงการ ม. วิจัย การพัฒนาอาจารย์ ร่วมมือวิจัย แห่งชาติ 16
  • 17. ตัวอย่างโครงการภายใต้ มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา การพัฒนาบุคลากร • ส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนของ มข. ทุกคนเข้ารับการ อบรมและพัฒนางานประจาด้วยงานวิจัย (R2R) และการวิจัย สถาบัน โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนด้านงบประมาณใน การดาเนินงานร่งมกับคณะวิชา • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานที่เกิดจากกิจกรรม R2R และงานวิจัยสถาบัน • การพัฒนานักวิจัยอย่างต่อเนื่อง จนมีความเข้มแข็งและก้าว ไปสู่การจัดตั้งเป็นสถาบันวิจัยเฉพาะทาง • จัดกิจกรรม Show and Share 17
  • 18. บ.ข้าม องค์กร CSR ชาติ รัฐ นานาชาติ ชื่อเสียงระดับสากลด้านองค์ ความรู้ GMS งานวิจัย รายได้ หลักสูตรเฉพาะทางจากองค์ โอกาสและ องค์ความรู้ ความรู้ของงานวิจัย ความท้าทาย หลักสูตรเฉพาะเพื่อการ บริการ ศิษย์เก่า ผู้มีฐานะ CSR สุขภาพ เรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาพื้นที่ บริการ HRD หลักสูตรเพื่อการพัฒนา วิชาการ เศรษฐกิจและสังคมของ GMS สานักพิมพ์ ของที่ระลึก 18
  • 19. ตัวอย่างโครงการภายใต้ มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา กาหนดทิศทางการวิจัยของมหาวิทยาลัย • สร้างความโดดเด่นด้านการวิจยที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นให้เป็น ั ศูนย์กลางการวิจัยของโลกในประเด็นดังต่อไปนี้  การแพทย์ การสาธารณสุข และสุขภาพเขตร้อน  อาหารและอาหารเพือสุขภาพ ่  การบริหารจัดการลุมน้าแบบองค์รวม ่  คณิตศาสตร์ศกษาและวิทยาศาสตร์ศกษา ึ ึ  น้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพ  ความหลากหลายทางชีวภาพลุมน้าโขง ่  ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาคลุมน้าโขง ่  สมุนไพรไทยและผลิตภัณฑ์สุขภาพ  ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุมน้าโขง ่ 19
  • 20. มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนาของประเทศ อันดับ 1 ใน 3 ของ ประเทศ อันดับ 1 ใน 80 ของเอเซีย อันดับ 1 ใน 400 ของโลก การสร้างแบรนด์ ความโดดเด่นของ มข. • การแพทย์ การสาธารณสุข และสุขภาพเขตร้อน • การเกษตรและระบบฟาร์มเขตร้อน (สัตวศาสตร์ พืชศาสตร์) • ความหลากหลายทางชีวภาพลุ่มน้าโขง • ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง • ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง 20
  • 21. ตัวอย่างโครงการภายใต้ มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยกับเครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น • การพัฒนาระบบการศึกษาขันพืนฐานให้กับชุมชน ้ ้ • ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถินในการแก้ปัญหาของชุมชนด้วย ่ งานวิจัย สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยด้าน “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” • ร่วมมือกับท้องถิ่นพัฒนา “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ที่เป็นเอกลักษณ์ของ ตนเอง 21
  • 22. ตัวอย่างโครงการภายใต้ มหาวิทยาลัยที่ใช้การวิจัยเป็นฐานของการพัฒนา สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยกับเครือข่าย ภาคอุตสาหกรรม • สร้างความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการ SME เพื่อ รองรับนโยบาย AEC2015 • พัฒนาองค์ความรู้ให้เป็นของคนไทยด้วยการร่วมมือ กับผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ เช่น กลุ่มมิตรผล กลุ่มเบทาโกร กลุ่มซีพี • สร้างความร่วมมือกับกลุ่มผู้ประกอบการท้องถิ่น/ ภูมิภาค เช่น กลุ่มศรีวิโรจน์ฟาร์ม สมาคม ผู้ประกอบการ SME อีสาน 22
  • 23. เป้าหมายของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใน 4 ปี ข้างหน้า อันดับ 3 ของประเทศไทย อันดับ 80 ของเอเซีย อันดับ 400 ของโลก มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ที่ใช้งานวิจัยเป็นฐาน ที่พึ่งพาตนเองได้ มหาวิทยาลัย ที่มีสุขภาวะทีดี ่ 23
  • 24. มหาวิทยาลัยขอนแก่นมีการบริหารจัดการทรัพยากร และทรัพย์สินอย่างมีประสิทธิภาพลดการ พึ่งพางบประมาณแผ่นดินและมีความมั่นคงทางด้านงบประมาณมากขึ้นจากการจัดหารายได้เป็น ของตนเอง การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพย์สิน และทรัพย์สินทางปัญญา การดาเนินงาน การจัดการ ด้านการวิจัยและการ ทรัพย์สินและคุณค่า การระดมทุน ที่มีประสิทธิภาพ เรียนการสอน บริการวิชาการ ของมหาวิทยาลัย การวิจัย/การให้บริการ มาตรการประหยัดไฟฟ้า ค่าเล่าเรียนหลักสูตรปกติ การพัฒนาพื้นที่ ศิษย์เก่า วิจัย ค่าเล่าเรียนหลักสูตร ผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ/ การใช้พลังงานทดแทน การบริการวิชาการ ทรัพย์สินทางปัญญา พิเศษ องค์กร มาตรการประหยัดน้ามัน โครงการ CSR ให้แก่ หลักสูตรนานาชาติ คุณค่าความเป็น มข. เชื้อเพลิง ภาคเอกชน ระบบจัดซื้อจัดหาวัสดุ การพัฒนาหลักสูตร โครงการตามนโยบาย กลาง สาหรับคนทางาน ของรัฐ การอบรมระยะสั้น ระยะ ยาว 24
  • 25. การสร้างรายได้จาก การจัดการเรียนการสอน การสร้างรายได้จากหลักสูตรที่หลากหลาย • หลักสูตรมีความทันสมัยและต่างจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น  หลักสูตรที่เกิดจากผลงานวิจยที่โดดเด่นของ มข. ั  บริหารธุรกิจการจัดการโรงพยาบาลและสุขภาพ • หลักสูตรสาหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต  หลักสูตรสาหรับคนทางาน  หลักสูตรสาหรับผู้สูงอายุ • หลักสูตรนานาชาติที่เป็นความโดดเด่นของ มข. เกี่ยวข้องกับอนุภูมภาคลุ่มน้า ิ โขง/เขตโซนร้อน เช่น  การแพทย์ การสาธารณสุข และสุขภาพเขตร้อน  การเกษตรและระบบฟาร์มเขตร้อน  ความหลากหลายทางชีวภาพลุมน้าโขง ่  ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาคลุมน้าโขง ่  สมุนไพรและยาแผนโบราณ  ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุมน้าโขง ่ 25
  • 26. การสร้างรายได้จาก ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ • การทากิจกรรม CRS ให้ภาคเอกชน และ USR ให้กับชุมชนและสังคม  มข. มีองค์ความรู้ ผู้ประกอบการมีงบประมาณ และชุมชนต้องการใช้ประโยชน์  โครงการชุมชนต้นแบบ • รายได้จากการให้บริการวิชาการ  การให้คาปรึกษา/การออกแบบ  ศึกษา วิเคราะห์ ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม การวางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  การบริหารจัดการโครงการ เช่น งานก่อสร้าง โรงพยาบาล  การวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาอุตสาหกรรม • รายได้จากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  โครงการ HRD โดยศูนย์บริการวิชาการ  โครงการ HRD โดยสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การให้บริการตรวจสอบทางเทคนิค การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ใน ห้องปฏิบัติการ 26
  • 27. การสร้างรายได้จาก ด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ • โครงการ Medical Hub ของภูมิภาค เพื่อให้ มข. เป็นศูนย์กลางสุขภาพของภูมิภาค / GMS โดยเน้น • การรักษาพยาบาล ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการรักษาคนไข้ที่ เป็นคนยากจน • ธุรกิจส่งเสริมสุขภาพ เช่น สปา นวดแผนไทย • การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย เช่น เครื่องสาอาง ตลาดยา และอาหารเสริมสุขภาพ ศักยภาพและความพร้อมของ มข. ในปัจจุบัน • โรงพยาบาลศรีนครินทร์ • ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ • โรงพยาบาลทันตกรรม • ศักยภาพความพร้อม ผลงานวิจัยของกลุ่มคณะวิชาทางด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ • บ้านสามวิถี คณะพยาบาลศาสตร์ 27
  • 28. 28
  • 29. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมใน การประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน หลักสูตร 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ สาขาวิชา (ถ้ามี) 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อย ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 29
  • 30. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล การดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาค การศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. ๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการ เรียนรู้ ที่กาหนดใน มคอ.๓ และมคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อย ละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา 30
  • 31. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์ การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการ ประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗ ปีที่แล้ว 8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือ คาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอน 9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 31
  • 32. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ต่อปี 11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จาก คะแนนเต็ม ๕.๐ 12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐ 32
  • 33. ถาม – ตอบ oคาถามหรือข้อเสนอแนะที่เกิดขึ้นหลังจากวันนี้ สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ denpong@kku.ac.th http://facebook.com/denpong.s