SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 
บทที่ 10 
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
- 
สมาชิกในกลุ่ม 
นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 
นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 
นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 
นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 
บทที่ 10 
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 
เสนอ... อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร
- 
สถานการณ์ปัญหา 
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการ 
ออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่า 
สื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 
ครูสายใจ เป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน 
ครูสมหญิง เป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ครูมาโนช เป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ 
ครูประพาส เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง 
บทที่ 10
- 
1. เลือกวิธีการประเมิน คุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับ ลักษณะของสื่อของครูแต่ละคน พร้อมทั้งให้เหตุผล
Your date comes here 
Your footer comes here 
5 
Conditions of use 
ครูสายใจ 
บทบาทของครูสายใจจะถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปยังผู้เรียน โดยตรง จะเน้นการฝึกหัด การทาซ้า เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนองจึงต้องมีการตรวจสอบคะแนนของผู้เรียนดังนั้นการประเมินโดยอาศัย เกณฑ์และการประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผลจึงเหมาะสมเนื่องจากแนวคิดการ ประเมินจะอาศัยเกณฑ์จะมีการกาหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิ่งที่จะระบุถึง ประสิทธิภาพของสื่อ 
การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ 
การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล 
เหตุผล
Your date comes here 
Your footer comes here 
6 
Conditions of use 
ครูสมหญิง 
เป็นการนาไปทดลองใช้ เพื่อศึกษาเพื่อหาบริบทที่เหมาะสมในการใช้ สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในสภาพจริงซึ่งครูสมหญิงเป็นครู สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ ลงมือปฏิบัติ มีทดลองอย่าง สม่าเสมอดังนั้นครูสมหญิงเหมาะสมที่จะประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง 
ประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง 
เหตุผล
Your date comes here 
Your footer comes here 
7 
Conditions of use 
ครูมาโนช 
ครูมาโนชควรใช้การประเมินด้านผลผลิต โดยการตรวจสอบคุณภาพด้านต่างๆ ของชุดสร้างความรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล ว่ามีเนื้อหามีความถูกต้อง น่าสนใจ และความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชาหรือไม่ ชุดสร้างความรู้มีการออกแบบองค์ประกอบ ทางศิลปะที่มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจหรือไม่ ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับ เนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมหรือไม่ สถานการณ์ปัญหานั้นกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเองหรือไม่ 
การประเมินด้านผลผลิต 
เหตุผล
Your date comes here 
Your footer comes here 
8 
Conditions of use 
ครูประพาส 
เพื่อประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนในรูปแบบของตัวเลขเชิงปริมาณ และถือเป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน เพราะการประเมินข้างต้นทาให้ เห็นถึงคุณภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ดี และสามารถที่จะนาเอา ข้อคิดเห็นที่ได้รับไปปรับปรุงแก้ไขสื่อให้ดีขึ้นได้ 
ใช้เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 
เหตุผล
- 
2. อธิบายข้อจากัดของการ ประเมินสื่อการสอน
10 
หลักการที่นามาใช้ในการประเมินสื่อการสอนควรมีลักษณะที่สอดคล้อง ดังนี้ คือ การประเมินเพื่อปรับปรุง และการประเมินผลลัพธ์ ด้วยเหตุนี้การ ประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์ซึ่งใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลข อย่างเดียว อาจให้รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนามาสู่การ ปรับปรุงในกระบวนการพัฒนา 
ข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
- 
3. เปรียบเทียบความแตกต่าง ของแนวคิดการประเมินสื่อ การสอน สื่อการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
Your date comes here 
Your footer comes here 
12 
Conditions of use 
เป็นการประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลข ตลอดจนสัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณะของสื่อในลักษณะภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียน รวมทั้งยังอาศัยข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งจะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุงสื่อ นวัตกรรมการสอนให้มีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 
การประเมินสื่อการสอน
Your date comes here 
Your footer comes here 
13 
Conditions of use 
หมายถึง การนาผลจากการวัดผลสื่อการเรียนการสอน มาตีความ (Interrelation) และตัดสินคุณค่า (Value Judgment) เพื่อที่จะรู้ ว่าสื่อนั้นทาหน้าที่ตามวัตถุประสงค์กาหนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดี หรือไม่ดีเพียงใด มีคุณลักษณะถูกต้องตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประการใด 
การประเมินสื่อการเรียนรู้ 
และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
Your date comes here 
Your footer comes here 
14 
Conditions of use 
จะเห็นว่า การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน กระทาได้โดยการ พิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อนั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อจึงมีความสาคัญ การวัดผลจึงต้องกระทาอย่าง มีหลักการเหตุผลและเป็นระบบเพื่อที่จะได้ข้อมูลที่เที่ยงตรง สามารถบอก ศักยภาพของสื่อได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพื่อประโยชน์ของการ ประเมินสื่ออย่างเที่ยงตรงต่อไป 
สรุป
Your date comes here 
Your footer comes here 
15 
Conditions of use 
The End

More Related Content

What's hot

Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้napatporn
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...Pornwipa Onlamul
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลังRahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง8752584
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Anna Wongpattanakit
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการPichayaporn Phaengkoat
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Rujroad Kaewurai
 

What's hot (19)

Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
M6
M6M6
M6
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลังRahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
 

Similar to บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.

บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10Pronsawan Petklub
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Ged Gis
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานนะนาท นะคะ
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfwidsanusak srisuk
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource ManagementSakda Hwankaew
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 

Similar to บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้. (20)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource Management
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 

บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.

  • 1. ประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ บทที่ 10 รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
  • 2. - สมาชิกในกลุ่ม นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 บทที่ 10 นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา เสนอ... อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร
  • 3. - สถานการณ์ปัญหา ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการ ออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่า สื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ครูสายใจ เป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน ครูสมหญิง เป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ครูมาโนช เป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ ครูประพาส เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง บทที่ 10
  • 4. - 1. เลือกวิธีการประเมิน คุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับ ลักษณะของสื่อของครูแต่ละคน พร้อมทั้งให้เหตุผล
  • 5. Your date comes here Your footer comes here 5 Conditions of use ครูสายใจ บทบาทของครูสายใจจะถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปยังผู้เรียน โดยตรง จะเน้นการฝึกหัด การทาซ้า เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนองจึงต้องมีการตรวจสอบคะแนนของผู้เรียนดังนั้นการประเมินโดยอาศัย เกณฑ์และการประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผลจึงเหมาะสมเนื่องจากแนวคิดการ ประเมินจะอาศัยเกณฑ์จะมีการกาหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิ่งที่จะระบุถึง ประสิทธิภาพของสื่อ การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล เหตุผล
  • 6. Your date comes here Your footer comes here 6 Conditions of use ครูสมหญิง เป็นการนาไปทดลองใช้ เพื่อศึกษาเพื่อหาบริบทที่เหมาะสมในการใช้ สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในสภาพจริงซึ่งครูสมหญิงเป็นครู สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ ลงมือปฏิบัติ มีทดลองอย่าง สม่าเสมอดังนั้นครูสมหญิงเหมาะสมที่จะประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง ประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง เหตุผล
  • 7. Your date comes here Your footer comes here 7 Conditions of use ครูมาโนช ครูมาโนชควรใช้การประเมินด้านผลผลิต โดยการตรวจสอบคุณภาพด้านต่างๆ ของชุดสร้างความรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล ว่ามีเนื้อหามีความถูกต้อง น่าสนใจ และความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชาหรือไม่ ชุดสร้างความรู้มีการออกแบบองค์ประกอบ ทางศิลปะที่มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจหรือไม่ ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับ เนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมหรือไม่ สถานการณ์ปัญหานั้นกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรือค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเองหรือไม่ การประเมินด้านผลผลิต เหตุผล
  • 8. Your date comes here Your footer comes here 8 Conditions of use ครูประพาส เพื่อประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนในรูปแบบของตัวเลขเชิงปริมาณ และถือเป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน เพราะการประเมินข้างต้นทาให้ เห็นถึงคุณภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ดี และสามารถที่จะนาเอา ข้อคิดเห็นที่ได้รับไปปรับปรุงแก้ไขสื่อให้ดีขึ้นได้ ใช้เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เหตุผล
  • 9. - 2. อธิบายข้อจากัดของการ ประเมินสื่อการสอน
  • 10. 10 หลักการที่นามาใช้ในการประเมินสื่อการสอนควรมีลักษณะที่สอดคล้อง ดังนี้ คือ การประเมินเพื่อปรับปรุง และการประเมินผลลัพธ์ ด้วยเหตุนี้การ ประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์ซึ่งใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลข อย่างเดียว อาจให้รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนามาสู่การ ปรับปรุงในกระบวนการพัฒนา ข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
  • 11. - 3. เปรียบเทียบความแตกต่าง ของแนวคิดการประเมินสื่อ การสอน สื่อการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
  • 12. Your date comes here Your footer comes here 12 Conditions of use เป็นการประเมินที่อาศัยข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลข ตลอดจนสัญลักษณ์ของสื่อที่พิจารณาคุณลักษณะของสื่อในลักษณะภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศในกระบวนการรู้คิดของผู้เรียน รวมทั้งยังอาศัยข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งจะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุงสื่อ นวัตกรรมการสอนให้มีคุณภาพหรือมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การประเมินสื่อการสอน
  • 13. Your date comes here Your footer comes here 13 Conditions of use หมายถึง การนาผลจากการวัดผลสื่อการเรียนการสอน มาตีความ (Interrelation) และตัดสินคุณค่า (Value Judgment) เพื่อที่จะรู้ ว่าสื่อนั้นทาหน้าที่ตามวัตถุประสงค์กาหนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดี หรือไม่ดีเพียงใด มีคุณลักษณะถูกต้องตรงตามที่ต้องการหรือไม่ ประการใด การประเมินสื่อการเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
  • 14. Your date comes here Your footer comes here 14 Conditions of use จะเห็นว่า การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน กระทาได้โดยการ พิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อนั้นเทียบกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ข้อมูลที่ได้จากการวัดผลสื่อจึงมีความสาคัญ การวัดผลจึงต้องกระทาอย่าง มีหลักการเหตุผลและเป็นระบบเพื่อที่จะได้ข้อมูลที่เที่ยงตรง สามารถบอก ศักยภาพของสื่อได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเพื่อประโยชน์ของการ ประเมินสื่ออย่างเที่ยงตรงต่อไป สรุป
  • 15. Your date comes here Your footer comes here 15 Conditions of use The End