SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม)
ผู้วิจัย นางระวิวรรณ แก้วมณี
ปีที่ศึกษา 2562
บทคัดย่อ
การพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม) 2) เพื่อสร้างและพัฒนาประสิทธิภาพของ
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้
RAHE Model ของนักเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด และ 4) เพื่อประเมิน
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ RAHE Model เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม)
สังกัดสานักการศึกษาเทศบาลนครตรัง จังหวัดตรัง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
ประกอบด้วย 1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่มีประสิทธิภาพ 80/80 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ RAHE Model ประกอบการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC เท่ากับ 0.5-1
3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.26 – 0.87
ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.06 - 0.63 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.91 และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
5 ระดับ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 สถิติที่นามาใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้
การทดสอบแบบทีกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน
ผลการศึกษาปรากฏ ดังนี้
1. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วย RAHE Model มีความเหมาะสม/สอดคล้องเชิงโครงสร้างอยู่ในระดับ
มากที่สุดสามารถนาไปจัดการเรียนรู้ได้
2. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 87.16/86.95 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้
3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model
โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅ = 4.54, S.D. = 0.62)
โดยสรุป รูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริม
ทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเหมาะสมทาให้นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้
Title The development for learning management model of RAHE Mdel by using Mathematic
drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students,
Municipal School 6 (Wat Tantayapirom).
Researcher Mrs. Rawiwan Kaewmanee
Academic year 2019
Abstract
This development aims to 1.) Develop of learning management model for Mathematics Department
for Mathayomsuksa 1 students, Municipal School 6 (Wat Tantayapirom) 2.) Create and develop the
efficiency of Mathematic skill drill exercise in term of Exponents to encourage thinking skill of
Mathayomsuksa 1 students to be effective according to the criteria 80/80 3.) Compare academic
achievement of students before and after learning using RAHE Model with skill drill exercise of Exponents
to encourage thinking skill and 4.) Evaluate student’s satisfaction influence to learning management using
RAHE Model to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. The example group of 35 students
which use for this research are Mathayomsuksa 1 students room 3, Municipal School 6 (Wat Tantayapirom)
under the Office of Education, Trang Municipality, Trang province Semester 2 for Academic year 2017.
Education instruments are 1.) Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for
Mathayomsuksa 1 students with the efficiency 80/80 2.) Learning management by using RAHE Model
composed of Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1
students which has Index of Item Objective Congruence IOC equal to 0.5-1 3.) Academic achievement
exercise for Mathematic in term of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. It is
objective test with 30 items and has 4 choices to choose for each item. Difficulty is ranged between 0.26 –
0.87, Discrimination is ranged between 0.06 - 0.63 and Validity is equal to 0.91 and 4.) Satisfaction
questionnaire influence to Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for
Mathayomsuksa 1 students to be Rating scale 5 levels which has Validity at 0.88. Statistics which use for this
research are Percentage, Average, Standard deviation and Hypothesis Testing by using test of the example
dependent group.
The results of this research are:
1. The development of learning management using RAHE Model be appropriate/accord with
structure at the highest level which can use with learning management.
2. The efficiency of Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for
Mathayomsuksa 1 students. There has the efficiency E1/E2 equal to 87.16/86.95 greater than the standard
80/80.
3. Mathayomsuksa 1 students who study learning management of RAHE Model by using Mathematic
drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. The academic
achievement for post-study is greater than pre-study with Statistical significance at .01
4. Mathayomsuksa 1 student’s satisfaction influence to learning management of RAHE Model by
using Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for drill exercise enhance
Mathematic skill in term of Exponents. Mathayomsuksa 1 students satisfy with this research at the highest (x
= 4.54, S.D. = 0.62). In conclusion, learning management RAHE model using Mathematic drill exercise of
Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students have the proper efficiency which cause
the students to have more learning skill for Mathematic and students have higher academic achievement
which able to be the guideline for the development of education quality importantly focusing on the
student.

More Related Content

What's hot

ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
FuangFah Tingmaha-in
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
Pattarapong Worasakmahasan
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
krurutsamee
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
nilobon66
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
atunya2530
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
Rujroad Kaewurai
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
Prachyanun Nilsook
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
apostrophe0327
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
jeerawan_l
 
รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57
Satian Pantis
 

What's hot (20)

ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้
 
1.ปก.
1.ปก.1.ปก.
1.ปก.
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
Integrate research teaching_project
Integrate research teaching_projectIntegrate research teaching_project
Integrate research teaching_project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57
 

Similar to Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง

บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
Aon Narinchoti
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
krupawit
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
pranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
pranee Dummang
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
Art Nan
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
Nirut Uthatip
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 

Similar to Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง (20)

บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
 
กลยุทธ์ที่ 5
กลยุทธ์ที่ 5กลยุทธ์ที่ 5
กลยุทธ์ที่ 5
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
set
setset
set
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
Research
ResearchResearch
Research
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 

More from 8752584

บทคัดย่อ (ธรรมดา).pdf
บทคัดย่อ (ธรรมดา).pdfบทคัดย่อ (ธรรมดา).pdf
บทคัดย่อ (ธรรมดา).pdf
8752584
 
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdfบทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
8752584
 
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdfบทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
8752584
 
บทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรีบทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรี
8752584
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
8752584
 

More from 8752584 (6)

บทคัดย่อ (ธรรมดา).pdf
บทคัดย่อ (ธรรมดา).pdfบทคัดย่อ (ธรรมดา).pdf
บทคัดย่อ (ธรรมดา).pdf
 
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdfบทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
 
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdfบทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
บทคัดย่อ (อาร์ แอน ดี).pdf
 
บทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรีบทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรี
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
บทคัดย่อครูสลิน
บทคัดย่อครูสลินบทคัดย่อครูสลิน
บทคัดย่อครูสลิน
 

Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง

  • 1. ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม) ผู้วิจัย นางระวิวรรณ แก้วมณี ปีที่ศึกษา 2562 บทคัดย่อ การพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม) 2) เพื่อสร้างและพัฒนาประสิทธิภาพของ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model ของนักเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด และ 4) เพื่อประเมิน ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ RAHE Model เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนเทศบาล 6 (วัดตันตยาภิรม) สังกัดสานักการศึกษาเทศบาลนครตรัง จังหวัดตรัง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพ 80/80 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ RAHE Model ประกอบการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC เท่ากับ 0.5-1 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.26 – 0.87 ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.06 - 0.63 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.91 และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 สถิติที่นามาใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ การทดสอบแบบทีกรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการศึกษาปรากฏ ดังนี้ 1. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วย RAHE Model มีความเหมาะสม/สอดคล้องเชิงโครงสร้างอยู่ในระดับ มากที่สุดสามารถนาไปจัดการเรียนรู้ได้ 2. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 87.16/86.95 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริมทักษะการคิด แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅ = 4.54, S.D. = 0.62) โดยสรุป รูปแบบการจัดการเรียนรู้ RAHE Model โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อส่งเสริม ทักษะการคิด สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเหมาะสมทาให้นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้
  • 2. Title The development for learning management model of RAHE Mdel by using Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students, Municipal School 6 (Wat Tantayapirom). Researcher Mrs. Rawiwan Kaewmanee Academic year 2019 Abstract This development aims to 1.) Develop of learning management model for Mathematics Department for Mathayomsuksa 1 students, Municipal School 6 (Wat Tantayapirom) 2.) Create and develop the efficiency of Mathematic skill drill exercise in term of Exponents to encourage thinking skill of Mathayomsuksa 1 students to be effective according to the criteria 80/80 3.) Compare academic achievement of students before and after learning using RAHE Model with skill drill exercise of Exponents to encourage thinking skill and 4.) Evaluate student’s satisfaction influence to learning management using RAHE Model to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. The example group of 35 students which use for this research are Mathayomsuksa 1 students room 3, Municipal School 6 (Wat Tantayapirom) under the Office of Education, Trang Municipality, Trang province Semester 2 for Academic year 2017. Education instruments are 1.) Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students with the efficiency 80/80 2.) Learning management by using RAHE Model composed of Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students which has Index of Item Objective Congruence IOC equal to 0.5-1 3.) Academic achievement exercise for Mathematic in term of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. It is objective test with 30 items and has 4 choices to choose for each item. Difficulty is ranged between 0.26 – 0.87, Discrimination is ranged between 0.06 - 0.63 and Validity is equal to 0.91 and 4.) Satisfaction questionnaire influence to Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students to be Rating scale 5 levels which has Validity at 0.88. Statistics which use for this research are Percentage, Average, Standard deviation and Hypothesis Testing by using test of the example dependent group. The results of this research are: 1. The development of learning management using RAHE Model be appropriate/accord with structure at the highest level which can use with learning management. 2. The efficiency of Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. There has the efficiency E1/E2 equal to 87.16/86.95 greater than the standard 80/80. 3. Mathayomsuksa 1 students who study learning management of RAHE Model by using Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students. The academic achievement for post-study is greater than pre-study with Statistical significance at .01 4. Mathayomsuksa 1 student’s satisfaction influence to learning management of RAHE Model by using Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for drill exercise enhance
  • 3. Mathematic skill in term of Exponents. Mathayomsuksa 1 students satisfy with this research at the highest (x = 4.54, S.D. = 0.62). In conclusion, learning management RAHE model using Mathematic drill exercise of Exponents to encourage thinking skill for Mathayomsuksa 1 students have the proper efficiency which cause the students to have more learning skill for Mathematic and students have higher academic achievement which able to be the guideline for the development of education quality importantly focusing on the student.