SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
การประกันคุณภาพการศึกษา
     ในสถานศึกษา
        EA 5103
หน่ วยที 2
   การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.2 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
    สถานศึกษา
มาตรา 47 ในพระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที
                              ิ
แก้ ไขเพิมเติม (ฉบับที 2) พ.ศ. 2545 ทีกําหนดว่ า ระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้ เป็ นไปตามทีกําหนดใน
กฎกระทรวงนั=นได้ นําไปสู่ การจัดทํากฎกระทรวงว่ าด้ วย ระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2546 และมี
การปรับปรุ งแก้ ไขโดยรวมระบบการประกันคุณภาพภายในขององค์ กร
หลักทีรับผิดชอบการศึกษาในแต่ ละระดับ คือ การศึกษา            ขั=น
พืนฐาน การอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษาและระบบการประกัน
  =
คุณภาพภายนอกเข้ าด้ วยกัน โดยกฏกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ระบุว่า
การดําเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน

1. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2. จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
      ทีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
      สถานศึกษา

  3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
4. ดําเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
     ของสถานศึกษา

5. จัดให้ มการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
           ี

6. จัดให้ มการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
           ี
      การศึกษาของสถานศึกษา
7. จัดทํารายงานประจําปี ทีเป็ นรายงานประเมิน
      คุณภาพภายใน
8. จัดให้ มการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนือง
           ี

การดําเนินการประกันคุณภาพภายใน ให้ สถานศึกษายึด
     หลักการมีส่วนร่ วมของชุ มชนและหน่ วยงานที
     เกียวข้ องทั=งภาครัฐและเอกชน โดยการส่ งเสริม
     สนับสนุนและกํากับดูแลของหน่ วยงานต้ นสั งกัด
1. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษามีความสํ าคัญและจําเป็ นมากสํ าหรับการจัดการศึกษาที
     ใช้ หลักการกระจายอํานาจไปยังสถานศึกษาโดยทีให้ สถานศึกษา
     จัดทําหลักสู ตรเองและบริหารการใช้ หลักสู ตรให้ เหมาะสม
     สอดคล้ องกับสภาพปัญหาและความต้ องการของท้ องถิน รัฐจึง
     กําหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติเพือเป็ นข้ อกําหนดเกียวกับ
     คุณลักษณะ คุณภาพทีพึงประสงค์ และมาตรฐานทีต้ องการให้
     เกิดขึนในสถานศึกษาทุกแห่ งและใช้ เป็ นหลักในการเทียบเคียง
           =
     สํ าหรับการส่ งเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล
     และการประเมินคุณภาพทางการศึกษา
สํ านักงานการศึกษาขั=นพืนฐานได้ นําสู่ การปฏิบัตให้ เกิดผล โดยนํามาจัดทําเป็ น
                          =                     ิ
มาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ประกาศให้
                        =
สถานศึกษาทุกแห่ งทีเปิ ดสอนระดับการศึกษาขั=นพืนฐานใช้ เป็ นเปาหมายใน
                                                  =             ้
การพัฒนา เมือวันที 15 พฤศจิกายน 2548 ดังนั=นสถานศึกษาต้ องนํามาตรฐาน
การศึกษาขั=นพืนฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยทีประกาศใช้ นีเ= ป็ นเปาหมาย
               =                                                         ้
การพัฒนาสถานศึกษา อย่ างไรก็ตามเขตพืนทีการศึกษาและสถานศึกษาเองอาจ
                                          =
ต้ องการเพิมเติมมาตรฐานการศึกษาทีกําหนดเฉพาะเจาะจงตามบริบทและ
ความต้ องการของท้ องถินอีกได้ การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ต้ องสอดคล้ องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐานและ   =
เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา โดยกําหนดให้ เหมาะสมครอบคลุมสาระการเรียนรู้ และ
ศักยภาพของผู้เรียน สถานศึกษาและท้ องถิน
2. จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
      ทีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
      สถานศึกษา

1) มีการวิเคราะห์ สภาพปัญหาและความจําเป็ นอย่ าง
     เป็ นระบบและมีแผนปฏิบัตการประจําปี รองรับทั=ง
                             ิ
     แผนระยะสั= นและระยะยาว
2) มีการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย
การพัฒนาและสภาพความสํ าเร็จของการพัฒนาตาม
มาตรฐานการศึกษาทีกําหนดไว้ อย่ างต่ อเนือง ชัดเจน
และเป็ นรูปธรรม
3) กําหนดวิธีการดําเนินงาน โดยอาศัยหลักวิชาหรือ
ผลการวิจัยหรือข้ อมูลเชิงประจักษ์ ทอ้ างอิงได้
                                   ี
ครอบคลุมการพัฒนาหลักสู ตร ด้ านการจัดการเรียนการ
สอนหรือการจัดปราบการณ์ การเรียนรู้ กระบวนการ
เรียนรู้ การส่ งเสริมการเรียนรู้       การวัดผลและ
การประเมินผล การพัฒนาบุคลากรและ                 การ
บริหารจัดการเพือนําไปสู่ เป้ าหมายทีกําหนดไว้
4) เสาะหาและประสานสั มพันธ์ กบแหล่ งวิทยากร
                              ั
ภายนอกทีให้ การสนับสนุนทางวิชาการได้ และระบุไว้
ในแผนให้ ชัดเจน


5) กําหนดบทบาทหน้ าทีให้ บุคลากรของสถานศึกษา
ทุกคน รวมทั=งผู้เรียนรับผิดชอบและดําเนินงานตามที
กําหนดไว้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
6) กําหนดบทบาทหน้ าทีและแนวทางการมีส่วนร่ วม
ของบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคลากรภายในชุมชน
เพือการพัฒนาผู้เรียนร่ วมกัน

7) กําหนดการใช้ งบประมาณและทรัพยากรอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ

8) มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนและ การ
นําผลไปใช้ ในการพัฒนาอย่ างต่ อเนือง
3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
สารสนเทศนั=น มีอยู่มากมาย เช่ น ข้ อมูลผู้เรียน ครู และบุคลากร ข้ อมูล
อาคารและสถานที สิ งอํานวยความสะดวก ข้ อมูลการพัฒนาบุคลากร
ข้ อมูลทรัพยากร ข้ อมูลงบประมาณ ฯลฯ สถานศึกษาควรมีการจัดระบบ
สารสนเทศให้ เป็ นหมวดหมู่ให้ ครอบคลุมและข้ อมูลมีความสมบูรณ์
ค้ นได้ ง่ายและสะดวกรวดเร็ว มีการนําข้ อมูลมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ อยู่
เสมอ การจัดหมวดหมู่ข้อมูลสารสนเทศอาจแบ่ งเป็ นด้ าน เช่ น
ด้ านคุณภาพผู้เรียน ด้ านคุณภาพการเรียนการสอน ด้ านคุณภาพ
การบริหารจัดการและด้ านคุณภาพการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้ หรือ
จัดโดยวิธีอนทีสถานศึกษาเห็นว่ าเหมาะสมก็ได้
             ื
4. ดําเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
   ของสถานศึกษา


การดําเนินงานตามแผนนั=น สถานศึกษาต้ องสร้ างระบบ
การทํางานทีเข้ มแข็ง เน้ นการมีส่วนร่ วม ใช้ เทคนิคการ
บริหารและการจัดการทีจะทําให้ การดําเนินงานตาม
แผนพัฒนาสถานศึกษาบรรลุเป้ าหมาย
4.1 วงจรการพัฒนาคุณภาพ PDCA ของเดมิง (Deming
Cycle) เป็ นเทคนิคทีผู้บริหารส่ วนใหญ่ นิยมใช้ กน
                                                ั
แพร่ หลาย เพราะเป็ นกระบวนการทีมีการตรวจสอบตนเอง
อยู่ตลอดเวลาตั=งแต่ ข=นการวางแผน (Plan) การปฏิบัตตาม
                      ั                           ิ
แผนหรือขั=นตอนทีวางไว้ (Do) การตรวจสอบหรือ
การประเมิน (Check) และการนําผลการประเมินย้ อนกลับ
ไปทบทวน ปรับปรุงแก้ไขวางมาตรฐานหรือมาตรการ
กําหนดขั=นตอนใหม่ (Act) เพือการดําเนินงานต่ อ ๆ ไป
4.2 แนวคิด Balanced Scorecard
         สถานศึกษาหลายแห่ งใช้ แนวคิดในการกําหนด
ผลสํ าเร็จอย่ างสมดุลรอบด้ าน (Balanced Scorecard)
เป็ นเทคนิคการบริหาร เช่ น โรงเรียนในฝัน โดยใช้
การกําหนดมุมมองทีเกียวข้ องกับผลสํ าเร็จของ
การดําเนินงาน 4 ด้ าน คือ
 1) มุมมองด้ านนักเรียน โดยพิจารณาความต้ องการที
เกียวข้ องเกียวกับคุณลักษณะของผู้เรียนทีคาดหวัง
2) มุมมองด้ านกระบวนการจัดการศึกษาภายใน โดย
พิจารณาผลสํ าเร็จและแนวทางในการพัฒนาประสิ ทธิภาพ
และคุณภาพของกระบวนการบริหารจัดการและการจัด
หลักสู ตร กระบวนการเรียนรู้
3) มุมมองด้ านการเรียนรู้ และการพัฒนา โดยพิจารณาปัจจัยทีใช้ ขบเคลือนให้
                                                              ั
ผู้เรียนได้ รับการพัฒนาคุณภาพตามทีคาดหวัง ได้ แก่ การสร้ างความเข้ มแข็งให้
สถานศึกษาเป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและทักษะของครู
ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา การเพิมสมรรถนะของ
สถานศึกษาในการใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารเพือ
การพัฒนา
4) มุมมองด้ านงบประมาณและทรัพยากร โดยพิจารณา
ปัจจัยส่ งเสริมให้ การดําเนินงานบรรลุภาพความสํ าเร็จใน
ด้ านงบประมาณและทรัพยากร โดยคํานึงถึงแหล่ ง
สนับสนุน อัตรากําลัง ค่ าใช้ จ่าย ประสิ ทธิภาพใน
การใช้ ทรัพยากรและงบประมาณ
5. จัดให้ มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

สถานศึกษาควรตั=งคณะทํางานขึนเพือวางแผนติดตามและรวบรวม
                                 =
ข้ อมูลสารสนเทศการดําเนินงาน/โครงการตลอดปี การศึกษาโดยใช้
มาตรฐานการศึกษาเป็ นนกรอบการติดตามตรวจสอบ ทั=งนีข้อมูล    =
เหล่ านีจะเป็ นปะโยชน์ ในการจัดทํารายงานประจําปี ของสถานศึกษา
         =
โดยควรมีการตรวจสอบทุกปี และดําเนินการอย่ างจริงจัง ต่ อเนือง
และเป็ นระบบ สนับสนุนให้ ครู ผู้ปกครองและผู้แทนชุมชนเข้ ามามี
ส่ วนร่ วม นอกจากนั=นสถานศึกษาควรมีการตรวจสอบคุณภาพ
ภายในเกียวกับเรืองต่ อไปนี= เพือให้ ก้าวทันสภาวการณ์ ปัจจุบนด้ วย
                                                            ั
1) วิสัยทัศน์ และภารกิจของสถานศึกษา เช่ น วิเคราะห์ ดู
ว่ าวิสัยทัศน์ และภารกิจสอดคล้ องกับมาตรฐานการศึกษา
ขั=นพืนฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและสอดคล้ อง
       =
กับสภาวะปัจจุบันหรือไม่ ควรปรับปรุงเปลียนแปลง
อะไรบ้ าง จัดกิจกรรมอย่ างไรจึงจะเหมาะสม
2) แผนพัฒนาสถานศึกษา เช่ น แผนพัฒนาสะท้ อน
ความต้ องการของชุมชนจริงหรือไม่ มีการรวบรวมและ
วิเคราะห์ ข้อมูลตลอดจนนําผลมาใช้ ในการวางแผน
ครอบคลุมครบถ้ วนหรือไม่ กิจกรรมตามแผนสั มพันธ์
กันและสอดรับกับวิสัยทัศน์ และเป้ าหมายหรือไม่
แผนพัฒนาโดยรวมมีความชัดเจน เข้ าใจง่ ายและมี
ทิศทางการพัฒนาทีชัดเจนหรือไม่
3) การพัฒนาหลักสู ตรและกระบวนการเรียนรู้ เช่ น
บรรยากาศและสภาพแวดล้ อม สนับสนุนการเรียนรู้ มากน้ อย
เพียงใด สะท้ อนความสํ าเร็จของผู้เรียนอย่ างไร ครู เลือกใช้
ยุทธศาสตร์ การสอนหลากหลายและสอดคล้ องกับ
ความต้ องการของผู้เรียนหรือไม่ ครู และผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
ทีส่ งผลต่ อการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่ างไร การจัดการเรียนรู้
เน้ นให้ ผ้ ูเรียนได้ มโอกาสฝึ กแก้ ปัญหา ฝึ กการคิดสร้ างสรรค์
                       ี
ทีสั มพันธ์ กบชีวตจริง ตลอดจนพัฒนานิสัยรักการเรียนรู้
                 ั ิ
หรือไม่ เป็ นต้ น
4) ผลสั มฤทธิaทางการเรียนของผู้เรียนเป็ นอย่ างไร
ผลงานของผู้เรียนมีความหมาย บ่ งบอกถึงสิ งทีผู้เรียนรู้
เข้ าใจ และทําได้ หรือไม่ ผู้เรียนได้ มีโอกาสนําความรู้ไป
ใช้ มากน้ อยเพียงใด เป็ นต้ น
5) การพัฒนาองค์ กร เนืองจากสถานศึกษาเป็ นแหล่ งหรือศูนย์
การเรียนรู้ ทีสํ าคัญในชุมชน ดังนั=นสถานศึกษาต้ องมุ่งเน้ น
สถานศึกษาโดยเฉพาะห้ องสมุดให้ เป็ นแหล่ งเรียนรู้ ของชุมชนได้ เป็ น
อย่ างดี ดังนั=นประเด็นในการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในจึง
ควรวิเคราะห์ ดูว่า ผู้บริหารอุทศตนเพือองค์ กร เพือนร่ วมงานและ
                               ิ
เพือการพัฒนาการศึกษาอย่ างไร เป็ นผู้นําในการสร้ างสั งคมแห่ ง
การเรียนรู้ และสามารถแนะนํานวัตกรรมหรือแหล่ งนวัตกรรม
สํ าหรับผู้สอนได้ หรือไม่ มีการประชุมแลกเปลียนความคิดเห็นหรือ
เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูสอน/คณะทํางานมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจใน
เชิงบริหารหรือไม่ มากน้ อยเพียงใด เป็ นต้ น
6) การพัฒนาวิชาชีพครู มีการใช้ แหล่ งวิทยาการ
ภายนอกช่ วยให้ ครู เกิดการเรียนรู้ อย่ างไรบ้ าง มีการ
เปิ ดโอกาสให้ ครูได้ แลกเปลียนเรียนรู้ ประสบการณ์ และ
ความคิดในการพัฒนาวิชาชีพด้ วยวิธีการใดบ้ าง
สนับสนุนให้ ครู มีการวิจัยค้ นคว้ าความรู้ใหม่ เกียวกับ
การเรียนการสอนและการประเมินผลบ้ างหรือไม่
อย่ างไร เป็ นต้ น
การติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาที
ดําเนินการอย่ างจริงจังจะช่ วยให้ สถานศึกษามีข้อมูล
ถูกต้ องและเพียงพอในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาที
เน้ นคุณภาพการศึกษาในรอบปี ถัดไป นอกจากนี=
ผลจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
ยังมีส่วนช่ วยกระตุ้นผู้ทเกียวข้ องให้ ตระหนักถึง
                         ี
การกําหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนาการศึกษา
ในระดับท้ องถินและระดับชาติอกทางหนึงด้ วย
                                  ี
6. จัดให้ มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
              การศึกษาของสถานศึกษา

สถานศึกษาทีมีความพร้ อมอาจตั=งคณะทํางานขึนทําหน้ าทีประเมินคุณภาพ
                                             =
ภายในสถานศึกษาก็ได้ ซึงจะเป็ นการสร้ างกระบวนการประเมินตนเองอีก
ทางหนึง นําผลจากการประเมินไประบุไว้ ในรายงานการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประจําปี ต่ อไป การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาต้ อง
ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐาน/ปฐมวัย ทีกําหนดไว้ และ
                                   =
สถานศึกษาอาจทําการประเมินคุณภาพผู้เรียนโดยรวม จําแนกตามกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ เพือเปรียบเทียบกับผลสั มฤทธิaทางการเรียนเฉลียของนักเรียนเป็ น
รายคน เป็ นการตรวจสอบและยืนยันคุณภาพผู้เรียนทางด้ านวิชาการ โดย
ขอใช้ แบบทดสอบจากองค์ กรทีมีแบบทดสอบทีได้ มาตรฐาน
7. จัดทํารายงานประจําปี ทีเป็ นรายงานประเมิน
                คุณภาพภายใน

มาตรา 48 ตาม พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ
                                ิ
พ.ศ.2542 และทีแก้ไขเพิมเติม(ฉบับที 2) พ.ศ. 2545
ให้ สถานศึกษาจัดทํารายงานประจําปี เสนอต่ อหน่ วยงานต้ น
สั งกัด หน่ วยงานทีเกียวข้ องและเปิ ดเผยต่ อสาธารณชนและ
เพือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
การจัดทํารายงานประจําปี ของสถานศึกษา ไม่ มรูปแบบทีตายตัว
                                               ี
แต่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั=นพืนฐานได้ ให้ แนวทางไว้
                                           =
เป็ นตัวอย่ าง โดย เสนอให้ แบ่ งรายงานเป็ น 4 บท คือ บทที 1
สะท้ อนสภาพทัวไปของสถานศึกษา บทที 2 ระบุเปาหมาย     ้
การพัฒนาของสถานศึกษา บทที 3 ระบุความสํ าเร็จของ
การพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาทีกําหนดไว้ ในแผนพัฒนา
สถานศึกษา บทที 4 ระบุ จุดเด่ น จุดด้ อยและความต้ องการ
ช่ วยเหลือ และควรระบุหลักฐานข้ อมูลผลสั มฤทธิaทางการ
ประเมินตามแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาไว้ ด้วย
ประโยชน์ สําคัญของการจัดทํารายงานประจําปี ของ
สถานศึกษาไม่ ได้ อยู่ทจัดทําเพือรายงานต่ อใคร แต่ อยู่ที
                      ี
การนําผลไปใช้ วางแผนปรับปรุงงานต่ อ ๆ ไป ดังนั=น
สถานศึกษาต้ องตระหนักถึงความจําเป็ นในการจัดทํา
รายงานและนําข้ อมูลไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ อย่ างจริงจัง
8. จัดให้ มการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนือง
           ี

การทีจะทําให้ คุณภาพของสถานศึกษาดํารงอยู่อย่ าง
ยังยืน สถานศึกษาควรตรวจสอบและทบทวนการ
ดําเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมอยู่เสมอ โครงการ/
กิจกรรมทีทําต้ องคุ้มค่ าและเกิดประโยชน์ ส่ งผลถึง
ผู้เรียน การพิจารณาโครงการ/กิจกรรมทีจะทําต่ อไป
หรือไม่ น=ันควรพิจารณา ดังนี=
1) ถ้ าเป็ นโครงการทีดีสมควรดําเนินการต่ อไป
   ก็ดารงโครงการนั=นไว้
        ํ

2) ถ้ าเป็ นโครงการทีดีแต่ ยงดําเนินการไม่ สําเร็จหรือไม่
                            ั
บรรลุเป้ าหมายเพราะมีจุดบกพร่ อง ถ้ าปรับปรุงแก้ ไข
สามารถบรรลุผลสํ าเร็จได้ กดาเนินการต่ อไปและทําให้ ดี
                              ็ ํ
ยิงขึน
     =
3) ถ้ าเป็ นโครงการทีมีความก้ าวหน้ าในการดําเนินงานอยู่
ตลอดเวลา ก็พฒนาดําเนินโครงการนั=นต่ อไปอย่ างไม่
                ั
หยุดยั=ง


4) หากมีเหตุการณ์ หรือสิ งทีส่ อเค้ าว่ าจะเกิดปัญหา ต้ อง
หาทางป้ องกันไว้ ก่อน ก็จําเป็ นต้ องทําโครงการใหม่ ๆ ขึน=
เพือป้ องกันปัญหา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่ างต่ อเนือง
   สถานศึกษาต้ องคํานึงถึงสิ งต่ อไปนี=

1) สร้ างจิตสํ านึกการพัฒนาให้ เกิดขึนในหมู่ครูและ
                                     =
บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
2) เน้ นยําหรือกําหนดเป็ นนโยบายการทํางานอย่ างมีระบบ รวมทั=ง
           =
ต้ องทํางานอย่ างมีเปาหมายทํางานเป็ นหมู่คณะและต้ องทําอย่ างต่ อเนือง
                     ้

 3) พัฒนาสถานศึกษาให้เป็ นองค์แห่ งการเรี ยนรู ้ โดยต้องทําให้บุคลากรทุกคน
ในสถานศึกษาเป็ นบุคคลแห่ งการเรี ยนรู ้ คือ รู ้จกพัฒนาตนเอง ใฝ่ รู ้ หมัน
                                                 ั                       +
แสวงหาความรู ้อยูเ่ สมอ มีการแลกเปลี+ยนเรี ยนรู ้แบ่งปั นความรู ้กนตลอดเวลา
                                                                  ั
เกิดทีมผูเ้ ชี+ยวชาญในเรื+ องต่าง ๆ หลากหลายจนได้รับการยอมรับจากผูเ้ กี+ยวข้อง
                                                     ั
มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และแลกเปลี+ยนความรู ้กบองค์กรอื+น ๆ
สถานศึกษาก็จะเป็ นองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ที+มีความเคลื+อนไหวในการพัฒนา
                      ่
คุณภาพการศึกษาอยูตลอดเวลา ผลผลิตขององค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ เห็นได้จาก
1) ผลสัมฤทธิ:ของงานสู งขึ;น 2) เกิดการพัฒนาคน 3) มีการพัฒนาความรู ้ และ
4) องค์กรมีศกยภาพสู ง
                 ั
มาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐานในการประกันคุณภาพ
                     =
      ภายในของสถานศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการได้ กาหนดมาตรฐานการศึกษา
                        ํ
สํ าหรับการศึกษาขั=นพืนฐาน เพือให้ สถานศึกษาได้ นําไป
                      =
เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตาม
ระบบการประกันคุณภาพภายใน มี 4 ด้ าน รวม 18
มาตรฐาน ดังนี=
1. มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน มี 8 มาตรฐาน คือ

มาตรฐานที 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยม
ทีพึงประสงค์

มาตรฐานที 2 ผู้เรียนมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และ
พัฒนาสิ งแวดล้ อม
มาตรฐานที 3 ผู้เรียนมีทกษะในการทํางาน รักการ
                       ั
ทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อนได้ และมีเจตคติทดีต่อ
                               ื                ี
อาชีพสุ จริต

มาตรฐานที 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดสั งเคราะห์ มีวจารณญาณ มีความคิดสร้ างสรรค์
                  ิ
คิดไตร่ ตรอง และมีวสัยทัศน์
                    ิ
มาตรฐานที 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะทีจําเป็ นตาม
หลักสู ตร


มาตรฐานที 6 ผู้เรียนมีทกษะในการแสวงหาความรู้ ด้วย
                        ั
ตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนือง
มาตรฐานที 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและ
สุ ขภาพจิตทีดี


มาตรฐานที 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย
ด้ านศิลปะ ดนตรีและกีฬา
2. มาตรฐานด้ านการเรียนการสอน มี 2 มาตรฐาน
มาตรฐานที 9 ครู มคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้
                   ี
ความสามารถตรงกับงานทีรับผิดชอบ              หมัน
พัฒนาตนเอง เข้ ากับชุ มชนได้ ดและมีครูเพียงพอ
                              ี


มาตรฐานที 10 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียน
การสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ
3. มาตรฐานด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา มี
     6 มาตรฐาน คือ

มาตรฐานที 11 ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะ
ผู้นําและมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา

มาตรฐานที 12 สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง
ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์ กรอย่ างเป็ นระบบ
ครบวงจร
มาตรฐานที 13 สถานศึกษามีการบริหารและ
   จัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน


มาตรฐานที 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตรและ
กระบวนการเรียนรู้ ทเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ
                   ี
มาตรฐานที 15 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริม
คุณภาพผู้เรียนอย่ างหลากหลาย

มาตรฐานที 16 สถานศึกษามีการสภาพแวดล้ อมและการ
บริการทีส่ งเสริมให้ ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม
ศักยภาพ
4. มาตรฐานด้ านการพัฒนาชุมชนแห่ งการเรียนรู้ มี 2
     มาตรฐาน คือ

มาตรฐานที 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้
แหล่ งเรียนรู้ และภูมปัญญาในท้ องถิน
                     ิ

มาตรฐานที 18 สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่ างบ้ าน
องค์ กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการและองค์ กรภาครัฐ
และเอกชน เพือพัฒนาวิธีการเรียนรู้ในชุ มชน

More Related Content

What's hot

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2จุลี สร้อยญานะ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยานภดล รุ่งจรูญ
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาSurapong Khamjai
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 

What's hot (20)

W 2
W 2W 2
W 2
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Bp
BpBp
Bp
 

Similar to Ea5103

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 

Similar to Ea5103 (20)

ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from Nichaphon Tasombat

4 แบบประเมินการทำกิจกรรม
4 แบบประเมินการทำกิจกรรม4 แบบประเมินการทำกิจกรรม
4 แบบประเมินการทำกิจกรรมNichaphon Tasombat
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอนNichaphon Tasombat
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชาNichaphon Tasombat
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชาNichaphon Tasombat
 

More from Nichaphon Tasombat (6)

4 แบบประเมินการทำกิจกรรม
4 แบบประเมินการทำกิจกรรม4 แบบประเมินการทำกิจกรรม
4 แบบประเมินการทำกิจกรรม
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 

Ea5103

  • 2. หน่ วยที 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2.2 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา
  • 3. มาตรา 47 ในพระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที ิ แก้ ไขเพิมเติม (ฉบับที 2) พ.ศ. 2545 ทีกําหนดว่ า ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้ เป็ นไปตามทีกําหนดใน กฎกระทรวงนั=นได้ นําไปสู่ การจัดทํากฎกระทรวงว่ าด้ วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2546 และมี การปรับปรุ งแก้ ไขโดยรวมระบบการประกันคุณภาพภายในขององค์ กร หลักทีรับผิดชอบการศึกษาในแต่ ละระดับ คือ การศึกษา ขั=น พืนฐาน การอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษาและระบบการประกัน = คุณภาพภายนอกเข้ าด้ วยกัน โดยกฏกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ระบุว่า
  • 5. 4. ดําเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา 5. จัดให้ มการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ี 6. จัดให้ มการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน ี การศึกษาของสถานศึกษา
  • 6. 7. จัดทํารายงานประจําปี ทีเป็ นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน 8. จัดให้ มการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนือง ี การดําเนินการประกันคุณภาพภายใน ให้ สถานศึกษายึด หลักการมีส่วนร่ วมของชุ มชนและหน่ วยงานที เกียวข้ องทั=งภาครัฐและเอกชน โดยการส่ งเสริม สนับสนุนและกํากับดูแลของหน่ วยงานต้ นสั งกัด
  • 7. 1. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษามีความสํ าคัญและจําเป็ นมากสํ าหรับการจัดการศึกษาที ใช้ หลักการกระจายอํานาจไปยังสถานศึกษาโดยทีให้ สถานศึกษา จัดทําหลักสู ตรเองและบริหารการใช้ หลักสู ตรให้ เหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพปัญหาและความต้ องการของท้ องถิน รัฐจึง กําหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติเพือเป็ นข้ อกําหนดเกียวกับ คุณลักษณะ คุณภาพทีพึงประสงค์ และมาตรฐานทีต้ องการให้ เกิดขึนในสถานศึกษาทุกแห่ งและใช้ เป็ นหลักในการเทียบเคียง = สํ าหรับการส่ งเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประเมินคุณภาพทางการศึกษา
  • 8. สํ านักงานการศึกษาขั=นพืนฐานได้ นําสู่ การปฏิบัตให้ เกิดผล โดยนํามาจัดทําเป็ น = ิ มาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ประกาศให้ = สถานศึกษาทุกแห่ งทีเปิ ดสอนระดับการศึกษาขั=นพืนฐานใช้ เป็ นเปาหมายใน = ้ การพัฒนา เมือวันที 15 พฤศจิกายน 2548 ดังนั=นสถานศึกษาต้ องนํามาตรฐาน การศึกษาขั=นพืนฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยทีประกาศใช้ นีเ= ป็ นเปาหมาย = ้ การพัฒนาสถานศึกษา อย่ างไรก็ตามเขตพืนทีการศึกษาและสถานศึกษาเองอาจ = ต้ องการเพิมเติมมาตรฐานการศึกษาทีกําหนดเฉพาะเจาะจงตามบริบทและ ความต้ องการของท้ องถินอีกได้ การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ต้ องสอดคล้ องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐานและ = เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา โดยกําหนดให้ เหมาะสมครอบคลุมสาระการเรียนรู้ และ ศักยภาพของผู้เรียน สถานศึกษาและท้ องถิน
  • 9. 2. จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ทีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 1) มีการวิเคราะห์ สภาพปัญหาและความจําเป็ นอย่ าง เป็ นระบบและมีแผนปฏิบัตการประจําปี รองรับทั=ง ิ แผนระยะสั= นและระยะยาว
  • 10. 2) มีการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย การพัฒนาและสภาพความสํ าเร็จของการพัฒนาตาม มาตรฐานการศึกษาทีกําหนดไว้ อย่ างต่ อเนือง ชัดเจน และเป็ นรูปธรรม
  • 11. 3) กําหนดวิธีการดําเนินงาน โดยอาศัยหลักวิชาหรือ ผลการวิจัยหรือข้ อมูลเชิงประจักษ์ ทอ้ างอิงได้ ี ครอบคลุมการพัฒนาหลักสู ตร ด้ านการจัดการเรียนการ สอนหรือการจัดปราบการณ์ การเรียนรู้ กระบวนการ เรียนรู้ การส่ งเสริมการเรียนรู้ การวัดผลและ การประเมินผล การพัฒนาบุคลากรและ การ บริหารจัดการเพือนําไปสู่ เป้ าหมายทีกําหนดไว้
  • 12. 4) เสาะหาและประสานสั มพันธ์ กบแหล่ งวิทยากร ั ภายนอกทีให้ การสนับสนุนทางวิชาการได้ และระบุไว้ ในแผนให้ ชัดเจน 5) กําหนดบทบาทหน้ าทีให้ บุคลากรของสถานศึกษา ทุกคน รวมทั=งผู้เรียนรับผิดชอบและดําเนินงานตามที กําหนดไว้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
  • 13. 6) กําหนดบทบาทหน้ าทีและแนวทางการมีส่วนร่ วม ของบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคลากรภายในชุมชน เพือการพัฒนาผู้เรียนร่ วมกัน 7) กําหนดการใช้ งบประมาณและทรัพยากรอย่ างมี ประสิ ทธิภาพ 8) มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนและ การ นําผลไปใช้ ในการพัฒนาอย่ างต่ อเนือง
  • 14. 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ สารสนเทศนั=น มีอยู่มากมาย เช่ น ข้ อมูลผู้เรียน ครู และบุคลากร ข้ อมูล อาคารและสถานที สิ งอํานวยความสะดวก ข้ อมูลการพัฒนาบุคลากร ข้ อมูลทรัพยากร ข้ อมูลงบประมาณ ฯลฯ สถานศึกษาควรมีการจัดระบบ สารสนเทศให้ เป็ นหมวดหมู่ให้ ครอบคลุมและข้ อมูลมีความสมบูรณ์ ค้ นได้ ง่ายและสะดวกรวดเร็ว มีการนําข้ อมูลมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ อยู่ เสมอ การจัดหมวดหมู่ข้อมูลสารสนเทศอาจแบ่ งเป็ นด้ าน เช่ น ด้ านคุณภาพผู้เรียน ด้ านคุณภาพการเรียนการสอน ด้ านคุณภาพ การบริหารจัดการและด้ านคุณภาพการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้ หรือ จัดโดยวิธีอนทีสถานศึกษาเห็นว่ าเหมาะสมก็ได้ ื
  • 15. 4. ดําเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา การดําเนินงานตามแผนนั=น สถานศึกษาต้ องสร้ างระบบ การทํางานทีเข้ มแข็ง เน้ นการมีส่วนร่ วม ใช้ เทคนิคการ บริหารและการจัดการทีจะทําให้ การดําเนินงานตาม แผนพัฒนาสถานศึกษาบรรลุเป้ าหมาย
  • 16. 4.1 วงจรการพัฒนาคุณภาพ PDCA ของเดมิง (Deming Cycle) เป็ นเทคนิคทีผู้บริหารส่ วนใหญ่ นิยมใช้ กน ั แพร่ หลาย เพราะเป็ นกระบวนการทีมีการตรวจสอบตนเอง อยู่ตลอดเวลาตั=งแต่ ข=นการวางแผน (Plan) การปฏิบัตตาม ั ิ แผนหรือขั=นตอนทีวางไว้ (Do) การตรวจสอบหรือ การประเมิน (Check) และการนําผลการประเมินย้ อนกลับ ไปทบทวน ปรับปรุงแก้ไขวางมาตรฐานหรือมาตรการ กําหนดขั=นตอนใหม่ (Act) เพือการดําเนินงานต่ อ ๆ ไป
  • 17. 4.2 แนวคิด Balanced Scorecard สถานศึกษาหลายแห่ งใช้ แนวคิดในการกําหนด ผลสํ าเร็จอย่ างสมดุลรอบด้ าน (Balanced Scorecard) เป็ นเทคนิคการบริหาร เช่ น โรงเรียนในฝัน โดยใช้ การกําหนดมุมมองทีเกียวข้ องกับผลสํ าเร็จของ การดําเนินงาน 4 ด้ าน คือ 1) มุมมองด้ านนักเรียน โดยพิจารณาความต้ องการที เกียวข้ องเกียวกับคุณลักษณะของผู้เรียนทีคาดหวัง
  • 18. 2) มุมมองด้ านกระบวนการจัดการศึกษาภายใน โดย พิจารณาผลสํ าเร็จและแนวทางในการพัฒนาประสิ ทธิภาพ และคุณภาพของกระบวนการบริหารจัดการและการจัด หลักสู ตร กระบวนการเรียนรู้ 3) มุมมองด้ านการเรียนรู้ และการพัฒนา โดยพิจารณาปัจจัยทีใช้ ขบเคลือนให้ ั ผู้เรียนได้ รับการพัฒนาคุณภาพตามทีคาดหวัง ได้ แก่ การสร้ างความเข้ มแข็งให้ สถานศึกษาเป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและทักษะของครู ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา การเพิมสมรรถนะของ สถานศึกษาในการใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารเพือ การพัฒนา
  • 19. 4) มุมมองด้ านงบประมาณและทรัพยากร โดยพิจารณา ปัจจัยส่ งเสริมให้ การดําเนินงานบรรลุภาพความสํ าเร็จใน ด้ านงบประมาณและทรัพยากร โดยคํานึงถึงแหล่ ง สนับสนุน อัตรากําลัง ค่ าใช้ จ่าย ประสิ ทธิภาพใน การใช้ ทรัพยากรและงบประมาณ
  • 20. 5. จัดให้ มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาควรตั=งคณะทํางานขึนเพือวางแผนติดตามและรวบรวม = ข้ อมูลสารสนเทศการดําเนินงาน/โครงการตลอดปี การศึกษาโดยใช้ มาตรฐานการศึกษาเป็ นนกรอบการติดตามตรวจสอบ ทั=งนีข้อมูล = เหล่ านีจะเป็ นปะโยชน์ ในการจัดทํารายงานประจําปี ของสถานศึกษา = โดยควรมีการตรวจสอบทุกปี และดําเนินการอย่ างจริงจัง ต่ อเนือง และเป็ นระบบ สนับสนุนให้ ครู ผู้ปกครองและผู้แทนชุมชนเข้ ามามี ส่ วนร่ วม นอกจากนั=นสถานศึกษาควรมีการตรวจสอบคุณภาพ ภายในเกียวกับเรืองต่ อไปนี= เพือให้ ก้าวทันสภาวการณ์ ปัจจุบนด้ วย ั
  • 21. 1) วิสัยทัศน์ และภารกิจของสถานศึกษา เช่ น วิเคราะห์ ดู ว่ าวิสัยทัศน์ และภารกิจสอดคล้ องกับมาตรฐานการศึกษา ขั=นพืนฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและสอดคล้ อง = กับสภาวะปัจจุบันหรือไม่ ควรปรับปรุงเปลียนแปลง อะไรบ้ าง จัดกิจกรรมอย่ างไรจึงจะเหมาะสม
  • 22. 2) แผนพัฒนาสถานศึกษา เช่ น แผนพัฒนาสะท้ อน ความต้ องการของชุมชนจริงหรือไม่ มีการรวบรวมและ วิเคราะห์ ข้อมูลตลอดจนนําผลมาใช้ ในการวางแผน ครอบคลุมครบถ้ วนหรือไม่ กิจกรรมตามแผนสั มพันธ์ กันและสอดรับกับวิสัยทัศน์ และเป้ าหมายหรือไม่ แผนพัฒนาโดยรวมมีความชัดเจน เข้ าใจง่ ายและมี ทิศทางการพัฒนาทีชัดเจนหรือไม่
  • 23. 3) การพัฒนาหลักสู ตรและกระบวนการเรียนรู้ เช่ น บรรยากาศและสภาพแวดล้ อม สนับสนุนการเรียนรู้ มากน้ อย เพียงใด สะท้ อนความสํ าเร็จของผู้เรียนอย่ างไร ครู เลือกใช้ ยุทธศาสตร์ การสอนหลากหลายและสอดคล้ องกับ ความต้ องการของผู้เรียนหรือไม่ ครู และผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ทีส่ งผลต่ อการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่ างไร การจัดการเรียนรู้ เน้ นให้ ผ้ ูเรียนได้ มโอกาสฝึ กแก้ ปัญหา ฝึ กการคิดสร้ างสรรค์ ี ทีสั มพันธ์ กบชีวตจริง ตลอดจนพัฒนานิสัยรักการเรียนรู้ ั ิ หรือไม่ เป็ นต้ น
  • 24. 4) ผลสั มฤทธิaทางการเรียนของผู้เรียนเป็ นอย่ างไร ผลงานของผู้เรียนมีความหมาย บ่ งบอกถึงสิ งทีผู้เรียนรู้ เข้ าใจ และทําได้ หรือไม่ ผู้เรียนได้ มีโอกาสนําความรู้ไป ใช้ มากน้ อยเพียงใด เป็ นต้ น
  • 25. 5) การพัฒนาองค์ กร เนืองจากสถานศึกษาเป็ นแหล่ งหรือศูนย์ การเรียนรู้ ทีสํ าคัญในชุมชน ดังนั=นสถานศึกษาต้ องมุ่งเน้ น สถานศึกษาโดยเฉพาะห้ องสมุดให้ เป็ นแหล่ งเรียนรู้ ของชุมชนได้ เป็ น อย่ างดี ดังนั=นประเด็นในการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในจึง ควรวิเคราะห์ ดูว่า ผู้บริหารอุทศตนเพือองค์ กร เพือนร่ วมงานและ ิ เพือการพัฒนาการศึกษาอย่ างไร เป็ นผู้นําในการสร้ างสั งคมแห่ ง การเรียนรู้ และสามารถแนะนํานวัตกรรมหรือแหล่ งนวัตกรรม สํ าหรับผู้สอนได้ หรือไม่ มีการประชุมแลกเปลียนความคิดเห็นหรือ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูสอน/คณะทํางานมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจใน เชิงบริหารหรือไม่ มากน้ อยเพียงใด เป็ นต้ น
  • 26. 6) การพัฒนาวิชาชีพครู มีการใช้ แหล่ งวิทยาการ ภายนอกช่ วยให้ ครู เกิดการเรียนรู้ อย่ างไรบ้ าง มีการ เปิ ดโอกาสให้ ครูได้ แลกเปลียนเรียนรู้ ประสบการณ์ และ ความคิดในการพัฒนาวิชาชีพด้ วยวิธีการใดบ้ าง สนับสนุนให้ ครู มีการวิจัยค้ นคว้ าความรู้ใหม่ เกียวกับ การเรียนการสอนและการประเมินผลบ้ างหรือไม่ อย่ างไร เป็ นต้ น
  • 27. การติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาที ดําเนินการอย่ างจริงจังจะช่ วยให้ สถานศึกษามีข้อมูล ถูกต้ องและเพียงพอในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาที เน้ นคุณภาพการศึกษาในรอบปี ถัดไป นอกจากนี= ผลจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ยังมีส่วนช่ วยกระตุ้นผู้ทเกียวข้ องให้ ตระหนักถึง ี การกําหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนาการศึกษา ในระดับท้ องถินและระดับชาติอกทางหนึงด้ วย ี
  • 28. 6. จัดให้ มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาทีมีความพร้ อมอาจตั=งคณะทํางานขึนทําหน้ าทีประเมินคุณภาพ = ภายในสถานศึกษาก็ได้ ซึงจะเป็ นการสร้ างกระบวนการประเมินตนเองอีก ทางหนึง นําผลจากการประเมินไประบุไว้ ในรายงานการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประจําปี ต่ อไป การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาต้ อง ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐาน/ปฐมวัย ทีกําหนดไว้ และ = สถานศึกษาอาจทําการประเมินคุณภาพผู้เรียนโดยรวม จําแนกตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้ เพือเปรียบเทียบกับผลสั มฤทธิaทางการเรียนเฉลียของนักเรียนเป็ น รายคน เป็ นการตรวจสอบและยืนยันคุณภาพผู้เรียนทางด้ านวิชาการ โดย ขอใช้ แบบทดสอบจากองค์ กรทีมีแบบทดสอบทีได้ มาตรฐาน
  • 29. 7. จัดทํารายงานประจําปี ทีเป็ นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน มาตรา 48 ตาม พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ ิ พ.ศ.2542 และทีแก้ไขเพิมเติม(ฉบับที 2) พ.ศ. 2545 ให้ สถานศึกษาจัดทํารายงานประจําปี เสนอต่ อหน่ วยงานต้ น สั งกัด หน่ วยงานทีเกียวข้ องและเปิ ดเผยต่ อสาธารณชนและ เพือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
  • 30. การจัดทํารายงานประจําปี ของสถานศึกษา ไม่ มรูปแบบทีตายตัว ี แต่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั=นพืนฐานได้ ให้ แนวทางไว้ = เป็ นตัวอย่ าง โดย เสนอให้ แบ่ งรายงานเป็ น 4 บท คือ บทที 1 สะท้ อนสภาพทัวไปของสถานศึกษา บทที 2 ระบุเปาหมาย ้ การพัฒนาของสถานศึกษา บทที 3 ระบุความสํ าเร็จของ การพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาทีกําหนดไว้ ในแผนพัฒนา สถานศึกษา บทที 4 ระบุ จุดเด่ น จุดด้ อยและความต้ องการ ช่ วยเหลือ และควรระบุหลักฐานข้ อมูลผลสั มฤทธิaทางการ ประเมินตามแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาไว้ ด้วย
  • 31. ประโยชน์ สําคัญของการจัดทํารายงานประจําปี ของ สถานศึกษาไม่ ได้ อยู่ทจัดทําเพือรายงานต่ อใคร แต่ อยู่ที ี การนําผลไปใช้ วางแผนปรับปรุงงานต่ อ ๆ ไป ดังนั=น สถานศึกษาต้ องตระหนักถึงความจําเป็ นในการจัดทํา รายงานและนําข้ อมูลไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ อย่ างจริงจัง
  • 32. 8. จัดให้ มการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนือง ี การทีจะทําให้ คุณภาพของสถานศึกษาดํารงอยู่อย่ าง ยังยืน สถานศึกษาควรตรวจสอบและทบทวนการ ดําเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมอยู่เสมอ โครงการ/ กิจกรรมทีทําต้ องคุ้มค่ าและเกิดประโยชน์ ส่ งผลถึง ผู้เรียน การพิจารณาโครงการ/กิจกรรมทีจะทําต่ อไป หรือไม่ น=ันควรพิจารณา ดังนี=
  • 33. 1) ถ้ าเป็ นโครงการทีดีสมควรดําเนินการต่ อไป ก็ดารงโครงการนั=นไว้ ํ 2) ถ้ าเป็ นโครงการทีดีแต่ ยงดําเนินการไม่ สําเร็จหรือไม่ ั บรรลุเป้ าหมายเพราะมีจุดบกพร่ อง ถ้ าปรับปรุงแก้ ไข สามารถบรรลุผลสํ าเร็จได้ กดาเนินการต่ อไปและทําให้ ดี ็ ํ ยิงขึน =
  • 34. 3) ถ้ าเป็ นโครงการทีมีความก้ าวหน้ าในการดําเนินงานอยู่ ตลอดเวลา ก็พฒนาดําเนินโครงการนั=นต่ อไปอย่ างไม่ ั หยุดยั=ง 4) หากมีเหตุการณ์ หรือสิ งทีส่ อเค้ าว่ าจะเกิดปัญหา ต้ อง หาทางป้ องกันไว้ ก่อน ก็จําเป็ นต้ องทําโครงการใหม่ ๆ ขึน= เพือป้ องกันปัญหา
  • 35. คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่ างต่ อเนือง สถานศึกษาต้ องคํานึงถึงสิ งต่ อไปนี= 1) สร้ างจิตสํ านึกการพัฒนาให้ เกิดขึนในหมู่ครูและ = บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
  • 36. 2) เน้ นยําหรือกําหนดเป็ นนโยบายการทํางานอย่ างมีระบบ รวมทั=ง = ต้ องทํางานอย่ างมีเปาหมายทํางานเป็ นหมู่คณะและต้ องทําอย่ างต่ อเนือง ้ 3) พัฒนาสถานศึกษาให้เป็ นองค์แห่ งการเรี ยนรู ้ โดยต้องทําให้บุคลากรทุกคน ในสถานศึกษาเป็ นบุคคลแห่ งการเรี ยนรู ้ คือ รู ้จกพัฒนาตนเอง ใฝ่ รู ้ หมัน ั + แสวงหาความรู ้อยูเ่ สมอ มีการแลกเปลี+ยนเรี ยนรู ้แบ่งปั นความรู ้กนตลอดเวลา ั เกิดทีมผูเ้ ชี+ยวชาญในเรื+ องต่าง ๆ หลากหลายจนได้รับการยอมรับจากผูเ้ กี+ยวข้อง ั มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และแลกเปลี+ยนความรู ้กบองค์กรอื+น ๆ สถานศึกษาก็จะเป็ นองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ที+มีความเคลื+อนไหวในการพัฒนา ่ คุณภาพการศึกษาอยูตลอดเวลา ผลผลิตขององค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ เห็นได้จาก 1) ผลสัมฤทธิ:ของงานสู งขึ;น 2) เกิดการพัฒนาคน 3) มีการพัฒนาความรู ้ และ 4) องค์กรมีศกยภาพสู ง ั
  • 37. มาตรฐานการศึกษาขั=นพืนฐานในการประกันคุณภาพ = ภายในของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ กาหนดมาตรฐานการศึกษา ํ สํ าหรับการศึกษาขั=นพืนฐาน เพือให้ สถานศึกษาได้ นําไป = เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตาม ระบบการประกันคุณภาพภายใน มี 4 ด้ าน รวม 18 มาตรฐาน ดังนี=
  • 38. 1. มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน มี 8 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยม ทีพึงประสงค์ มาตรฐานที 2 ผู้เรียนมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และ พัฒนาสิ งแวดล้ อม
  • 39. มาตรฐานที 3 ผู้เรียนมีทกษะในการทํางาน รักการ ั ทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อนได้ และมีเจตคติทดีต่อ ื ี อาชีพสุ จริต มาตรฐานที 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสั งเคราะห์ มีวจารณญาณ มีความคิดสร้ างสรรค์ ิ คิดไตร่ ตรอง และมีวสัยทัศน์ ิ
  • 40. มาตรฐานที 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะทีจําเป็ นตาม หลักสู ตร มาตรฐานที 6 ผู้เรียนมีทกษะในการแสวงหาความรู้ ด้วย ั ตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนือง
  • 41. มาตรฐานที 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและ สุ ขภาพจิตทีดี มาตรฐานที 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย ด้ านศิลปะ ดนตรีและกีฬา
  • 42. 2. มาตรฐานด้ านการเรียนการสอน มี 2 มาตรฐาน มาตรฐานที 9 ครู มคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ ี ความสามารถตรงกับงานทีรับผิดชอบ หมัน พัฒนาตนเอง เข้ ากับชุ มชนได้ ดและมีครูเพียงพอ ี มาตรฐานที 10 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียน การสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ
  • 43. 3. มาตรฐานด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา มี 6 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที 11 ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะ ผู้นําและมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานที 12 สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์ กรอย่ างเป็ นระบบ ครบวงจร
  • 44. มาตรฐานที 13 สถานศึกษามีการบริหารและ จัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน มาตรฐานที 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตรและ กระบวนการเรียนรู้ ทเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ ี
  • 45. มาตรฐานที 15 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริม คุณภาพผู้เรียนอย่ างหลากหลาย มาตรฐานที 16 สถานศึกษามีการสภาพแวดล้ อมและการ บริการทีส่ งเสริมให้ ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม ศักยภาพ
  • 46. 4. มาตรฐานด้ านการพัฒนาชุมชนแห่ งการเรียนรู้ มี 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่ งเรียนรู้ และภูมปัญญาในท้ องถิน ิ มาตรฐานที 18 สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่ างบ้ าน องค์ กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการและองค์ กรภาครัฐ และเอกชน เพือพัฒนาวิธีการเรียนรู้ในชุ มชน