SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
1
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย…
ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ
ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
หนวยที่ 3 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรดาน CAD ประกอบชิ้นสวน สรางงานนําเสนอ และสราง
งานเขียนแบบ 2 มิติ
3.1 บทนํา
เครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑตางๆ ที่ผลิตในภาคอุตสาหกรรมนั้น จะประกอบดวยชิ้นสวน
หลายๆ ชิ้นสวนประกอบเขาดวยกัน บางผลิตภัณฑจะประกอบดวยชิ้นสวนเปนรอยเปนพันชิ้น เมื่อ
นําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการออกแบบเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑเหลานั้นก็จะตองเริ่ม
จากการสรางชิ้นสวนแตละชิ้นกอนเชนกันแลวจึงนําเขามาประกอบรวมกัน ซึ่งในหนวยที่ 2
นักศึกษาไดเรียนรูวิธีการสรางชิ้นสวนจากคําสั่งตางๆ ของโปรแกรม Solidworks และในหนวย
เรียนนี้นักศึกษาจะไดศึกษาการใชโปรแกรมนี้ประกอบชิ้นสวนที่ไดสรางขึ้นมาเดี่ยวๆ เปนชิ้นงาน
ประกอบโดยใชการแอสเซมบลี (Assembly) รวมทั้งการนําไฟลดังกลาวไปสรางงานนําเสนอ
(Presentation) และสรางงานเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing)
3.2 การใชโปรแกรม Solidworks ประกอบชิ้นสวน
3.2.1 ความหมายของแอสเซมบลีทูลบาร (Assembly Toolbar)
แอสเซมบลีทูลบารของโปรแกรม Solidworks ทูลบารมาตรฐานแสดงดังรูปที่ 3.1 ซึ่งแตละ
ไอคอนมีความหมายและการใชงานดังตารางที่ 3.1 นักศึกษาควรศึกษาแตละคําสั่งใหเขาใจ กอนที่
จะเริ่มตนการประกอบชิ้นสวน
รูปที่ 3.1
ไอคอน คําสั่ง ความหมายและการใชงาน
Insert Component ใชนําไฟลชิ้นสวนเขามาวางในไฟลแอสเซมบลี
New Component ใชสรางไฟลชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี
Mate เปนชุดคําสั่งที่ใชประกอบชิ้นสวนเขาดวยกัน
Move Component ใชเคลื่อนยายชิ้นสวนไปยังตําแหนงที่ตองการ โดยจะเคลื่อนยายไดเพียง
ชิ้นสวนเดียวเทานั้น
Rotate Component ใชเคลื่อนหมุนชิ้นสวนตามมุมมองที่ตองการ โดยจะหมุนไดเพียงชิ้นสวนเดียว
เทานั้น
Smart Fasteners เปนคําสั่งที่ใชประกอบชิ้นสวนนัตและสกรูเขามาประกอบกับชิ้นสวนโดย
อัตโนมัติ
3
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ไอคอน คําสั่ง ความหมายและการใชงาน
Exploded View ใชเคลื่อนยายหรือหมุนชิ้นสวนใหเปนภาพระเบิดตามทิศทางที่ตองการ
Exploded Line Sketch ใชสรางเสนเชื่อมตอชิ้นสวนที่ระเบิด
Interference detection ใชตรวจสอบจุดทับซอนกันของชิ้นงาน
Hide/Show Component ใชแสดงหรือซอนชิ้นสวน
Edit Component ใชเชื่อมตอสลับระหวางโหมดการแกไขชิ้นสวนกับโหมดแอสเซมบลี
3.2.2 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน
เครื่องมือที่ใชประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน คือ Mate เมื่อคลิกไอคอน บนทูลบาร
มาตรฐานจะปรากฏกลองโตตอบ Mate ดังรูปที่ 3.2 ซึ่งมีความหมายและการใชงานดังตอไปนี้
รูปที่ 3.2
จากภาพที่ 3.2 จะเห็นวากลองโตตอบ Mate จะประกอบดวย ตัวเลือกหลักคือ Mate
Selections และ Standard Mates ซึ่งจะใชกําหนดความสัมพันธของการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน มี
ความหมายดังนี้
Mate Selections เปนชองที่แสดงตําแหนงตางๆ บนชิ้นงานที่เราตองการจะนํามาประกอบ
เขาดวยกัน ไมวาจะเปนพื้นผิว เสนขอบ หรือจุดบนชิ้นสวน ฯลฯ จะ
แสดงในชองนี้หลังจากที่เราใชเมาสคลิกเลือก
Standard Mates เปนสวนที่ใหเลือกชนิดของการ Assembly มี หลายแบบดวยกัน ดังนี้
4
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ไอคอน การใชงาน
เปนการประกอบแบบประกบกันหรือเสมอกัน
เปนการประกอบกันแบบ ขนานกัน
เปนการประกอบกันแบบ ทํามุมกันตามองศาที่กําหนด
เปนการประกอบกันแบบ สัมผัสกัน(Tangent) เชน สวนโคงสัมผัสกับสวนโคง
เปนการประกอบกันแบบรวมศูนย
Distance เปนชองสําหรับกรอกกําหนดคาระยะเยื้องที่ตองการ
Angle เปนชองสําหรับกรอกคาองศาที่ตองการ
ตัวอยางที่ 1 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกันและสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี
1. สรางชิ้นสวน 3 ชิ้น ในไฟล ดังรายละเอียดขางลางและรูปที่ 3.3
ชื่อชิ้นงาน บันทึก ไฟลชื่อ
- แผนรองลางขนาด 100 x 100 x 10 mm Bottom plate
- แผนประกบบนขนาด 50 x 100 x 10 mm Top plate
- สกูร M 20 x 2.5 Screw
2D Sketch Part Feature
Extrude 10 mm
ก) แผนรองลาง
Extrude 10 mm
ข) แผนประกบบน
5
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ค) สกรู
รูปที่ 3.3
2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี
3. จะเกิดหนาตาง Insert Component ขึ้นมาพรอมกับการเปดไฟลแอสเซมบลี ใหคลิกที่ปุม
จะเกิดกลองโตตอบดังรูปที่ 3.4 หาตําแหนงที่อยูของไฟลที่บันทึกไว เลือก
ชิ้นสวนชื่อ Bottom plate คลิกที่ปุม Open จะไดรูปแผนรองลางปรากฏอยูในกราฟกวินโดว
ใหคลิกบนกราฟกวินโดวจะไดผลลัพธ ดังรูปที่ 3.5
รูปที่ 3.4
รูปที่ 3.5
6
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
4. ทําขั้นตอนเชนเดียวกับขอที่ 3 ใหเลือกไฟลชิ้นสวนชื่อ Top plate และ Screw มาวางใน
ไฟลแอสเซมบลี จะไดชิ้นสวนตางๆ ดังรูปที่ 3.6
รูปที่ 3.6
5. แตละชิ้นสวนจะมีองศาอิสระอยู 6 ทิศทาง คือ เคลื่อนที่ไปตามแกน x, y และ z และ
หมุนรอบแกน x, y และ z ยกเวน bottom plate จะไมมีองศาอิสระเนื่องจากแผนรองลางเปน
ชิ้นสวนแรกที่ถูกนําเขามาวางในไฟลแอสเซมบลีโปรแกรมจะกําหนดใหอยูกับที่โดยคําสั่ง Fix
ซึ่งนักศึกษาสามารถใหชิ้นสวน bottom plate เคลื่อนที่ไดอิสระ โดยคลิกขวาที่ไอคอน
แลวคลิกเลือก Float จากเมนูดังรูปที่ 3.7 ซาย (ถาไมตองการชิ้นสวนไหนมี
องศาอิสระใหคลิกเลือก Fix ดังรูปที่ 3.7 ขวา)
รูปที่ 3.7
6. เริ่มแรกใหประกอบแผน bottom plate กับ top plate เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวน
ทั้งสอง หมุนแผนประกบบนโดยใชคําสั่ง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate
ปรากฏขึ้นดังรูปที่ 3.8
7
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- Mate Selections: ตําแหนงที่ 1 เลือกผิวดานลางของแผน top plate ตําแหนงที่ 2
เลือก ผิวดานบนของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.8
- Standard Mate: โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อ
ยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.8
7. คลิกเลือกผิวรูดานในของแผน top plate ผิวรูดานในของของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.9
โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.9
8. คลิกเลือกผิวดานขางของแผน top plate และแผน bottom plate อีกดานหนึ่ง ดังรูปที่ 3.10
โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
2
1
1
2
8
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.10
9. ขั้นตอไปประกอบแผน bottom plate กับ Screw ใหหมุน bottom plate และ Screw โดยใชคําสั่ง
ดังรูปที่ 3.11 คลิกเลือกเสนวงกลมรูกลางของแผน bottom plate และเสนวงกลมของ Screw
โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.11
10. บันทึกไฟล
3.2.3 การสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี
การสรางชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี หรืองาน Top-down Design จะมีขอดีคือชิ้นสวน
ใหมที่สรางขึ้นมาจะมีความสัมพันธกับชิ้นสวนที่มีอยูกอนในไฟลแอสเซมบลี เมื่อชิ้นสวนที่มีความ
เกี่ยวพันธกันถูกแกไขเปลี่ยนแปลงขนาด อีกชิ้นสวนหนึ่งก็จะแกไขตามเสมอ สามารถสรางสวนใน
ไฟลแอสเซมบลีไดดังนี้
2
1
1
2
9
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เพื่อสรางชิ้นสวนใหมจะปรากฏกลองโตตอบ Save
as ดังรูปที่ 3.12 ชอง File name ใหกําหนดชื่อเปน Nut กําหนดตําแหนงที่อยูของไฟลตาม
ตองการที่ชอง Save in เสร็จแลวคลิกปุม Save
รูปที่ 3.12
2. เมาสจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ใหคลิกเลือกระนาบสเกตซที่ผิวดานบนของแผน top
plate ดังรูปที่ 3.13 ซึ่งไอคอนบนทูลบารมาตรฐานจะเปลี่ยนเปนสเกตซทูลบาร
รูปที่ 3.13 รูปที่ 3.14
3. กดปุม Ctrl ที่คียบอรดคางไว แลวลากเมาสไปคลิกเลือกเสนของรูปหกเหลี่ยมและวงกลมที่
ผิวบนของแผน bottom plate คลิกปุม จากสเกตซทูลบาร จะปรากฏเสน Profile ของ
รูปหกเหลี่ยมและวงกลม บนผิวของแผน top plate ดังรูปที่ 3.14 ซึ่ง Profile นี้จะถูก
นําไปใชสรางชิ้นสวน Nut ตอไป
10
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
4. เปลี่ยนสเกตซทูลบารเปนฟเจอรทูลบาร คลิกปุม เลือก Profile และกําหนดความหนา
10 mm แลวคลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ก
ก ข
รูปที่ 3.15
5. คลิกปุม บนเมนูมาตรฐาน เพื่อจบการแกไขชิ้นสวน จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ข
6. บันทึกไฟล
ขอแนะนํา
ชิ้นสวนตางๆ สามารถเปลี่ยนสีหรือวัสดุไดตามความตองการ นักศึกษาสามารถลอง
เปลี่ยนสีหรือวัสดุ โดยคลิกขวาที่ไอคอนชื่อของชิ้นสวนที่ตองการดังรูปที่ 3.16 เลือก Appearance
จากเมนู แลวเลือก Color, Texture หรือ Material ซึ่งโปรแกรมจะมีสีตางๆ มีวัสดุจํานวนมากให
เลือกใชไดตามความตองการ
11
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.16
3.3 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View
การสรางภาพระเบิดในโปรแกรม Solidworks จะใชคําสั่ง บนทูลบาร
มาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.17 ซึ่งมีความหมายดังนี้
รูปที่ 3.17
Explode Steps เปนชองที่ใชแสดงประวัติลําดับของการระเบิดของชิ้นงานที่ไดทําการ
ระเบิดออก สามารถลบ หรือแกไขลําดับของการระเบิดได โดยการคลิก
เลือกลําดับการระเบิดที่ตองการลบ หรือแกไข
12
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Settings เปนชองที่ใชสําหรับแสดงชิ้นสวนที่ตองการจะใหระเบิดออกไป โดยการ
คลิกเลือกชิ้นสวนบนกราฟกวินโดว หรือเลือกที่ชื่อของชิ้นสวนบน
บราวเซอรบาร ชื่อของชิ้นงานที่ถูกเลือกจะปรากฏในชองนี้
Explode Directions ใชสําหรับกําหนดทิศทางของการระเบิด เมื่อคลิกเลือกชิ้นงาน
แลวจะเกิดแกน X, Y และ Z บนจุดที่เราเลือก ใหคลิกเลือก
ทิศทางที่ตองการจะใหระเบิดออกไป ทิศทางที่ถูกเลือกจะปรากฏ
ในชองนี้
Explode Distance ใชสําหรับกําหนดระยะที่ตองการจะระเบิดออก
ในตัวอยางนี้จะใชไฟล Assembly ที่ทําไวในหัวขอที่แลว มาสรางภาพระเบิด
1. เปดไฟล Assembly ในหัวขอที่แลว
2. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.18
รูปที่ 3.18
3. ขั้นแรกจะระเบิดนัตออกทางดานบน ลากเมาสไปคลิกที่ชิ้นสวนนัต จะเกิดพิกัด X, Y และ
Z ขึ้นที่จุดนั้น ใหคลิกเลือกแกน Y กําหนดคาระยะการระเบิดเทากับ 120 mm ลงในชอง
Explode Distance แลวคลิกปุม Done ชิ้นสวนนัตจะระเบิดออกดังรูปที่ 3.18
13
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.19
4. ระเบิดแผนประกบบน ขึ้นขางบน
- Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Top plate บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.19
- Explode Directions ทิศทางระเบิด แกน Y
- Explode Distance ระยะระเบิด 60 mm แลวคลิกปุม Done
5. การระเบิดสกรูออกจากแผนรองลาง
- Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Screw บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.20
- Explode Directions ทิศทางระเบิดแกน Y คลิกปุม เพื่อกลับทิศทางการระเบิด
- Explode Distance ระยะระเบิด 160 mm แลวคลิกปุม Done
รูปที่ 3.20
คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.21 ซึ่งเปนการเสร็จสิ้นการระเบิด บันทึกไฟล
14
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.21
6. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยการคลิกที่คําสั่ง บนทูลบาร
มาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Route Line ใหลากเมาสไปคลิกที่พื้นผิวดานในรูของชิ้นสวน
nut, top plate, bottom plate และคลิกที่พื้นผิวดานนอกของ screw อยางตอเนื่อง ดังรูปที่
3.22 แลวคลิกปุม เปนการเสร็จสิ้นการใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวน บันทึกไฟล
รูปที่ 3.22
15
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3.3.1 การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation)
คุณสามารถสรางภาพเคลื่อนไหวของการประกอบเขาและระเบิดออกของชิ้นสวนตางๆ
โดยการคลิกไอคอน (Configuration-Manager) แลวคลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลี
เลือก Animate explode จากเมนู ดังรูปที่ 3.23 จะปรากฏกลองโตตอบ Animation controller ดังรูปที่
3.24
รูปที่ 3.23
ใหนักศึกษาทดลองใชทูลตางๆ ของ Animation Controller เพื่อดูการระเบิด และการประกอบ
ชิ้นสวนไดตามความตองการ
รูปที่ 3.24
ขอแนะนํา
นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังกลาวเปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง
การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่นๆ โดยการคลิกที่ปุม และกําหนดคาตางๆ ตามที่
โปรแกรมตองการ
การใหชิ้นสวนประกอบกลับหรือระเบิดออก
การใหชิ้นสวนประกอบกลับ หรือระเบิดออก สามารถทําไดโดยการคลิกไอคอน
(Configuration-Manager) คลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลีแลวเลือก Collapse จากเมนู เมื่อ
16
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ตองการประกอบเขาดังรูปที่ 3.25ซาย หรือเลือก Explode จากเมนู เมื่อตองการระเบิดออกดังรูปที่
3.25ขวา
รูปที่ 3.25
ตัวอยางที่ 2 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกันดวยคําสั่ง Mate
1. ใชไฟล สรางชิ้นสวน 5 ชิ้น ดังรายละเอียดตามรูปที่ 3.26
รูปที่ 3.26
2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี
3. ใชคําสั่ง นําชิ้นสวนทั้ง 5 ชิ้นมาวางในไฟลแอสเซมบลีตามจํานวนดังรูปที่ 3.27
17
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.27
4. เริ่มแรกใหประกอบชิ้นสวนที่ 3 กับชิ้นสวนที่ 4 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้ง
สอง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate ปรากฏขึ้น คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวน
ที่ 3 และเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 ดังรูปที่ 3.28 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดย
อัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.28
5. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุน
ชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 โดยใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 และเลือก
เสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 ดังรูปที่ 3.29 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ
แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
1
2
18
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.29
6. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีเดียวกับขอ 5 ดังรูปที่ 3.30
รูปที่ 3.30
7. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุนชิ้นสวนที่ 2 โดย
ใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกผิวดานลางของชิ้นสวนที่ 2 และผิวดานบนของชิ้นสวนที่ 1 ดังรูปที่ 3.31
โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.31
1
2
2
1
2
1
19
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
8. คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 1 และชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.32 โปรแกรมจะเลือก
Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.32
9. คลิกเลือกพื้นผิวดานขางของชิ้นสวนที่ 1 และชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.33 โปรแกรมจะเลือก
Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
รูปที่ 3.33
10. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีตามขอ 7-9 จะไดผลดังรูปที่
3.34
1
2
1 2
20
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.34
11. ประกอบชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกันโดย
- คลิกเลือกพื้นผิวทรงกระบอกของชิ้นสวนที่ 5 และพื้นผิวในรูของชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่
3.35ก โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
- คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 2 และชิ้นสวนที่ 5 ดังรูปที่ 3.35ข โปรแกรมจะ
เลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate จะไดผลดังรูปที่
3.36
12. บันทึกไฟล
ก ข
รูปที่ 3.35
1
2
1
2
21
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.36
3.4 การสราง Simulation
1. การจําลองการหมุนของลอทําได โดยคลิกเลือก Rotary motor ที่อยูในคําสั่ง จะปรากฏ
หนาตางของ Rotary motor ขึ้นมาดังรูปที่ 3.37 ใหลากเมาสไปคลิกที่ผิวของโคงของชิ้นที่ 3 กําหนด
ความเร็วในการหมุน (Velocity) ที่ตองการ แลวคลิกปุม
2. คลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง เพื่อใหโปรแกรมคํานวณและเปนการ
บันทึกการจําลองการหมุนของลอ ซึ่งชิ้นงานที่ 3 จะหมุนไปอยางตอเนื่อง เมื่อตองการหยุดใหคลิก
ที่อยูในคําสั่ง
รูปที่ 3.37
3. การแสดงการจําลองการหมุนของลอทําไดโดยคลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง
จะปรากฏหนาตางของ Animation Controller ขึ้นมาดังรูปที่ 3.38 ซึ่งชิ้นที่ 3 จะหมุนรอบ
ตัวเองไปเรื่อยๆ นักศึกษาสามารถทดลองใชทูลตางๆของ Animation Controller เพื่อดูการเคลื่อนที่
22
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ของลอไดตามความตองการ
รูปที่ 3.38
ขอแนะนํา
นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังขอที่ 3 เปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง
การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่น ๆ โดยการคลิกที่ปุม และกําหนดคาตางๆตามที่
โปรแกรมตองการ
3.5 การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงาน
1. การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงานที่นํามาประกอบกันทําได โดยใชคําสั่ง เมื่อคลิก
เลือกจะปรากฏหนาตางของ Interference Detection ขึ้นมาดังรูปที่ 3.39ก
2. ในชอง ใหคลิกเลือกชิ้นสวนที่ตองการจะตรวจสอบการซอนทับกัน
หรือเลือกชิ้นสวนทั้งหมด เมื่อเลือกเสร็จใหกดปุม เพื่อใหโปรแกรมคํานวณหาการ
ซอนทับกันของชิ้นงาน
3. เมื่อโปรแกรมตรวจพบการทับซอนกันของชิ้นสวนจะแสดงผลในชองของ Results ดังรูปที่ 3.40ข
(เนื้อของชิ้นงานที่ทับซอนกันจะถูกแสดงเปนสีแดง) นักศึกษาสามารถตรวจสอบและทําการแกไข
ใหถูกตอง
ก ข
รูปที่ 3.39
23
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3.6 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View
จากตัวอยางที่ผานมานักศึกษาไดฝกใชคําสั่ง Explode View สรางภาพระเบิดโดยการกรอกคา
ระยะที่ตองการใหชิ้นสวนระเบิด สําหรับในแบบฝกหัดนี้จะใชวิธี Drag and Drop หรือคลิกเมาสคาง
ไวแลวลากไปวางในตําแหนงที่ตองการ มีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ขึ้นมา ซึ่ง
นักศึกษาไมตองกําหนดหรือกรอกคาอะไรลงในหนาตางนี้
2. ใหคลิกบนพื้นผิวของชิ้นสวนที่ตองการจะระเบิด จะเกิดพิกัด X,Y และ Z ขึ้นที่จุดนั้น ใหคลิก
เลือกแกนที่ตองการจะระเบิดคางไว แลวลากเมาสไปปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ ดังรูปที่
3.40
รูปที่ 3.40
3. ระเบิดชิ้นสวนอื่นๆ ดวยวิธีการเชนเดียวกันกับขอที่ 2 ใหไดภาพระเบิดดังรูปที่ 3.41
รูปที่ 3.41
4. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยใชคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน ใหมี
ลักษณะดังรูปที่ 3.42
24
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.42
ขอแนะนํา การคลิกเลือกตําแหนงการระเบิดของนักศึกษาอาจจะไมตรงกับในแบบฝกหัดนี้
ดังนั้นใหนักศึกษาเปลี่ยนทิศทางการระเบิดใหภาพที่ระเบิดออกมีลักษณะใกลเคียง
กับตัวอยาง หรือนักศึกษาจะระเบิดไปตามทิศทางที่ตองการก็ได
25
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
แบบทดสอบที่ 5
ใหฝกการสรางชิ้นงาน 3 มิติ และนํามาประกอบเขาดวยกัน
หนวยนิ้ว(English)
ขอที่ 1
26
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
หนวยมิลลิเมตร (Metric)
ขอที่ 2
27
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3.7 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing)
หลังจากที่สรางชิ้นสวน 3 มิติ ไมวาจะเปนชิ้นสวนเดี่ยว (Part) หรือชิ้นสวนประกอบ
(Assembly) เสร็จเรียบรอยแลวนั้น ขั้นตอนตอไปคือการนํางานเหลานั้นมาสรางเปนภาพเขียนแบบ
2 มิติ (Drawing) และกําหนดรายละเอียดของงาน ไมวาจะเปนขนาด พิกัดความเผื่อ คุณภาพผิว วัสดุ
ที่ใชในการผลิต และสัญลักษณในการเขียนแบบตาง ๆ ที่จําเปน เพื่อนําภาพเขียนแบบ 2 มิติ นั้น
เสนอใหลูกคา หรือชางเทคนิคเพื่อทําการผลิตชิ้นสวนนั้นตอไป การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของ
โปรแกรม Solidworks ทําไดงายมากๆ โดยการนําไฟลชิ้นสวน 3 มิติ หรือไฟลชิ้นสวนประกอบเขา
มาวางในไฟล Drawing เลือกมุมมอง 2 มิติที่ตองการ ก็จะไดภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของชิ้นสวนนั้นๆ
ไฟล Drawing มีความเกี่ยวพันธแบบพาราเมตริกกับไฟลอื่นๆ กลาวคือเมื่อทําการแกไขขนาดของ
ไฟลใดไฟลหนึ่งอีกไฟลก็จะแกไขเปลี่ยนแปลงตามกันไปดวย
3.7.1 ความหมายของ Drawing Tools
Drawing จะประกอบดวยเครื่องมือใชงานบนทูลบารมาตรฐานดังตอไปนี้
ไอคอน คําสั่ง หนาที่
Model View
ใชวางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ภาพแรกลง ในไฟล Drawing สามารถเลือก
มุมมองของการเขียนแบบไดตามความตองการ
Projected View
ใชสรางภาพฉายดานอื่น ๆ หรือสรางภาพไอโซเมตริกจากภาพที่ไดจาก
Model View
Auxiliary View ใชสรางภาพฉายชวย โดยภาพที่ฉายจะตั้งฉากกับเสนขอบที่เราเลือก
Section View ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชเสนตัดตรง
Section View
ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชสองเสนตัดทํา
มุมกัน
Detail View
ใชสรางภาพขยายรายละเอียดของภาพอื่นๆ ในสวนที่ตองการใหเห็น
รายละเอียดเพิ่มเติม
Broken View
ใชสรางภาพ Broken (ภาพที่ตัดสวนตรงกลางออกเหลือแตสวนปลาย
ของทั้งสองดาน ทําใหประหยัดเนื้อที่ในกระดาษเขียนแบบ)
Standard 3 View ใชสรางภาพฉายทั้ง 3 ดานโดยอัตโนมัติ
28
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3.7.2 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลชิ้นสวน (Part)
หลังจากที่นักศึกษาไดสรางชิ้นสวน 3 มิติเปนเรียบรอยแลว สามารถนําชิ้นสวน 3 มิตินั้น
มาทําเปนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยวิธีดังนี้
1. เปดไฟล Drawing โดยการคลิกไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน
2. โปรแกรม Solidworks จะมีมาตรฐานกระดาษเขียนแบบขนาดตางๆ ใหเลือก ใหนักศึกษา
เลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ดังรูปที่ 3.43 คลิกปุม OK
รูปที่ 3.43
3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล Part 3
ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงานดังรูปที่ 3.44
คลิกปุม Open แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.45 คลิกปุม
รูปที่ 3.44
วางกระดาษแนวนอน
วางกระดาษแนวตั้ง
29
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่3.45
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพ Model View ไดโดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว
(ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ
4. คลิกที่ไอคอน ไปคลิกที่ภาพ Model View (ตําแหนงที่ 1) แลวลากเมาสลงมาดานลาง
(ตําแหนงที่ 2) คลิกเมาส 1 ครั้ง จะไดภาพดานบน ดังรูปที่ 3.46 หลังจากนั้นใหเลือก Display
Style แบบ Hidden Lines visible แลวคลิกปุม
รูปที่ 3.46
30
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
5. สรางภาพตัด โดยคลิกไอคอน จะปรากฏหนาตางของ Section View ใหกําหนดชื่อของภาพ
ตัด (Label) =A มาตราสวน (Scale) และสไตลดังรูป ลากเมาสไปคลิกตําแหนงที่ 1 และ 2 ดังรูปที่
3.47 ตามลําดับเพื่อสรางเสนตัด แลวลากเมาสมาวางตําแหนงที่ตองการวางภาพตัด คลิกปุม จะ
ไดผลลัพธดังรูป
รูปที่ 3.47
6. การแสดงภาพรายละเอียดของสวนที่ตองการ ทําไดโดยการคลิกที่ไอคอน คลิกเลือกภาพที่
ตองการทํา Detail ในตัวอยางนี้ ใหคลิกที่ภาพตัด แลวคลิกสรางวงกลมใหมีขนาดครอบคลุมตําแหนง
ที่ตองการสราง Detail ดังรูปที่ 3.48 แลวลากเมาสไปวางตําแหนงที่ตองการ พรอมกันนั้นจะปรากฏ
หนาตาง Detail View ดังรูป ใหกําหนดชื่อภาพ (Label) = B มาตราสวน (Scale) = 1:1 และ สไตล
เปนแบบ Hidden line Remove คลิกปุม
รูปที่ 3.48
7. ใชคําสั่ง สรางภาพ Isometric ดานลางของภาพตัดดังรูปที่ 3.49 คลิกปุม
31
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.49
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถแกไขหรือกําหนดมาตรฐานการเขียนแบบตางๆ ของ Drawing ไดตาม
ความตองการ โดยคลิกที่ปุม Option จะปรากฏหนาตางของ System Options และ Document
Properties ดังรูปที่ 3.50 ซึ่งสามารถแกไขมาตรฐานการเขียนแบบของ Drawing ไดที่แท็บ
Document Properties
รูปที่ 3.50
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถแกไข มุมมอง รูปแบบของการแสดงภาพ มาตรสวน หรืออื่นๆ ที่ตองการ
ของภาพ Drawing ไดทุกภาพ โดยการคลิกเมาสที่ภาพที่ตองการแก จะปรากฏหนาตางของ
Drawing view ดังรูปที่ 3.51 ซึ่งสามารถแกไขตามความตองการ แลวคลิกปุม
32
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่3.51
8. การกําหนดขนาดของแบบ 2 มิติ การกําหนดขนาดใหภาพเขียนแบบสามารถทําได 2 วิธี คือ การ
กําหนดขนาดอัตโนมัติ และการกําหนดขนาดดวยตัวเอง
- การกําหนดขนาดอัตโนมัติ ทําได ดังนี้
คลิกไอคอน (Annotations) ดังรูปที่ 3.52 ทูลบารจะเปลี่ยนเปน Drawing
Annotation ใชคําสั่ง หรือคําสั่ง แลวลากเมาสไปคลิกเลือกรูปที่ตองการจะให
ขนาดคลิกปุม เสนใหขนาดจะแสดงอัตโนมัติ การใหขนาดวิธีนี้โปรแกรมจะอางอิง
ตามขนาดของชิ้นสวน 3 มิติที่นักศึกษากําหนดตอนสเกตซ ดังนั้นตําแหนงการวางขนาด
ในภาพเขียนแบบ 2 มิติ อาจจะไมสวยงาม หรือไมวางในตําแหนงที่เราตองการ นักศึกษา
สามารถยายตําแหนงของเสนกําหนดขนาดไดโดยการลากเมาสไปวางบนเสนบอกขนาด
นั้นแลวคลิกที่ตัวเลขหรือเสนกําหนดขนาดคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ )
แลวลากเมาสไปวางปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ
รูปที่3.52
33
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- กําหนดขนาดดวยตัวเอง ทําไดดังนี้
เลือกใชกลุมคําสั่งการใหขนาด แลวลากเมาสไปคลิกใหขนาด
ตามตองการ ใหนักศึกษาใชคําสั่งการใหขนาดแบบตาง ๆ ฝกใหขนาดกับภาพดานขาง
ของชิ้นสวนที่ 3 ดังรูปที่ 3.53
รูปที่ 3.53
การกําหนดสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆ ลงในภาพเขียนแบบ 2 มิติ
นักศึกษาสามารถกําหนดสัญลักษณการเขียนแบบตาง ๆ เชน คุณภาพผิวงาน สัญลักษณ
งานเชื่อม พิกัดความเผื่อตาง ๆ ลงบนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยการคลิกเลือก (Annotations)
จากเมนูจะปรากฏไอคอนสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆใหเลือกใช ในตัวอยางนี้จะกลาวถึงเฉพาะ
สัญลักษณเขียนแบบที่ใชงานบอยๆ เทานั้น สวนสัญลักษณที่ไมไดกลาวถึงนักศึกษาสามารถทดลอง
ใชไดโดยการดูจากเครื่องมือชวย (Help) ของโปรแกรม
การใชเครื่องมือ Center line
Centerline เปนคําสั่งที่ใชสรางเสนศูนยกลางของรูปที่มีความสมมาตรกัน
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนดานขางทั้งสองเสนของภาพดานบนชิ้นสวนที่ 3 (ตําแหนงที่ 1
และตําแหนงที่ 2 ดังรูปที่ 3.54 ตามลําดับ) โปรแกรมจะสรางเสนศูนยกลางตัดกลางเสน
ที่เลือกทันที ซึ่งขณะนี้นักศึกษายังอยูในคําสั่ง Center line สามารถที่จะไปคลิกสรางเสน
ศูนยกลางเสนอื่นๆ ได
3. สรางเสน Center line ของภาพดานขางดังรูปที่ 3.55 ดังวิธีเดียวกับขอ 3
4. คลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง
34
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.54
รูปที่ 3.55
การใชเครื่องมือ Datum Feature
Datum Feature เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปราง
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Feature ขึ้นดังรูปที่ 3.56
กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.56 แลวคลิก
ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง
21
35
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.56
การใชเครื่องมือ Datum Target
Datum Target เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปรางที่สัมพันธ
กับ Datum Feature
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Target ขึ้นดังรูปที่ 3.57
กรอกคาของ Datum กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.57 แลวคลิก
ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.58
รูปที่ 3.57
รูปที่ 3.58
36
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
การใชเครื่องมือ Surface Finish
Surface Finish เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณแสดงคาความหยาบของผิวชิ้นงาน
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Surface Finish ขึ้นดังรูปที่ 3.59
กรอกคาของความหยาบ กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่
ตองการ
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนวงกลมของภาพดานหนาชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงที่ ดังรูปที่ 3.59
แลวคลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.60
ภาพที่ 3.59
รูปที่ 3.60
เมื่อทําเสร็จทุกขั้นตอนจะไดผลลัพธของภาพเขียนแบบ 2 มิติ ดังรูปที่ 3.61
37
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รูปที่ 3.61
3.4.3 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลแอสเซมบลี (Assembly)
1. คลิก New แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเปดไฟล Drawing
2. ใหเลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ตามวิธีการดังหัวขอที่ผานมา
3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล
Assembly ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงาน
ดังรูปที่ 3.62 คลิกปุม Open
รูปที่3.62
38
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
4. ใหกําหนดมุมมองของภาพเปน Isometric View สไตลเปนแบบ Hidden line Remove และมาตรา
สวน (Scale) = 1: 3 ดังภาพที่ 3.63 ซาย แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.63ขวา คลิกปุม
รูปที่ 3.63
5. ทําเหมือนขอที่ 3 โดยใชคําสั่ง Model View แตตองทําการประกอบกลับ (Collapse) ไฟล
Assembly ที่บันทึกไวในหัวขอที่แลว
รูปที่3.64
39
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
6. ใหกําหนดมุมมองภาพเปน Isometric View มาตราสวน (Scale) = 1:2 และสไตลเปนแบบ Shaded
with Edge คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.64
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพตางๆ โดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว (ลูกศรจะ
เปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ
7. การสราง Balloon
การสราง Balloon หรือการกําหนดหมายเลขกํากับชิ้นสวน สามารถทําได 2 วิธีคือ
(เปลี่ยน Drawing Tools เปน Annotations Tools โดยวิธีการดังตัวอยางที่ผานมา)
7.1การสราง Balloon พรอมกันทุกชิ้นสวน โดยการคลิกปุม (Auto Balloon) แลวลากเมาสไป
คลิกภาพที่ตองการทํา Balloon จะปรากฏหนาตางโตตอบ Auto Balloon ดังรูปที่ 3.65
ใหเปลี่ยน คลิกปุม จะเกิด Balloon กระจัดกระจายดังรูปที่ 3.65
รูปที่ 3.65
7.2 การทํา Balloon ทีละชิ้นสวน โดยการคลิกปุม แลวไปคลิกบนชิ้นสวนในภาพที่
ตองการทํา Balloon คลิกปุม เพื่อยอมรับและออกจากคําสั่ง Balloon
การยายตําแหนงตัวเลขและตําแหนงการชี้ของลูกศรบนภาพชิ้นสวนของ Balloon
นักศึกษาสามารถจะยายตําแหนงตัวเลขของ Balloon แตละหมายเลขได โดย
การคลิกที่ตัวเลขจะมีปุมสีเขียวเกิดขึ้นที่ตัวเลขและที่ลูกศรใหคลิกที่ปุมสีเขียวของ
ตัวเลขคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) ดังรูปที่ 3.66 ลากเมาสไปปลอย
40
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
วางยังตําแหนงที่ตองการ สวนการยายตําแหนงการชี้ของลูกศรบนภาพชิ้นสวนใหคลิก
เมาสคางไวที่ปุมสีเขียวของลูกศรแลวทําเชนเดียวกับวิธีการยายตัวเลข
รูปที่ 3.66
การลบและแกไข Balloon
-การลบ Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการลบแลวกด Delete บนคียบอรด
-การแกไข Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการ จะปรากฏหนาตาง Balloon
ขึ้นมาดังรูปที่ 3.67 ซึ่งสามารถแกไขชนิดและหมายเลขของ Balloon ไดตามความตองการ
รูปที่ 3.67
8. การสรางตารางรายการชิ้นสวน (Bill of Materials)
41
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
การสรางตารางรายการชิ้นสวน หรือรายการวัสดุทําไดโดยการคลิกที่ไอคอน
เลือก บนทูลบารมาตรฐาน แลวลากเมาสไปคลิกที่ภาพที่ตองการบอกรายการ
ชิ้นสวน ในตัวอยางนี้ใหคลิกที่ภาพ Assembly ภาพใดก็ได จะปรากฏหนาตาง Bill of Materials ดัง
รูปที่ 3.68 ซาย
รูปที่ 3.68
9. กําหนดออปชันของ Bill of Materials ดังรูป แลวลากเมาสไปคลิกวางในตําแหนงดังรูปที่ 3.68ขวา
จะไดตารางรายการชิ้นสวนของภาพที่เลือกบันทึกไฟล
42
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
แบบทดสอบที่ 6
ใหฝกสรางงานDrawing 2 มิติโดยใชรูปดังตอไปนี้
ขอที่ 1 ขอที่ 2
ขอที่ 3
ขอที่ 4
ขอที่ 5 ขอที่ 6
43
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ขอที่ 7

More Related Content

What's hot

01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
5 1
5 15 1
5 1
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 

Similar to Solidworks ขั้นพื้นฐาน

โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8Teraphat Aroonpairoj
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคWirachat Inkhamhaeng
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBream Mie
 
โครงงาน2
โครงงาน2โครงงาน2
โครงงาน2Bream Mie
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
H7m xhzfm epuv (1)
H7m xhzfm epuv (1)H7m xhzfm epuv (1)
H7m xhzfm epuv (1)0911988801
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1binLy
 

Similar to Solidworks ขั้นพื้นฐาน (20)

โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 
03activity1
03activity103activity1
03activity1
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน2
โครงงาน2โครงงาน2
โครงงาน2
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
H7m xhzfm epuv (1)
H7m xhzfm epuv (1)H7m xhzfm epuv (1)
H7m xhzfm epuv (1)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 

Solidworks ขั้นพื้นฐาน

  • 1. 1 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย… ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • 2. 2 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี หนวยที่ 3 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรดาน CAD ประกอบชิ้นสวน สรางงานนําเสนอ และสราง งานเขียนแบบ 2 มิติ 3.1 บทนํา เครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑตางๆ ที่ผลิตในภาคอุตสาหกรรมนั้น จะประกอบดวยชิ้นสวน หลายๆ ชิ้นสวนประกอบเขาดวยกัน บางผลิตภัณฑจะประกอบดวยชิ้นสวนเปนรอยเปนพันชิ้น เมื่อ นําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการออกแบบเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑเหลานั้นก็จะตองเริ่ม จากการสรางชิ้นสวนแตละชิ้นกอนเชนกันแลวจึงนําเขามาประกอบรวมกัน ซึ่งในหนวยที่ 2 นักศึกษาไดเรียนรูวิธีการสรางชิ้นสวนจากคําสั่งตางๆ ของโปรแกรม Solidworks และในหนวย เรียนนี้นักศึกษาจะไดศึกษาการใชโปรแกรมนี้ประกอบชิ้นสวนที่ไดสรางขึ้นมาเดี่ยวๆ เปนชิ้นงาน ประกอบโดยใชการแอสเซมบลี (Assembly) รวมทั้งการนําไฟลดังกลาวไปสรางงานนําเสนอ (Presentation) และสรางงานเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing) 3.2 การใชโปรแกรม Solidworks ประกอบชิ้นสวน 3.2.1 ความหมายของแอสเซมบลีทูลบาร (Assembly Toolbar) แอสเซมบลีทูลบารของโปรแกรม Solidworks ทูลบารมาตรฐานแสดงดังรูปที่ 3.1 ซึ่งแตละ ไอคอนมีความหมายและการใชงานดังตารางที่ 3.1 นักศึกษาควรศึกษาแตละคําสั่งใหเขาใจ กอนที่ จะเริ่มตนการประกอบชิ้นสวน รูปที่ 3.1 ไอคอน คําสั่ง ความหมายและการใชงาน Insert Component ใชนําไฟลชิ้นสวนเขามาวางในไฟลแอสเซมบลี New Component ใชสรางไฟลชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี Mate เปนชุดคําสั่งที่ใชประกอบชิ้นสวนเขาดวยกัน Move Component ใชเคลื่อนยายชิ้นสวนไปยังตําแหนงที่ตองการ โดยจะเคลื่อนยายไดเพียง ชิ้นสวนเดียวเทานั้น Rotate Component ใชเคลื่อนหมุนชิ้นสวนตามมุมมองที่ตองการ โดยจะหมุนไดเพียงชิ้นสวนเดียว เทานั้น Smart Fasteners เปนคําสั่งที่ใชประกอบชิ้นสวนนัตและสกรูเขามาประกอบกับชิ้นสวนโดย อัตโนมัติ
  • 3. 3 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไอคอน คําสั่ง ความหมายและการใชงาน Exploded View ใชเคลื่อนยายหรือหมุนชิ้นสวนใหเปนภาพระเบิดตามทิศทางที่ตองการ Exploded Line Sketch ใชสรางเสนเชื่อมตอชิ้นสวนที่ระเบิด Interference detection ใชตรวจสอบจุดทับซอนกันของชิ้นงาน Hide/Show Component ใชแสดงหรือซอนชิ้นสวน Edit Component ใชเชื่อมตอสลับระหวางโหมดการแกไขชิ้นสวนกับโหมดแอสเซมบลี 3.2.2 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน เครื่องมือที่ใชประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน คือ Mate เมื่อคลิกไอคอน บนทูลบาร มาตรฐานจะปรากฏกลองโตตอบ Mate ดังรูปที่ 3.2 ซึ่งมีความหมายและการใชงานดังตอไปนี้ รูปที่ 3.2 จากภาพที่ 3.2 จะเห็นวากลองโตตอบ Mate จะประกอบดวย ตัวเลือกหลักคือ Mate Selections และ Standard Mates ซึ่งจะใชกําหนดความสัมพันธของการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน มี ความหมายดังนี้ Mate Selections เปนชองที่แสดงตําแหนงตางๆ บนชิ้นงานที่เราตองการจะนํามาประกอบ เขาดวยกัน ไมวาจะเปนพื้นผิว เสนขอบ หรือจุดบนชิ้นสวน ฯลฯ จะ แสดงในชองนี้หลังจากที่เราใชเมาสคลิกเลือก Standard Mates เปนสวนที่ใหเลือกชนิดของการ Assembly มี หลายแบบดวยกัน ดังนี้
  • 4. 4 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไอคอน การใชงาน เปนการประกอบแบบประกบกันหรือเสมอกัน เปนการประกอบกันแบบ ขนานกัน เปนการประกอบกันแบบ ทํามุมกันตามองศาที่กําหนด เปนการประกอบกันแบบ สัมผัสกัน(Tangent) เชน สวนโคงสัมผัสกับสวนโคง เปนการประกอบกันแบบรวมศูนย Distance เปนชองสําหรับกรอกกําหนดคาระยะเยื้องที่ตองการ Angle เปนชองสําหรับกรอกคาองศาที่ตองการ ตัวอยางที่ 1 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกันและสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี 1. สรางชิ้นสวน 3 ชิ้น ในไฟล ดังรายละเอียดขางลางและรูปที่ 3.3 ชื่อชิ้นงาน บันทึก ไฟลชื่อ - แผนรองลางขนาด 100 x 100 x 10 mm Bottom plate - แผนประกบบนขนาด 50 x 100 x 10 mm Top plate - สกูร M 20 x 2.5 Screw 2D Sketch Part Feature Extrude 10 mm ก) แผนรองลาง Extrude 10 mm ข) แผนประกบบน
  • 5. 5 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ค) สกรู รูปที่ 3.3 2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี 3. จะเกิดหนาตาง Insert Component ขึ้นมาพรอมกับการเปดไฟลแอสเซมบลี ใหคลิกที่ปุม จะเกิดกลองโตตอบดังรูปที่ 3.4 หาตําแหนงที่อยูของไฟลที่บันทึกไว เลือก ชิ้นสวนชื่อ Bottom plate คลิกที่ปุม Open จะไดรูปแผนรองลางปรากฏอยูในกราฟกวินโดว ใหคลิกบนกราฟกวินโดวจะไดผลลัพธ ดังรูปที่ 3.5 รูปที่ 3.4 รูปที่ 3.5
  • 6. 6 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4. ทําขั้นตอนเชนเดียวกับขอที่ 3 ใหเลือกไฟลชิ้นสวนชื่อ Top plate และ Screw มาวางใน ไฟลแอสเซมบลี จะไดชิ้นสวนตางๆ ดังรูปที่ 3.6 รูปที่ 3.6 5. แตละชิ้นสวนจะมีองศาอิสระอยู 6 ทิศทาง คือ เคลื่อนที่ไปตามแกน x, y และ z และ หมุนรอบแกน x, y และ z ยกเวน bottom plate จะไมมีองศาอิสระเนื่องจากแผนรองลางเปน ชิ้นสวนแรกที่ถูกนําเขามาวางในไฟลแอสเซมบลีโปรแกรมจะกําหนดใหอยูกับที่โดยคําสั่ง Fix ซึ่งนักศึกษาสามารถใหชิ้นสวน bottom plate เคลื่อนที่ไดอิสระ โดยคลิกขวาที่ไอคอน แลวคลิกเลือก Float จากเมนูดังรูปที่ 3.7 ซาย (ถาไมตองการชิ้นสวนไหนมี องศาอิสระใหคลิกเลือก Fix ดังรูปที่ 3.7 ขวา) รูปที่ 3.7 6. เริ่มแรกใหประกอบแผน bottom plate กับ top plate เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวน ทั้งสอง หมุนแผนประกบบนโดยใชคําสั่ง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate ปรากฏขึ้นดังรูปที่ 3.8
  • 7. 7 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี - Mate Selections: ตําแหนงที่ 1 เลือกผิวดานลางของแผน top plate ตําแหนงที่ 2 เลือก ผิวดานบนของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.8 - Standard Mate: โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อ ยอมรับการ Mate รูปที่ 3.8 7. คลิกเลือกผิวรูดานในของแผน top plate ผิวรูดานในของของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.9 โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate รูปที่ 3.9 8. คลิกเลือกผิวดานขางของแผน top plate และแผน bottom plate อีกดานหนึ่ง ดังรูปที่ 3.10 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate 2 1 1 2
  • 8. 8 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.10 9. ขั้นตอไปประกอบแผน bottom plate กับ Screw ใหหมุน bottom plate และ Screw โดยใชคําสั่ง ดังรูปที่ 3.11 คลิกเลือกเสนวงกลมรูกลางของแผน bottom plate และเสนวงกลมของ Screw โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate รูปที่ 3.11 10. บันทึกไฟล 3.2.3 การสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี การสรางชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี หรืองาน Top-down Design จะมีขอดีคือชิ้นสวน ใหมที่สรางขึ้นมาจะมีความสัมพันธกับชิ้นสวนที่มีอยูกอนในไฟลแอสเซมบลี เมื่อชิ้นสวนที่มีความ เกี่ยวพันธกันถูกแกไขเปลี่ยนแปลงขนาด อีกชิ้นสวนหนึ่งก็จะแกไขตามเสมอ สามารถสรางสวนใน ไฟลแอสเซมบลีไดดังนี้ 2 1 1 2
  • 9. 9 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เพื่อสรางชิ้นสวนใหมจะปรากฏกลองโตตอบ Save as ดังรูปที่ 3.12 ชอง File name ใหกําหนดชื่อเปน Nut กําหนดตําแหนงที่อยูของไฟลตาม ตองการที่ชอง Save in เสร็จแลวคลิกปุม Save รูปที่ 3.12 2. เมาสจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ใหคลิกเลือกระนาบสเกตซที่ผิวดานบนของแผน top plate ดังรูปที่ 3.13 ซึ่งไอคอนบนทูลบารมาตรฐานจะเปลี่ยนเปนสเกตซทูลบาร รูปที่ 3.13 รูปที่ 3.14 3. กดปุม Ctrl ที่คียบอรดคางไว แลวลากเมาสไปคลิกเลือกเสนของรูปหกเหลี่ยมและวงกลมที่ ผิวบนของแผน bottom plate คลิกปุม จากสเกตซทูลบาร จะปรากฏเสน Profile ของ รูปหกเหลี่ยมและวงกลม บนผิวของแผน top plate ดังรูปที่ 3.14 ซึ่ง Profile นี้จะถูก นําไปใชสรางชิ้นสวน Nut ตอไป
  • 10. 10 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4. เปลี่ยนสเกตซทูลบารเปนฟเจอรทูลบาร คลิกปุม เลือก Profile และกําหนดความหนา 10 mm แลวคลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ก ก ข รูปที่ 3.15 5. คลิกปุม บนเมนูมาตรฐาน เพื่อจบการแกไขชิ้นสวน จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ข 6. บันทึกไฟล ขอแนะนํา ชิ้นสวนตางๆ สามารถเปลี่ยนสีหรือวัสดุไดตามความตองการ นักศึกษาสามารถลอง เปลี่ยนสีหรือวัสดุ โดยคลิกขวาที่ไอคอนชื่อของชิ้นสวนที่ตองการดังรูปที่ 3.16 เลือก Appearance จากเมนู แลวเลือก Color, Texture หรือ Material ซึ่งโปรแกรมจะมีสีตางๆ มีวัสดุจํานวนมากให เลือกใชไดตามความตองการ
  • 11. 11 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.16 3.3 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View การสรางภาพระเบิดในโปรแกรม Solidworks จะใชคําสั่ง บนทูลบาร มาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.17 ซึ่งมีความหมายดังนี้ รูปที่ 3.17 Explode Steps เปนชองที่ใชแสดงประวัติลําดับของการระเบิดของชิ้นงานที่ไดทําการ ระเบิดออก สามารถลบ หรือแกไขลําดับของการระเบิดได โดยการคลิก เลือกลําดับการระเบิดที่ตองการลบ หรือแกไข
  • 12. 12 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Settings เปนชองที่ใชสําหรับแสดงชิ้นสวนที่ตองการจะใหระเบิดออกไป โดยการ คลิกเลือกชิ้นสวนบนกราฟกวินโดว หรือเลือกที่ชื่อของชิ้นสวนบน บราวเซอรบาร ชื่อของชิ้นงานที่ถูกเลือกจะปรากฏในชองนี้ Explode Directions ใชสําหรับกําหนดทิศทางของการระเบิด เมื่อคลิกเลือกชิ้นงาน แลวจะเกิดแกน X, Y และ Z บนจุดที่เราเลือก ใหคลิกเลือก ทิศทางที่ตองการจะใหระเบิดออกไป ทิศทางที่ถูกเลือกจะปรากฏ ในชองนี้ Explode Distance ใชสําหรับกําหนดระยะที่ตองการจะระเบิดออก ในตัวอยางนี้จะใชไฟล Assembly ที่ทําไวในหัวขอที่แลว มาสรางภาพระเบิด 1. เปดไฟล Assembly ในหัวขอที่แลว 2. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.18 รูปที่ 3.18 3. ขั้นแรกจะระเบิดนัตออกทางดานบน ลากเมาสไปคลิกที่ชิ้นสวนนัต จะเกิดพิกัด X, Y และ Z ขึ้นที่จุดนั้น ใหคลิกเลือกแกน Y กําหนดคาระยะการระเบิดเทากับ 120 mm ลงในชอง Explode Distance แลวคลิกปุม Done ชิ้นสวนนัตจะระเบิดออกดังรูปที่ 3.18
  • 13. 13 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.19 4. ระเบิดแผนประกบบน ขึ้นขางบน - Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Top plate บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.19 - Explode Directions ทิศทางระเบิด แกน Y - Explode Distance ระยะระเบิด 60 mm แลวคลิกปุม Done 5. การระเบิดสกรูออกจากแผนรองลาง - Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Screw บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.20 - Explode Directions ทิศทางระเบิดแกน Y คลิกปุม เพื่อกลับทิศทางการระเบิด - Explode Distance ระยะระเบิด 160 mm แลวคลิกปุม Done รูปที่ 3.20 คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.21 ซึ่งเปนการเสร็จสิ้นการระเบิด บันทึกไฟล
  • 14. 14 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.21 6. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยการคลิกที่คําสั่ง บนทูลบาร มาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Route Line ใหลากเมาสไปคลิกที่พื้นผิวดานในรูของชิ้นสวน nut, top plate, bottom plate และคลิกที่พื้นผิวดานนอกของ screw อยางตอเนื่อง ดังรูปที่ 3.22 แลวคลิกปุม เปนการเสร็จสิ้นการใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวน บันทึกไฟล รูปที่ 3.22
  • 15. 15 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3.3.1 การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) คุณสามารถสรางภาพเคลื่อนไหวของการประกอบเขาและระเบิดออกของชิ้นสวนตางๆ โดยการคลิกไอคอน (Configuration-Manager) แลวคลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลี เลือก Animate explode จากเมนู ดังรูปที่ 3.23 จะปรากฏกลองโตตอบ Animation controller ดังรูปที่ 3.24 รูปที่ 3.23 ใหนักศึกษาทดลองใชทูลตางๆ ของ Animation Controller เพื่อดูการระเบิด และการประกอบ ชิ้นสวนไดตามความตองการ รูปที่ 3.24 ขอแนะนํา นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังกลาวเปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่นๆ โดยการคลิกที่ปุม และกําหนดคาตางๆ ตามที่ โปรแกรมตองการ การใหชิ้นสวนประกอบกลับหรือระเบิดออก การใหชิ้นสวนประกอบกลับ หรือระเบิดออก สามารถทําไดโดยการคลิกไอคอน (Configuration-Manager) คลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลีแลวเลือก Collapse จากเมนู เมื่อ
  • 16. 16 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตองการประกอบเขาดังรูปที่ 3.25ซาย หรือเลือก Explode จากเมนู เมื่อตองการระเบิดออกดังรูปที่ 3.25ขวา รูปที่ 3.25 ตัวอยางที่ 2 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกันดวยคําสั่ง Mate 1. ใชไฟล สรางชิ้นสวน 5 ชิ้น ดังรายละเอียดตามรูปที่ 3.26 รูปที่ 3.26 2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี 3. ใชคําสั่ง นําชิ้นสวนทั้ง 5 ชิ้นมาวางในไฟลแอสเซมบลีตามจํานวนดังรูปที่ 3.27
  • 17. 17 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.27 4. เริ่มแรกใหประกอบชิ้นสวนที่ 3 กับชิ้นสวนที่ 4 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้ง สอง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate ปรากฏขึ้น คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวน ที่ 3 และเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 ดังรูปที่ 3.28 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดย อัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate รูปที่ 3.28 5. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุน ชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 โดยใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 และเลือก เสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 ดังรูปที่ 3.29 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate 1 2
  • 18. 18 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.29 6. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีเดียวกับขอ 5 ดังรูปที่ 3.30 รูปที่ 3.30 7. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุนชิ้นสวนที่ 2 โดย ใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกผิวดานลางของชิ้นสวนที่ 2 และผิวดานบนของชิ้นสวนที่ 1 ดังรูปที่ 3.31 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate รูปที่ 3.31 1 2 2 1 2 1
  • 19. 19 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 8. คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 1 และชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.32 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate รูปที่ 3.32 9. คลิกเลือกพื้นผิวดานขางของชิ้นสวนที่ 1 และชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.33 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate รูปที่ 3.33 10. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีตามขอ 7-9 จะไดผลดังรูปที่ 3.34 1 2 1 2
  • 20. 20 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.34 11. ประกอบชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกันโดย - คลิกเลือกพื้นผิวทรงกระบอกของชิ้นสวนที่ 5 และพื้นผิวในรูของชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.35ก โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate - คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 2 และชิ้นสวนที่ 5 ดังรูปที่ 3.35ข โปรแกรมจะ เลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate จะไดผลดังรูปที่ 3.36 12. บันทึกไฟล ก ข รูปที่ 3.35 1 2 1 2
  • 21. 21 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.36 3.4 การสราง Simulation 1. การจําลองการหมุนของลอทําได โดยคลิกเลือก Rotary motor ที่อยูในคําสั่ง จะปรากฏ หนาตางของ Rotary motor ขึ้นมาดังรูปที่ 3.37 ใหลากเมาสไปคลิกที่ผิวของโคงของชิ้นที่ 3 กําหนด ความเร็วในการหมุน (Velocity) ที่ตองการ แลวคลิกปุม 2. คลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง เพื่อใหโปรแกรมคํานวณและเปนการ บันทึกการจําลองการหมุนของลอ ซึ่งชิ้นงานที่ 3 จะหมุนไปอยางตอเนื่อง เมื่อตองการหยุดใหคลิก ที่อยูในคําสั่ง รูปที่ 3.37 3. การแสดงการจําลองการหมุนของลอทําไดโดยคลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง จะปรากฏหนาตางของ Animation Controller ขึ้นมาดังรูปที่ 3.38 ซึ่งชิ้นที่ 3 จะหมุนรอบ ตัวเองไปเรื่อยๆ นักศึกษาสามารถทดลองใชทูลตางๆของ Animation Controller เพื่อดูการเคลื่อนที่
  • 22. 22 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ของลอไดตามความตองการ รูปที่ 3.38 ขอแนะนํา นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังขอที่ 3 เปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่น ๆ โดยการคลิกที่ปุม และกําหนดคาตางๆตามที่ โปรแกรมตองการ 3.5 การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงาน 1. การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงานที่นํามาประกอบกันทําได โดยใชคําสั่ง เมื่อคลิก เลือกจะปรากฏหนาตางของ Interference Detection ขึ้นมาดังรูปที่ 3.39ก 2. ในชอง ใหคลิกเลือกชิ้นสวนที่ตองการจะตรวจสอบการซอนทับกัน หรือเลือกชิ้นสวนทั้งหมด เมื่อเลือกเสร็จใหกดปุม เพื่อใหโปรแกรมคํานวณหาการ ซอนทับกันของชิ้นงาน 3. เมื่อโปรแกรมตรวจพบการทับซอนกันของชิ้นสวนจะแสดงผลในชองของ Results ดังรูปที่ 3.40ข (เนื้อของชิ้นงานที่ทับซอนกันจะถูกแสดงเปนสีแดง) นักศึกษาสามารถตรวจสอบและทําการแกไข ใหถูกตอง ก ข รูปที่ 3.39
  • 23. 23 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3.6 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View จากตัวอยางที่ผานมานักศึกษาไดฝกใชคําสั่ง Explode View สรางภาพระเบิดโดยการกรอกคา ระยะที่ตองการใหชิ้นสวนระเบิด สําหรับในแบบฝกหัดนี้จะใชวิธี Drag and Drop หรือคลิกเมาสคาง ไวแลวลากไปวางในตําแหนงที่ตองการ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ขึ้นมา ซึ่ง นักศึกษาไมตองกําหนดหรือกรอกคาอะไรลงในหนาตางนี้ 2. ใหคลิกบนพื้นผิวของชิ้นสวนที่ตองการจะระเบิด จะเกิดพิกัด X,Y และ Z ขึ้นที่จุดนั้น ใหคลิก เลือกแกนที่ตองการจะระเบิดคางไว แลวลากเมาสไปปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ ดังรูปที่ 3.40 รูปที่ 3.40 3. ระเบิดชิ้นสวนอื่นๆ ดวยวิธีการเชนเดียวกันกับขอที่ 2 ใหไดภาพระเบิดดังรูปที่ 3.41 รูปที่ 3.41 4. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยใชคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน ใหมี ลักษณะดังรูปที่ 3.42
  • 24. 24 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.42 ขอแนะนํา การคลิกเลือกตําแหนงการระเบิดของนักศึกษาอาจจะไมตรงกับในแบบฝกหัดนี้ ดังนั้นใหนักศึกษาเปลี่ยนทิศทางการระเบิดใหภาพที่ระเบิดออกมีลักษณะใกลเคียง กับตัวอยาง หรือนักศึกษาจะระเบิดไปตามทิศทางที่ตองการก็ได
  • 25. 25 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แบบทดสอบที่ 5 ใหฝกการสรางชิ้นงาน 3 มิติ และนํามาประกอบเขาดวยกัน หนวยนิ้ว(English) ขอที่ 1
  • 26. 26 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี หนวยมิลลิเมตร (Metric) ขอที่ 2
  • 27. 27 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3.7 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing) หลังจากที่สรางชิ้นสวน 3 มิติ ไมวาจะเปนชิ้นสวนเดี่ยว (Part) หรือชิ้นสวนประกอบ (Assembly) เสร็จเรียบรอยแลวนั้น ขั้นตอนตอไปคือการนํางานเหลานั้นมาสรางเปนภาพเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing) และกําหนดรายละเอียดของงาน ไมวาจะเปนขนาด พิกัดความเผื่อ คุณภาพผิว วัสดุ ที่ใชในการผลิต และสัญลักษณในการเขียนแบบตาง ๆ ที่จําเปน เพื่อนําภาพเขียนแบบ 2 มิติ นั้น เสนอใหลูกคา หรือชางเทคนิคเพื่อทําการผลิตชิ้นสวนนั้นตอไป การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของ โปรแกรม Solidworks ทําไดงายมากๆ โดยการนําไฟลชิ้นสวน 3 มิติ หรือไฟลชิ้นสวนประกอบเขา มาวางในไฟล Drawing เลือกมุมมอง 2 มิติที่ตองการ ก็จะไดภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของชิ้นสวนนั้นๆ ไฟล Drawing มีความเกี่ยวพันธแบบพาราเมตริกกับไฟลอื่นๆ กลาวคือเมื่อทําการแกไขขนาดของ ไฟลใดไฟลหนึ่งอีกไฟลก็จะแกไขเปลี่ยนแปลงตามกันไปดวย 3.7.1 ความหมายของ Drawing Tools Drawing จะประกอบดวยเครื่องมือใชงานบนทูลบารมาตรฐานดังตอไปนี้ ไอคอน คําสั่ง หนาที่ Model View ใชวางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ภาพแรกลง ในไฟล Drawing สามารถเลือก มุมมองของการเขียนแบบไดตามความตองการ Projected View ใชสรางภาพฉายดานอื่น ๆ หรือสรางภาพไอโซเมตริกจากภาพที่ไดจาก Model View Auxiliary View ใชสรางภาพฉายชวย โดยภาพที่ฉายจะตั้งฉากกับเสนขอบที่เราเลือก Section View ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชเสนตัดตรง Section View ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชสองเสนตัดทํา มุมกัน Detail View ใชสรางภาพขยายรายละเอียดของภาพอื่นๆ ในสวนที่ตองการใหเห็น รายละเอียดเพิ่มเติม Broken View ใชสรางภาพ Broken (ภาพที่ตัดสวนตรงกลางออกเหลือแตสวนปลาย ของทั้งสองดาน ทําใหประหยัดเนื้อที่ในกระดาษเขียนแบบ) Standard 3 View ใชสรางภาพฉายทั้ง 3 ดานโดยอัตโนมัติ
  • 28. 28 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3.7.2 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลชิ้นสวน (Part) หลังจากที่นักศึกษาไดสรางชิ้นสวน 3 มิติเปนเรียบรอยแลว สามารถนําชิ้นสวน 3 มิตินั้น มาทําเปนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยวิธีดังนี้ 1. เปดไฟล Drawing โดยการคลิกไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน 2. โปรแกรม Solidworks จะมีมาตรฐานกระดาษเขียนแบบขนาดตางๆ ใหเลือก ใหนักศึกษา เลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ดังรูปที่ 3.43 คลิกปุม OK รูปที่ 3.43 3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล Part 3 ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงานดังรูปที่ 3.44 คลิกปุม Open แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.45 คลิกปุม รูปที่ 3.44 วางกระดาษแนวนอน วางกระดาษแนวตั้ง
  • 29. 29 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่3.45 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพ Model View ไดโดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ 4. คลิกที่ไอคอน ไปคลิกที่ภาพ Model View (ตําแหนงที่ 1) แลวลากเมาสลงมาดานลาง (ตําแหนงที่ 2) คลิกเมาส 1 ครั้ง จะไดภาพดานบน ดังรูปที่ 3.46 หลังจากนั้นใหเลือก Display Style แบบ Hidden Lines visible แลวคลิกปุม รูปที่ 3.46
  • 30. 30 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 5. สรางภาพตัด โดยคลิกไอคอน จะปรากฏหนาตางของ Section View ใหกําหนดชื่อของภาพ ตัด (Label) =A มาตราสวน (Scale) และสไตลดังรูป ลากเมาสไปคลิกตําแหนงที่ 1 และ 2 ดังรูปที่ 3.47 ตามลําดับเพื่อสรางเสนตัด แลวลากเมาสมาวางตําแหนงที่ตองการวางภาพตัด คลิกปุม จะ ไดผลลัพธดังรูป รูปที่ 3.47 6. การแสดงภาพรายละเอียดของสวนที่ตองการ ทําไดโดยการคลิกที่ไอคอน คลิกเลือกภาพที่ ตองการทํา Detail ในตัวอยางนี้ ใหคลิกที่ภาพตัด แลวคลิกสรางวงกลมใหมีขนาดครอบคลุมตําแหนง ที่ตองการสราง Detail ดังรูปที่ 3.48 แลวลากเมาสไปวางตําแหนงที่ตองการ พรอมกันนั้นจะปรากฏ หนาตาง Detail View ดังรูป ใหกําหนดชื่อภาพ (Label) = B มาตราสวน (Scale) = 1:1 และ สไตล เปนแบบ Hidden line Remove คลิกปุม รูปที่ 3.48 7. ใชคําสั่ง สรางภาพ Isometric ดานลางของภาพตัดดังรูปที่ 3.49 คลิกปุม
  • 31. 31 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.49 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถแกไขหรือกําหนดมาตรฐานการเขียนแบบตางๆ ของ Drawing ไดตาม ความตองการ โดยคลิกที่ปุม Option จะปรากฏหนาตางของ System Options และ Document Properties ดังรูปที่ 3.50 ซึ่งสามารถแกไขมาตรฐานการเขียนแบบของ Drawing ไดที่แท็บ Document Properties รูปที่ 3.50 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถแกไข มุมมอง รูปแบบของการแสดงภาพ มาตรสวน หรืออื่นๆ ที่ตองการ ของภาพ Drawing ไดทุกภาพ โดยการคลิกเมาสที่ภาพที่ตองการแก จะปรากฏหนาตางของ Drawing view ดังรูปที่ 3.51 ซึ่งสามารถแกไขตามความตองการ แลวคลิกปุม
  • 32. 32 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่3.51 8. การกําหนดขนาดของแบบ 2 มิติ การกําหนดขนาดใหภาพเขียนแบบสามารถทําได 2 วิธี คือ การ กําหนดขนาดอัตโนมัติ และการกําหนดขนาดดวยตัวเอง - การกําหนดขนาดอัตโนมัติ ทําได ดังนี้ คลิกไอคอน (Annotations) ดังรูปที่ 3.52 ทูลบารจะเปลี่ยนเปน Drawing Annotation ใชคําสั่ง หรือคําสั่ง แลวลากเมาสไปคลิกเลือกรูปที่ตองการจะให ขนาดคลิกปุม เสนใหขนาดจะแสดงอัตโนมัติ การใหขนาดวิธีนี้โปรแกรมจะอางอิง ตามขนาดของชิ้นสวน 3 มิติที่นักศึกษากําหนดตอนสเกตซ ดังนั้นตําแหนงการวางขนาด ในภาพเขียนแบบ 2 มิติ อาจจะไมสวยงาม หรือไมวางในตําแหนงที่เราตองการ นักศึกษา สามารถยายตําแหนงของเสนกําหนดขนาดไดโดยการลากเมาสไปวางบนเสนบอกขนาด นั้นแลวคลิกที่ตัวเลขหรือเสนกําหนดขนาดคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากเมาสไปวางปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ รูปที่3.52
  • 33. 33 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี - กําหนดขนาดดวยตัวเอง ทําไดดังนี้ เลือกใชกลุมคําสั่งการใหขนาด แลวลากเมาสไปคลิกใหขนาด ตามตองการ ใหนักศึกษาใชคําสั่งการใหขนาดแบบตาง ๆ ฝกใหขนาดกับภาพดานขาง ของชิ้นสวนที่ 3 ดังรูปที่ 3.53 รูปที่ 3.53 การกําหนดสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆ ลงในภาพเขียนแบบ 2 มิติ นักศึกษาสามารถกําหนดสัญลักษณการเขียนแบบตาง ๆ เชน คุณภาพผิวงาน สัญลักษณ งานเชื่อม พิกัดความเผื่อตาง ๆ ลงบนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยการคลิกเลือก (Annotations) จากเมนูจะปรากฏไอคอนสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆใหเลือกใช ในตัวอยางนี้จะกลาวถึงเฉพาะ สัญลักษณเขียนแบบที่ใชงานบอยๆ เทานั้น สวนสัญลักษณที่ไมไดกลาวถึงนักศึกษาสามารถทดลอง ใชไดโดยการดูจากเครื่องมือชวย (Help) ของโปรแกรม การใชเครื่องมือ Center line Centerline เปนคําสั่งที่ใชสรางเสนศูนยกลางของรูปที่มีความสมมาตรกัน 1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนดานขางทั้งสองเสนของภาพดานบนชิ้นสวนที่ 3 (ตําแหนงที่ 1 และตําแหนงที่ 2 ดังรูปที่ 3.54 ตามลําดับ) โปรแกรมจะสรางเสนศูนยกลางตัดกลางเสน ที่เลือกทันที ซึ่งขณะนี้นักศึกษายังอยูในคําสั่ง Center line สามารถที่จะไปคลิกสรางเสน ศูนยกลางเสนอื่นๆ ได 3. สรางเสน Center line ของภาพดานขางดังรูปที่ 3.55 ดังวิธีเดียวกับขอ 3 4. คลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง
  • 34. 34 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.54 รูปที่ 3.55 การใชเครื่องมือ Datum Feature Datum Feature เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปราง 1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Feature ขึ้นดังรูปที่ 3.56 กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.56 แลวคลิก ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง 21
  • 35. 35 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.56 การใชเครื่องมือ Datum Target Datum Target เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปรางที่สัมพันธ กับ Datum Feature 1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Target ขึ้นดังรูปที่ 3.57 กรอกคาของ Datum กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.57 แลวคลิก ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.58 รูปที่ 3.57 รูปที่ 3.58
  • 36. 36 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใชเครื่องมือ Surface Finish Surface Finish เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณแสดงคาความหยาบของผิวชิ้นงาน 1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Surface Finish ขึ้นดังรูปที่ 3.59 กรอกคาของความหยาบ กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ ตองการ 2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนวงกลมของภาพดานหนาชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงที่ ดังรูปที่ 3.59 แลวคลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.60 ภาพที่ 3.59 รูปที่ 3.60 เมื่อทําเสร็จทุกขั้นตอนจะไดผลลัพธของภาพเขียนแบบ 2 มิติ ดังรูปที่ 3.61
  • 37. 37 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รูปที่ 3.61 3.4.3 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลแอสเซมบลี (Assembly) 1. คลิก New แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเปดไฟล Drawing 2. ใหเลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ตามวิธีการดังหัวขอที่ผานมา 3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล Assembly ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงาน ดังรูปที่ 3.62 คลิกปุม Open รูปที่3.62
  • 38. 38 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4. ใหกําหนดมุมมองของภาพเปน Isometric View สไตลเปนแบบ Hidden line Remove และมาตรา สวน (Scale) = 1: 3 ดังภาพที่ 3.63 ซาย แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.63ขวา คลิกปุม รูปที่ 3.63 5. ทําเหมือนขอที่ 3 โดยใชคําสั่ง Model View แตตองทําการประกอบกลับ (Collapse) ไฟล Assembly ที่บันทึกไวในหัวขอที่แลว รูปที่3.64
  • 39. 39 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 6. ใหกําหนดมุมมองภาพเปน Isometric View มาตราสวน (Scale) = 1:2 และสไตลเปนแบบ Shaded with Edge คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.64 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพตางๆ โดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว (ลูกศรจะ เปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ 7. การสราง Balloon การสราง Balloon หรือการกําหนดหมายเลขกํากับชิ้นสวน สามารถทําได 2 วิธีคือ (เปลี่ยน Drawing Tools เปน Annotations Tools โดยวิธีการดังตัวอยางที่ผานมา) 7.1การสราง Balloon พรอมกันทุกชิ้นสวน โดยการคลิกปุม (Auto Balloon) แลวลากเมาสไป คลิกภาพที่ตองการทํา Balloon จะปรากฏหนาตางโตตอบ Auto Balloon ดังรูปที่ 3.65 ใหเปลี่ยน คลิกปุม จะเกิด Balloon กระจัดกระจายดังรูปที่ 3.65 รูปที่ 3.65 7.2 การทํา Balloon ทีละชิ้นสวน โดยการคลิกปุม แลวไปคลิกบนชิ้นสวนในภาพที่ ตองการทํา Balloon คลิกปุม เพื่อยอมรับและออกจากคําสั่ง Balloon การยายตําแหนงตัวเลขและตําแหนงการชี้ของลูกศรบนภาพชิ้นสวนของ Balloon นักศึกษาสามารถจะยายตําแหนงตัวเลขของ Balloon แตละหมายเลขได โดย การคลิกที่ตัวเลขจะมีปุมสีเขียวเกิดขึ้นที่ตัวเลขและที่ลูกศรใหคลิกที่ปุมสีเขียวของ ตัวเลขคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) ดังรูปที่ 3.66 ลากเมาสไปปลอย
  • 40. 40 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วางยังตําแหนงที่ตองการ สวนการยายตําแหนงการชี้ของลูกศรบนภาพชิ้นสวนใหคลิก เมาสคางไวที่ปุมสีเขียวของลูกศรแลวทําเชนเดียวกับวิธีการยายตัวเลข รูปที่ 3.66 การลบและแกไข Balloon -การลบ Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการลบแลวกด Delete บนคียบอรด -การแกไข Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการ จะปรากฏหนาตาง Balloon ขึ้นมาดังรูปที่ 3.67 ซึ่งสามารถแกไขชนิดและหมายเลขของ Balloon ไดตามความตองการ รูปที่ 3.67 8. การสรางตารางรายการชิ้นสวน (Bill of Materials)
  • 41. 41 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การสรางตารางรายการชิ้นสวน หรือรายการวัสดุทําไดโดยการคลิกที่ไอคอน เลือก บนทูลบารมาตรฐาน แลวลากเมาสไปคลิกที่ภาพที่ตองการบอกรายการ ชิ้นสวน ในตัวอยางนี้ใหคลิกที่ภาพ Assembly ภาพใดก็ได จะปรากฏหนาตาง Bill of Materials ดัง รูปที่ 3.68 ซาย รูปที่ 3.68 9. กําหนดออปชันของ Bill of Materials ดังรูป แลวลากเมาสไปคลิกวางในตําแหนงดังรูปที่ 3.68ขวา จะไดตารางรายการชิ้นสวนของภาพที่เลือกบันทึกไฟล
  • 42. 42 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี แบบทดสอบที่ 6 ใหฝกสรางงานDrawing 2 มิติโดยใชรูปดังตอไปนี้ ขอที่ 1 ขอที่ 2 ขอที่ 3 ขอที่ 4 ขอที่ 5 ขอที่ 6
  • 43. 43 คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ขอที่ 7