SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่ อง ลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

จัดทําโดย
นายวีระชาติ อินคําแหง เลขที่ 9
ชั้ น มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ (ง32102)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ )
โรงเรียนส้ มป่ อยพิทยาคม ตําบลส้ มป่ อย อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
้ ่
หัวข้ อโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
ผู้เสนอโครงงาน
ครูทปรึกษาโครงงาน
ี่
ปี การศึกษา

: เรื่ อง ลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์
: โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา
: นายวีระชาติ อินคําแหง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 9
: คุณครู ณฐพล บัวพันธ์ ตําแหน่ง .................................
ั
: 2556

บทคัดย่อ
การทําโครงงานจากขยะอิเล็กทรอนิก ด้วยความห่วงใยและใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง ลําโพง
จากจอคอมพิวเตอร์ ที่เสี ยแล้ว มีวตถุประสงค์เพื่อ 1. ต้องการศึกษาการทําลําโพงจากคอมพิวเตอร์
ั
2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์

3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนํา

ความรู ้มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อม

หลักการทํางานของลําโพงจาก

จอคอมพิวเตอร์ ที่เสี ยแล้วมาประยุกต์ใช้ให้เป็ นลําโพง หรื อเป็ นมอนิเตอร์ หน้าเวทีการแสดงขนาด
ย่อมได้ จากผลการดําเนินการ พบว่า ลําโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับลําโพงที่ขายใน
ํ
ท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่าลําโพงที่ขายในท้องตลาด สามารถนําไปใช้ได้จริ ง
ํ
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ฉบับนี้ สําเร็ จขึ้นได้โครงงานเรื่ องลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ที่ประดิษฐ์ข้ ึนมา
ได้รับการสนับสนุนจากหลายๆฝ่ าย อาทิ ด้านงบประมาณจากโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม อําเภอราษี
ไศล จังหวัดศรี สะเกษ โดยผูอานวยการ
้ํ

นาย บัญชา ติละกูล คุณครู ที่ปรึ กษา นาย ณัฐพล

บัวพันธ์ และคําแนะนําการทําลําโพงจากคณะครู โรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกท่าน เพื่อนๆพี่ๆ
น้องๆโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกคนที่คอยอยูเ่ ป็ นเพื่อนและกําลังใจมาตลอด
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ญาติพี่นองทุกคนที่ให้โอกาสและช่วยเหลืออํานวยความ
้
สะดวกในทุกด้านจนกระทังสิ่ งประดิษฐ์ชิ้นนี้สาเร็ จได้ตามวัตถุประสงค์
ํ
่
ชื่อผูจดทํา
้ั
นายวีระชาติ อินคําแหง
สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่ อ

ก

กิตติกรรมประกาศ

ข

สารบัญ

ค

บทที่ 1 บทนํา
ที่มาและความสําคัญ

1

วัตถุประสงค์

1

ขอบเขตการศึกษา

2

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

2

บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
่
จอคอมพิวเตอร์

3

ลําโพง

5

บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีการดําเนินการ
วัสดุ อุปกรณ์

9

ขั้นตอนการดําเนินงาน

9

บทที่ 4 ผลการทดลองและปฏิบัติ
ผลการดําเนินงาน

11

ประโยชน์ที่ได้รับ

11

บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ อภิปรายผลของชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์
สรุ ปผลการดําเนินงาน
ปั ญหาที่พบ

12
12

แนวทางการแก้ไขปั ญหา

12
เอกสารอ้างอิง

13
บทที่ 1
บทนํา

1.1 แนวคิด ทีมา และความสํ าคัญ
่
เนื่องจากในปั จจุบนปริ มาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ทวโลกกําลังเพิมขึ้นอย่างรวดเร็ วในขณะนี้
ั
ั่
่
โดยในแต่ละปี จะมีมากถึง 20-50 ล้านตัน อาจเป็ นเรื่ องยากที่จะนึกภาพปริ มาณขยะที่มากมาย
มหาศาลเช่นนี้ ให้ลองนึกภาพว่าถ้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ทั้งหมดถูกนําใส่ ตู้
คอนเทนเนอร์ บนขบวนรถไฟ จะกลายขบวนรถไฟที่ยาวเท่าหนึ่งรอบโลกของเรา! ในปัจจุบน
ั
ขยะอิเล็กทรอนิกส์คิดเป็ นร้อยละ 5 ของขยะแข็งในเขตเทศบาลทัวโลก เทียบเท่ากับปริ มาณ
่
ขยะวัสดุห่อหุ มที่เป็ นพลาสติกทั้งหมด แต่มีอนตรายมากกว่ามาก และไม่ใช่ประเทศพัฒนาแล้ว
้
ั
เท่านั้นที่เป็ นต้นตอของขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ในเอเชียเองก็มีการทิ้งขยะแบบนี้ประมาณ 12
ล้านตันต่อปี ขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่งของขยะแข็งในเขตเทศบาลที่เพิ่ม จํานวน
ขึ้นอย่างรวดเร็ วที่สุดในปั จจุบน เพราะผูบริ โภคเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์
ั
้
อุปกรณ์เครื่ องเสี ยง และ พริ้ นเตอร์ บ่อยครั้งกว่าที่เคยเป็ นมา โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์
ก่อให้เกิดปั ญหามากที่สุดเพราะมีการเปลี่ยน เครื่ องใหม่บ่อยที่สุด ในยุโรปขยะอิเล็กทรอนิกส์
ั
เพิ่มจํานวนขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี ซึ่ งเพิ่มขึ้นรวดเร็ วกว่าขยะอย่างอื่นถึง 3 เท่า และคาดการณ์กน
ว่าประเทศกําลังพัฒนาจะผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอีกถึง

3 เท่าภายใน 5 ปี ข้างหน้า

ตัวอย่างเช่น ในโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม มีคอมพิวเตอร์ เก่าที่ใช้งานไม่ได้แล้วเป็ นจํานวนมาก
และไม่มีที่เก็บ ก็ตองทิงไปโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรเลย พวกเราจึงได้ปรึ กษากันในกลุ่มว่า
้ ้
ั
จะทําอย่างไรดีกบขยะเหล่านี้ เราจึงได้ทาลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ข้ ึนมา
ํ

1.เพื่อต้องการ

ศึกษาการทําลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษา
คิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนําความรู ้มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและ
ประเทศชาติ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เรานํามาใช้ทาลําโพงนั้น เป็ นรุ่ น CRT ซึ่ งในปั จจุบนไม่
ํ
ั
ค่อยมีคนนิยมใช้แล้ว เพราะว่ากินไฟมาก รายละเอียดภาพไม่ชด ทําให้เราสายตาเสี ยได้ ได้
ั
ดังนั้นจึงเป็ นที่มาของโครงงานเรื่ องลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการศึกษาการทําลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์
2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์
3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนําความรู ้มาประยุกต์ให้เกิด
ประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศชาติ
1.3 ขอบเขตของโครงงาน
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้จะเกี่ยวกับลําโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งส่ วนใหญ่จะใช้ขยะ
ํ
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ คียบอร์ด เป็ นต้น
์
1.4 ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ
่
1. ได้ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
ํ
่
2. นําวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยูมากมาประดิษฐ์เพื่อให้เกิดคุณค่าและเป็ นแบบอย่างได้
3. เพื่อส่ งเสริ มกิจกรรมความคิดของเยาวชน
4. เพื่อประโยชน์แก่ผใช้และพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ในอนาคต
ู้
บทที่ 2
เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
่
จอภาพแบบซีอาร์ ที

การแสดงผลบนจอภาพเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นสําหรับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวฒนาการ
ํ
ั
ั
ของการแสดงผลได้พฒนาก้าวหน้าขึ้น มาตรฐานการแสดงผลที่ใช้กบไมโครคอมพิวเตอร์ มีพ้ืนฐาน
ั
มาจากการพัฒนาของบริ ษทไอบีเอ็ม ในยุคต้นความต้องการของการแสดงผลส่ วนใหญ่ยงเป็ นแบบ
ั
ั
ตัวอักษรโดยมีภาวะการทํางาน (mode) แยกจากการแสดง กราฟิ ก แต่ในปัจจุบนซอฟต์แวร์จานวน
ั
ํ
มากสามารถแสดงผลในภาวะกราฟิ ก เช่น ระบบปฎิบติงานวินโดวส์ ต้องใช้ภาวะการแสดงผลใน
ั
รู ปกราฟิ กล้วน ๆ ผูใช้สามารถกําหนดขนาดช่องหน้าต่าง หรื อการแสดงผลได้ตามที่ตองการ
้
้
จอภาพจึงเป็ นส่ วนสําคัญมากส่ วนหนึ่งสําหรับผูใช้งานในยุคปั จจุบน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524
้
ั
ั
บริ ษทไอบีเอ็มได้พฒนาระบบการแสดงผลที่ใช้กบจอภาพสี เดียวที่เรี ยกว่าโมโนโครม หรื อ เอ็มดีเอ
ั
ั
(Monochrome Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพาะภาวะตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวแต่
ให้ความละเอียดสู ง หากต้องการแสดงผลในภาวะกราฟิ กก็ตองเลือกภาวะการแสดงผลอีกแบบหนึ่ง
้
ที่เรี ยกว่า ซี จีเอ (Color Graphic Adapter : CGA) ที่สามารถแสดงสี และกราฟิ กได้แต่ความละเอียด
น้อย เมื่อมีผผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยหอต่าง ๆ ที่มีระบบการทํางานแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ ของ
ู้
ี่ ้
ไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกําหนดมาตรฐานการแสดงผลไว้ ต่อมาบริ ษทเฮอร์คิว
ั
ลีส ซึ่ งเห็นปั ญหาของระบบการแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรี ยกกันติดปาก
ว่าแผงวงจรเฮอร์ คิวลิส (herculis card) หรื อ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บางครั้ง
เรี ยกว่าโมโนโครกราฟิ กอะแดปเตอร์หรื อเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) การ
ั
ั
แสดงผลแบบนี้เป็ นที่แพร่ หลายและนิยมใช้กนต่อเนื่องมาและมีผลิตขึ้นมาใช้กนมากมาย ต่อมา
บริ ษทไอบีเอ็มเห็นว่าความต้องการทางด้านกราฟิ กสู งขึ้น การแสดงสี ควรจะมีรายละเอียดและ
ั
จํานวนสี มากขึ้น จึงได้พฒนามาตรฐานการแสดงผลบนจอภาพขึ้นอีกโดยปรับปรุ งจากเดิมเรี ยกว่า อี
ั
จีเอ (Enhance Graphic Adapter : EAG) การเพิ่มเติมจํานวนสี ยงไม่พอเพียงกับซอฟต์แวร์ ที่ได้รับ
ั
ั
การพัฒนาให้ใช้กบระบบปฎิบติการวินโดวส์และโอเอสทูไอบีเอ็มจึงสร้างมาตรฐานการแสดงผลที่
ั
มีความละเอียดและสี เพิ่มยิงขึ้นเรี ยกว่า เอ็กซ์วจีเอ (eXtra Video Graphic Array : XVGA) การเลือก
ี
่
ซื้ อจอภาพจะตัองพิจารณาความสัมพันธ์ของจอภาพกับตัวปรับต่อซึ่ งเป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่
่
ติดตั้งอยูบนแผงวงจรหลัก (main board) และต่อสัญญาณมายังจอภาพ แผงวงจรนี้จะเป็ นตัว
แสดงผลตามมาตรฐานที่ตองการ มีภาวะการแสดงผลหลายแบบ เช่น
้
ก. แผงวงจรโมโนโครมหรื อแผงวงจรเอ็มดีเอ เป็ นแผงวงจรที่ไม่ค่อยนิยมใช้แล้วแสดงผลได้
เฉพาะตัวอักษรจํานวน 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร ขนาดความละเอียดของตัวอักษรเป็ น
9x14 ชุด
ข. แผงวงจรเฮอร์ คิวลิสหรื อแผงวงจรเอชจีเอ แสดงผลเป็ นตัวอักษรขนาด 25 บรรทัด บรรทัดละ 80
ตัวอักษร เหมือนแผงวงจรเอ็มดีเอ แต่สามารถแสดงกราฟิ กแบบสี เดียวด้วยความละเอียด 720x348
จุด
ค. แผงวงจรอีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วยความละเอียดของตัวอักษรขนาด 9x14 จุดแสดงสี ได้ 16
สี ความละเอียดของการแสดงกราฟิ ก 640x350 จุด
ง. แผงวงจรวีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วย ความละเอียดของตัวอักษร 9x16 จุด แสดงสี ได้ 16 สี
แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด 640x480 จุด และแสดงสี ได้สูงถึง 256 สี
จ. แผงวงจรเอ็กซ์วจีเอ เป็ นแผงวงจรที่ปรับปรุ งจากแผงวงจรวีจีเอ แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด
ี
สู งขึ้นเป็ น 1,024x768 จุด และแสดงสี ได้มากกว่า 256 สี
เมื่อได้ทราบว่าตัวปรับต่อมีกี่แบบแล้ว คราวนี้มาดูมาตรฐานตัวเชื่อมต่อ (connector) ของตัวปรับต่อ
กับจอภาพบ้าง ตัวเชื่อมต่อมาตรฐานที่ใช้มีแบบ 9 ขา ตัวเชื่อมต่อสําหรับแผงวงจรแบบ วีจีเอ และ
เอสวีจีเอ เป็ นแบบ 15 ขา การที่หวต่อไม่เหมือนกันจึงทําให้ใช้จอภาพพร่ วมกันไม่ได้
ั
นอกจากตัวเชื่อมต่อและตัวปรับต่อแล้ว คุณภาพของจอภาพก็จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างมาก
สัญญาณที่ส่งมายังจอภาพมีรูปแบบไม่เหมือนกัน สัญญาณของแผงวงจรแบบวีจีเอเป็ นแบบแอ
นะล็อก สัญญาณของแผงวงจรแบบ เอ็มดีเอ ซีจีเอ เอชจีเอ อีจีเอ เป็ นแบบดิจิทล ข้อพิจารณาที่จะ
ั
ตรวจสอบด้วยตาเปล่าได้ คือ การแสดงผลจะต้องเป็ นจุดเล็กละเอียดคมชัด ไม่เป็ นภาพพร่ าหรื อ
เสมือนปรับโฟกัสไม่ชดเจน ภาพที่ได้จะต้องมีลกษณะของการกราดตามแนวตั้งคงที่ สังเกตได้จาก
ั
ั
ขนาดตัวหนังสื อแถวบน กับแถวกลางหรื อแถวล่างต้องมีขนาดเท่ากันและคมชัดเหมือนกัน ภาพที่
ปรากฎจะต้องไม่กระพริ บถึงแม้จะปรับความเข้มของแสงเต็มี่ ภาพไม่สั่งไหวหรื อพลิ้ว การแสดง
ของสี ตองไม่เพี้ยนจากสี ที่ควรจะเป็ น
้
พิจารณารายละเอียดทางเทคนิคของจอภาพ เช่น ขนาดของจอภาพซึ่ งจะวัดตามแนวเส้นทะแยงมุม
ของจอ ว่าเป็ นขนาดกี่นิ้ว โดยทัวไปจะมีขนาด 14 นิ้ว จอภาพที่แสดงผลงานกราฟิ กบางแบบอาจ
่
ต้องใช้ขนาดใหญ่ถึง 20 นิ้ว ความละเอียดของจุดซึ่ งสามารถสังเกตได้จากสัญญาณแถบความถี่ของ
จอภาพ จอภาพแบบวีจีเอควรมีสัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 25 เมกะเฮิรตซ์ สัญญาณแถบความถี่ยง
ิ่
สู งยิงดี จอภาพแบบเอ็กซ์วจีเอแสดงผลแบบมัลติซิงค์ (multisync) ใช้สัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 60
ี
่
เมกะเฮิรตซ์ ขนาดของจุดยิงเล็กยิงมีความคมชัด เช่น ขนาดจุด .28 มิลลิเมตร ภาพที่ได้จะคมชัดกว่า
่
่
ขนาดจุด .33 มิลลิเมตร ค่าของสัญญาณแถบความถี่จึงเป็ นข้อที่จะต้องพิจารณาด้วย

ลําโพง

การทํางานของลําโพง
ในการใช้งานไม่ใช่ระบบเสี ยงไฮฟายคําว่า “ลําโพง” โดยปกติจะหมายถึงว่าเป็ นอุปกรณ์
ชิ้นหนึ่งซึ่ งทําให้เกิดเสี ยงขึ้นมา เป็ นอุปกรณ์ตวเดียวในระบบไฮฟายที่มองเห็นรู ปร่ างของมันได้
ั
ชัดเจน แต่ในระบบไฮฟายลําโพงของระบบไฮฟายมักจะมีหน่วยไดรฟ์ 2 หน่วย หรื อมากกว่าเป็ น
่
หน่วยไดรฟ์ มีขนาดและชนิดแตกต่างกันซึ่งจะมักเรี ยกว่าระบบลําโพง แต่หน่วยไดรฟ์ ทั้งหมดไม่วา
จะเป็ นของระบบไฮฟายหรื อไม่ก็ตามีหลักการทํางานอย่างเดียวกันหมด คือ ใช้หลักการใช้ขดลวดเค
ลื่นที่หรื อเรี ยกเป็ นภาษาเทคนิคว่าใช้มูฟวิงคอยล์ (Moving Coil) ในการทําให้อากาศสันตัว
่
่
เพื่อให้เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงนั้น ตัวกรวยของลําโพงจะต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและข้างหลังได้อย่าง
่
อิสระ ด้วยเหตุน้ ีจึงต้องตั้งกรวยของลําโพงไว้ในบริ เวณสภาพแวดล้อมที่มีความยืดหยุนสู ง ตรง
ปลายกรวยของลําโพงมีรูปทรงกลมขนาดเล็กติดอยูเ่ รี ยกว่า “วอยซ์คอยล์” (Voice Coil) ปลายทั้ง
สองข้างของวอยซ์คอยล์ต่อเข้ากับอินพุทของระบบลําโพง รอบ ๆ คอยล์มีแม่เหล็กถาวรตั้งอยู่
่
ล้อมรอบ การจัดไว้เช่นนั้นจนเมื่อทําการทดสอบกรวยวอยซ์คอยล์แล้ว วอยซ์คอยล์จะวางตัวอยูใน
บริ เวณสนามแม่เหล็กซึ่ งมีความเข้มมาก ถ้าหากมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านคอยล์มนจะเคลื่อนตัวไป
ั
ข้างหน้าหรื อข้างหลังในช่วงระหว่างขั้วแม่เหล็ก สัญญาณออดิโอซึ่ งประกอบด้วยกระแสสลับหรื อ
กระแสเปลี่ยนทิศทางด้วยความถี่ตรงกับเสี ยงดนตรี ดงนั้นจึงทําให้กรวยของลําโพงเคลื่อนที่ ซึ่ งเป็ น
ั
การทําให้เกิดคลื่นเสี ยง หน่วยไดรฟ์ ของลําโพง ความจริ งมีรูปแบบเช่นเดียวกับมอเตอร์ ไฟฟ้ าแบบ
ง่ายๆ เท่านั้นเองหน่วยไดรฟ์ ขนาดเล็กและมีราคาถูกๆ สามารถสร้างขึ้นมาให้เสี ยงได้ดี ให้เสี ยงฟัง
ได้ยนอย่างชัดเจน ให้เสี ยงแบคกราวด์าของเสี ยงดนตรี ในเครื่ องรับโทรทัศน์หรื อเสี ยงดนตรี ใน
ิ
รถยนต์ แต่เมื่อนําหน่วยไดรฟ์ เช่นนี้มาใช้ทาให้เกิดเสี ยงดนตรี ที่มีความเพี้ยนน้อยที่สุดก็จาเป็ นต้องมี
ํ
ํ
บางสิ่ งบางอย่างที่มีความละเอียดลออมากยิงขึ้น ทั้งนี้ก็เพราะหน่วยไดรฟ์ หน่วยเล็กๆ จะไม่มีการ
่
่
ตอบสนองต่อความถี่ต่าสุ ดและความถี่สูงสุ ดอย่างที่มีอยูในเสี ยงดนตรี แต่เมื่อมองดูตลอดย่าน
ํ
ความถี่เสี ยงจริ งๆ จะพบว่าเสี ยงตํ่าสุ ดที่เกิดจากเสี ยงเบสกีตาร์ เป็ นเสี ยงตํ่ากว่า 50 Hz ใน
ขณะเดียวกันเสี ยงสู งสุ ดของเปี ยโนเป็ นความถี่ประมาณ 4 kHz ที่เหนือความถี่น้ ีไปเป็ นความถี่ฮาร์
โมนิค ซึ่ งทําให้เครื่ องดนตรี ชิ้นต่างๆ ให้เสี ยงแตกต่างกันไป ดังนั้นส่ วนสําคัญของย่านความถี่จึงอยู่
่
ระหว่าง 40 Hz ถึง 15 kHz ทั้งนี้ก็เพราะเสี ยงที่บนทึกได้ส่วนมากจะมียานความถี่ในย่านนี้ การส่ ง
ั
่
กระจายเสี ยงโดยวิทยุ FM ก็เช่นกัน จะให้ยานการตอบสนองความถี่สูงสุ ดประมาณ 15 kHz ทั้งนี้ก็
เพราะระบบเสี ยงที่ใช้ในขณะที่เครื่ องเล่นเทปคานเซทเด็ค (Cassett Deck) โดยทัวๆ ไปมักจะไม่ให้
่
การตอบสนองเรี ยบสู งเกินไปกว่านี้ แต่ระบบบันทึกเสี ยงดิจิตอลสามารถให้การตอบสนองสู งถึง 20
kHz และตํ่าลงมาถึง 20 Hz แต่ที่ความถี่ต่าๆ เช่นนั้นเอาท์พุทจากลําโพงจะได้รับผลกระทบเพราะ
ํ
แฟคเตอร์ อื่นๆ อีก อย่าง เช่น เรื่ องขนาดของห้องฟังเป็ นต้น
เสี ยงของลําโพงออกมาได้ อย่ างไร ?
ส่ วนสําคัญที่สุดของเครื่ องเล่นเหล่านี้ก็คือลําโพง โดยหน้าที่สาคัญสุ ดของลําโพงคือ เปลี่ยน
ํ
สัญญาณทางไฟฟ้ าที่ได้มาจากเครื่ องขยายเป็ นสัญญาณเสี ยง ลําโพงที่ดีจะต้องสร้างเสี ยงให้
เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด
่ ั่
ลําโพงที่เห็นขายกันอยูทวๆไป ภายในประกอบด้วย
-กรวยหรื อไดอะแฟรม ทําด้วยกระดาษแข็งหรื อแผ่นพลาสติก หรื อจะทําด้วยแผ่นโลหะบางๆ ก็
ได้
่
่ ั
-ขอบยึด (suspension หรื อ surround ) เป็ นขอบของไดอะแฟรม มีความยืดหยุน ติดอยูกบ
เฟรม สามารถเคลื่อนที่ข้ ึนและลงได้ในระดับหนึ่ง
-เฟรมหรื อบางทีเรี ยกว่า บาสเก็ต (basket)
่ ั
-ยอดของกรวยติดอยูกบคอยส์เสี ยง( Voice coil )
่ ั
-คอยส์เสี ยงจะยึดอยูกบ สไปเดอร์ (Spider) มีลกษณะเป็ นแผ่นวงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะ
ั
่
ยึดคอยส์เสี ยงให้อยูในตําแหน่งเดิม และทําหน้าที่ เหมือนกับสปริ ง โดยจะสั่นสะเทือน เมื่อมี
สัญญาณไฟฟ้ าเข้ามา
การทํางานของคอยส์เสี ยงใช้หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยได้จากกฎของแอมแปร์ เมื่อมี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเข้าไปในขดลวดหรื อคอยส์ ภายในคอยส์จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่ งจะ
เหนี่ยวนําให้แท่งเหล็กที่สอดอยูเ่ ป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า ปกติแม่เหล็กจะมีข้ วเหนือและขั้วใต้ ถ้านํา
ั
่
แม่เหล็กสองแท่งมาอยูใกล้ๆกัน โดยนําขั้วเดียวกันมาชิดกันมันจะผลักกัน แต่ถาต่างขั้วกันมันจะ
้
ดูดกัน ด้วยหลักการพื้นฐานนี้ จึงติดแม่เหล็กถาวรล้อมคอยส์เสี ยงและแท่งเหล็กไว้ เมื่อมีสัญญาณ
ั
ทางไฟฟ้ าหรื อสัญญาณเสี ยงที่เป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนสัญญาณให้กบคอยส์เสี ยง ขั้วแม่เหล็ก
ภายในคอยส์เสี ยงจะเปลี่ยนทิศทางตามสัญญาณสลับที่เข้ามา ทําให้คอยส์เสี ยงขยับขึ้นและลง ซึ่ ง
จะทําให้ใบลําโพงขยับเคลื่อนที่ข้ ึนและลงด้วย ไปกระแทกกับอากาศ เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงขึ้น ถ้าเป็ น
เครื่ องเสี ยงระบบโมโน ลําโพงจะมีอนเดียว แต่สาหรับเครื่ องเสี ยงที่เป็ นระบบเสตอริ โอ ลําโพงจะมี
ั
ํ
่ ั
2 ข้าง คือข้างซ้าย และข้างขวา ใบลําโพงทําด้วยกรวยกระดาษ ติดอยูกบคอยส์เสี ยง เมื่อคอยส์
เสี ยงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับ มันจะทําให้ใบลําโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลําโพง
่
จะติดอยูบนสไปเดอร์ ที่ทาหน้าที่เหมือนสปริ ง คอยดึงใบลําโพงที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่
ํ
ตําแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณไฟฟ้ าป้ อนเข้าลําโพง

ถ้ามีสญ
ํ

ญาณไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนเข้าไปในคอยส์เสี ยง ทิศทางของกระแสไฟฟ้ าจะกลับทิศทางอยู่
ตลอดเวลา (สังเกตที่เครื่ องหมาย + และ - จะเห็นว่ากลับทิศทางตลอดเวลาด้วย) และทําให้แผ่น
ลําโพงสันเคลื่อนที่ข้ ึนและลง อัดอากาศด้านหน้าเกิดคลื่นเสี ยงขึ้น สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่
่
ั
ใส่ ให้กบลําโพง จะแปรตามความถี่และแอมพลิจูด ซึ่งเป็ นสัญญาณเดียวกันกับสัญญาณไฟฟ้ า
่
กระแสสลับที่ได้จากไมโครโฟน แต่วาสัญญาณที่ได้ในครั้งแรก ยังอ่อนมากจึงต้องผ่านเครื่ อง
่ ั
ขยายก่อน จึงจะป้ อนเข้าลําโพงได้ ใบลําโพงจะสั่นเร็ วหรื อช้าขี้นอยูกบความถี่ และเสี ยงจะดังหรื อ
่ ั
่
ค่อยขึ้นอยูกบแอมพลิจูดของสัญญาณไฟฟ้ า ขนาดของลําโพงมีความสําคัญมาก ไม่ใช่วาลําโพงตัว
เดียวสามารถจะให้ความถี่ได้ออกมาทุกๆความถี่ ถ้าต้องการให้เหมือนกับเสี ยงธรรมชาติมาก
ที่สุด ลําโพงจะต้องมีหลายขนาด เราจะแบ่งลําโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
-วูฟเฟอร์ (Woofers)
-ทวีทเตอร์ (Tweeters)
-มิดเรนส์ (Midrange)
ลําโพงประเภทต่ างๆ
วูฟเฟอร์ เป็ นลําโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่ต่า
ํ
ทวีสเตอร์ เป็ นลําโพงที่มีขนาดเล็กสุ ด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่สูง
ลําโพงทวีทเตอร์ เป็ นลําโพงที่มีความถี่สูง แผ่นลําโพงมีขนาดเล็กและค่อนข้างแข็ง จึง
สามารถสั่นด้วยความเร็ วที่สูง ส่ วนลําโพงแบบวูฟเฟอร์ แผ่นลําโพงจะมีขนาดใหญ่ และค่อนข้าง
นิ่ม จึงสั่นด้วยความเร็ วตํ่า เพราะมีมวลมาก อย่างไรก็ตามเสี ยงทัวไป มีความถี่กว้าง คือ มีความถี่
่
จากสู งถึงตํ่า ซึ่ งเราจะเรี ยกว่า มีความถี่ช่วงกว้าง ถ้าเรามีแต่ลาโพงทวีทเตอร์ และวูฟเฟอร์ เราจะได้
ํ
่
เสี ยงอยูในย่านความถี่สูงกับตํ่าเท่านั้น ความถี่ในช่วงกลางจะหายไป เพื่อจะให้คุณภาพของเสี ยง
ออกมาทุกช่วงความถี่ จึงจําเป็ นจะต้องมีลาโพงมิดเรนส์ดวย ภายในตูลาโพงตูหนึ่ง จึงมักจะเห็น
ํ
้
้ ํ
้
ลําโพงทั้งสามชนิดประกอบเข้าด้วยกัน
สําหรับลําโพงแบบทวีทเตอร์ เครื่ องขยายเสี ยงจะส่ ง
ความถี่สูงให้ ลําโพงวูฟเฟอร์ จะส่ งความถี่ต่า ส่ วนความถี่ในช่วงที่เหลือเป็ นของลําโพงแบบมิด
ํ
เรนส์ ถ้าลองถอดฝาตูดานหลังออก เราจะได้เห็น อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งเรี ยกว่า ครอสโอเวอร์ (Cross
้้
over) อุปกรณ์ตวนี้เป็ นตัวแยกสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับให้ออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนความถี่
ั
สู ง ความถี่ต่า และความถี่ขนาดกลาง ครอสโอเวอร์แยกออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบ
ํ
พาสซีพ (Passive) และ แบบแอคทีฟ (active) ครอสโอเวอร์แบบแอคทีฟ ไม่ตองมี
้
แหล่งจ่ายไฟ แต่ใช้พลังงานจากสํญญาณเสี ยงแทน หลักการพื้นฐานของครอสโอเวอร์น้ น
ั
ประกอบขึ้นด้วย ตัวต้ านทาน ตัวเหนี่ยวนํา และ ตัวเก็บประจุ ต่อขึ้นเป็ นวงจรไฟฟ้ า ทั้งตัวเก็บ
ประจุและตัวเหนี่ยวนําจะเป็ นตัวนําที่ดีภายใต้เงื่อนไขบางประการ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุจะ
ํ
ํ
ยอมให้ความถี่สูงที่เกินกว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ แต่ถาเป็ นความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดมันจะไม่ยอม
้
ํ
่
ให้ผานไป ส่ วนตัวเหนี่ยวนําจะทําหน้าที่แตกต่างกัน คือจะเป็ นตัวนําที่ดีเมื่อความถี่ต่า คือมันจะ
ํ
ํ
ํ
ยอมให้ความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ และจะไม่ยอมให้ความถี่สูงกว่าค่าที่กาหนดผ่าน
ํ
่
ไป สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่ผานการขยายมาแล้ว จะถูกส่ งผ่านไปยังครอสโอเวอร์ แบบพาส
ซี ฟ โดยเราจะต่อตัวเก็บประจุไว้ก่อนที่จะเข้าทวีทเตอร์ เพราะจะยอมให้แต่ความถี่สูงผ่านไปได้
่ ั
เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนําจะต่อไว้ก่อนจะเข้าวูฟเฟอร์ ส่ วนลําโพงมิดเรนส์ จะต่ออยูกบ ตัวเก็บประจุ
และตัวเหนี่ยวนํา โดยต่อเป็ นวงจรไฟฟ้ า เรี ยกว่า วงจร L-C และเลือกค่าให้เหมาะสม เพื่อให้ความถี่
ในช่วงกลางสามารถผ่านไปได้ ครอสโอเวอร์ แบบแอคทีฟ เป็ นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
่
เหมือนกับครอสโอเวอร์ แบบพาสซี ฟ แต่วาออกแบบซับซ้อนกว่า จึงต้องมีแหล่งจ่ายไฟป้ อน
พลังงานให้ ครอสโอเวอร์ แบบนี้จะแยกความถี่ออกก่อนที่จะเข้าเครื่ องขยายเสี ยง ดังนั้นจึงต้องมี
เครื่ องขยาย 3 อัน แต่ละอันขยายความถี่ในช่วงที่แตกต่างกัน จึงเป็ นข้อเสี ยที่สาคัญประการ
ํ
หนึ่ง แต่มีขอดีมากเมื่อเทียบกับแบบพาสซี ฟ และเป็ นสิ่ งที่เครื่ องเสี ยงราคาเป็ นแสนขาดเสี ยไม่ได้
้
ั
คือ คุณสามารถปรับแต่งความถี่ทุกๆช่วงได้ อย่างไรก็ตามมันมีราคาค่อนข้างแพงจึงใช้กบเครื่ อง
เสี ยงราคาสู งเสี ยมากกว่า
บทที่ 3
วิธีดําเนินงานโครงงาน
ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่ องลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ นี้ ผูจดทําโครงงานมี
้ั
วิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ํ
1. 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือทีใช้ ในการพัฒนา
่
ไม้อดแบบหนา 20 mm.
ั
2. ทวิสเตอร์ 2 ตัว 150 วัตต์
3. ดอกลําโพง 2 ตัว 200 – 250 วัตต์
4. ซีทอง2 ตัว
5. เครื่ องขยาย 1 เครื่ อง
6. ผ้ามองกลู 1 เมตร
7. หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาด 17 นิ้ว 2 จอ
8. น็อต
9. โฟมแข็ง
10. สายไฟขนาด 1 เมตร
3.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน
- ศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่จะทํา
- ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์และเตรี ยมแก้ปัญหา
- คิดค้นวิธีดาเนินงานสร่ างสิ่ งประดิษฐ์เพื่อช่วยในการแก้ไขปั ญหาและความเป็ นไปของชิ้นงาน
ํ
-ออกแบบสิ่ งประดิษฐ์
-เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
บทที่ 4
ผลการดําเนินงานโครงงาน
การทําลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ในครั้งนี้ ลําโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ
ํ
ลําโพงที่ขายในท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่าลําโพงที่ขายในท้องตลาด
ํ
บทที่ 5
สรุปผลการดําเนินงาน และข้ อเสนอแนะ
จากการศึกษาเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของลําโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ กับลําโพงที่
ํ
ขายตามท้องตลาด พบว่า มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากัน แต่ลาโพงที่เราทําจากจอคอมพิวเตอร์ มีน้ าหนักเบา
ํ
ํ
กว่าสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย
ปัญหาทีพบ
่
-สมาชิกมีเวลาว่างไม่ตรงกันการรวมกลุ่มจึงไม่พร้อมเพรี ยงเท่าที่ควร
-ไม่มีประสบการณ์ในเรื่ องไฟฟ้ าเท่าที่ควร
แนวทางการแก้ ไขปัญหา
ั
-แบ่งงานและหน้าที่กนตามที่เห็นสมควรของสมาชิกในกลุ่มทุกคน
-ปรึ กษาผูที่รู้และเชี่ยวชาญ
้
เอกสารอ้างอิง

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/monitor.html
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=choshang&month=012011&date=15&group=8&gblog=3

ภาคผนวก
(ขอให้นกเรี ยนนําภาพการพัฒนาโครงงาน เรื่ อง................ขั้นตอนการสร้าง Storyboard)
ั

More Related Content

What's hot

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานพัน พัน
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 

What's hot (20)

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์

โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคWirachat Inkhamhaeng
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์laddawan wangkhamlun
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBream Mie
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทPermtrakul Khammoon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
โครงงาน2
โครงงาน2โครงงาน2
โครงงาน2Bream Mie
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์kanlaya champatho
 

Similar to โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์ (20)

1
11
1
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
Electronoc waste
Electronoc wasteElectronoc waste
Electronoc waste
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
7
77
7
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
โครงงาน2
โครงงาน2โครงงาน2
โครงงาน2
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม 606
งานคอม 606งานคอม 606
งานคอม 606
 

โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่ อง ลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําโดย นายวีระชาติ อินคําแหง เลขที่ 9 ชั้ น มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ (ง32102) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ ) โรงเรียนส้ มป่ อยพิทยาคม ตําบลส้ มป่ อย อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ้ ่
  • 2. หัวข้ อโครงงาน ประเภทของโครงงาน ผู้เสนอโครงงาน ครูทปรึกษาโครงงาน ี่ ปี การศึกษา : เรื่ อง ลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ : โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา : นายวีระชาติ อินคําแหง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 9 : คุณครู ณฐพล บัวพันธ์ ตําแหน่ง ................................. ั : 2556 บทคัดย่อ การทําโครงงานจากขยะอิเล็กทรอนิก ด้วยความห่วงใยและใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง ลําโพง จากจอคอมพิวเตอร์ ที่เสี ยแล้ว มีวตถุประสงค์เพื่อ 1. ต้องการศึกษาการทําลําโพงจากคอมพิวเตอร์ ั 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนํา ความรู ้มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อม หลักการทํางานของลําโพงจาก จอคอมพิวเตอร์ ที่เสี ยแล้วมาประยุกต์ใช้ให้เป็ นลําโพง หรื อเป็ นมอนิเตอร์ หน้าเวทีการแสดงขนาด ย่อมได้ จากผลการดําเนินการ พบว่า ลําโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับลําโพงที่ขายใน ํ ท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่าลําโพงที่ขายในท้องตลาด สามารถนําไปใช้ได้จริ ง ํ
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ ฉบับนี้ สําเร็ จขึ้นได้โครงงานเรื่ องลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ที่ประดิษฐ์ข้ ึนมา ได้รับการสนับสนุนจากหลายๆฝ่ าย อาทิ ด้านงบประมาณจากโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม อําเภอราษี ไศล จังหวัดศรี สะเกษ โดยผูอานวยการ ้ํ นาย บัญชา ติละกูล คุณครู ที่ปรึ กษา นาย ณัฐพล บัวพันธ์ และคําแนะนําการทําลําโพงจากคณะครู โรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกท่าน เพื่อนๆพี่ๆ น้องๆโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกคนที่คอยอยูเ่ ป็ นเพื่อนและกําลังใจมาตลอด ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ญาติพี่นองทุกคนที่ให้โอกาสและช่วยเหลืออํานวยความ ้ สะดวกในทุกด้านจนกระทังสิ่ งประดิษฐ์ชิ้นนี้สาเร็ จได้ตามวัตถุประสงค์ ํ ่ ชื่อผูจดทํา ้ั นายวีระชาติ อินคําแหง
  • 4. สารบัญ หน้ า บทคัดย่ อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ จอคอมพิวเตอร์ 3 ลําโพง 5 บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีการดําเนินการ วัสดุ อุปกรณ์ 9 ขั้นตอนการดําเนินงาน 9 บทที่ 4 ผลการทดลองและปฏิบัติ ผลการดําเนินงาน 11 ประโยชน์ที่ได้รับ 11 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ อภิปรายผลของชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ สรุ ปผลการดําเนินงาน ปั ญหาที่พบ 12 12 แนวทางการแก้ไขปั ญหา 12
  • 6. บทที่ 1 บทนํา 1.1 แนวคิด ทีมา และความสํ าคัญ ่ เนื่องจากในปั จจุบนปริ มาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ทวโลกกําลังเพิมขึ้นอย่างรวดเร็ วในขณะนี้ ั ั่ ่ โดยในแต่ละปี จะมีมากถึง 20-50 ล้านตัน อาจเป็ นเรื่ องยากที่จะนึกภาพปริ มาณขยะที่มากมาย มหาศาลเช่นนี้ ให้ลองนึกภาพว่าถ้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ทั้งหมดถูกนําใส่ ตู้ คอนเทนเนอร์ บนขบวนรถไฟ จะกลายขบวนรถไฟที่ยาวเท่าหนึ่งรอบโลกของเรา! ในปัจจุบน ั ขยะอิเล็กทรอนิกส์คิดเป็ นร้อยละ 5 ของขยะแข็งในเขตเทศบาลทัวโลก เทียบเท่ากับปริ มาณ ่ ขยะวัสดุห่อหุ มที่เป็ นพลาสติกทั้งหมด แต่มีอนตรายมากกว่ามาก และไม่ใช่ประเทศพัฒนาแล้ว ้ ั เท่านั้นที่เป็ นต้นตอของขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ในเอเชียเองก็มีการทิ้งขยะแบบนี้ประมาณ 12 ล้านตันต่อปี ขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่งของขยะแข็งในเขตเทศบาลที่เพิ่ม จํานวน ขึ้นอย่างรวดเร็ วที่สุดในปั จจุบน เพราะผูบริ โภคเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ ั ้ อุปกรณ์เครื่ องเสี ยง และ พริ้ นเตอร์ บ่อยครั้งกว่าที่เคยเป็ นมา โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดปั ญหามากที่สุดเพราะมีการเปลี่ยน เครื่ องใหม่บ่อยที่สุด ในยุโรปขยะอิเล็กทรอนิกส์ ั เพิ่มจํานวนขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี ซึ่ งเพิ่มขึ้นรวดเร็ วกว่าขยะอย่างอื่นถึง 3 เท่า และคาดการณ์กน ว่าประเทศกําลังพัฒนาจะผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอีกถึง 3 เท่าภายใน 5 ปี ข้างหน้า ตัวอย่างเช่น ในโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม มีคอมพิวเตอร์ เก่าที่ใช้งานไม่ได้แล้วเป็ นจํานวนมาก และไม่มีที่เก็บ ก็ตองทิงไปโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรเลย พวกเราจึงได้ปรึ กษากันในกลุ่มว่า ้ ้ ั จะทําอย่างไรดีกบขยะเหล่านี้ เราจึงได้ทาลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ข้ ึนมา ํ 1.เพื่อต้องการ ศึกษาการทําลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษา คิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนําความรู ้มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและ ประเทศชาติ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เรานํามาใช้ทาลําโพงนั้น เป็ นรุ่ น CRT ซึ่ งในปั จจุบนไม่ ํ ั ค่อยมีคนนิยมใช้แล้ว เพราะว่ากินไฟมาก รายละเอียดภาพไม่ชด ทําให้เราสายตาเสี ยได้ ได้ ั ดังนั้นจึงเป็ นที่มาของโครงงานเรื่ องลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์
  • 7. 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อต้องการศึกษาการทําลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนําความรู ้มาประยุกต์ให้เกิด ประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศชาติ 1.3 ขอบเขตของโครงงาน ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้จะเกี่ยวกับลําโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งส่ วนใหญ่จะใช้ขยะ ํ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ คียบอร์ด เป็ นต้น ์ 1.4 ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ 1. ได้ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ํ ่ 2. นําวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยูมากมาประดิษฐ์เพื่อให้เกิดคุณค่าและเป็ นแบบอย่างได้ 3. เพื่อส่ งเสริ มกิจกรรมความคิดของเยาวชน 4. เพื่อประโยชน์แก่ผใช้และพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ในอนาคต ู้
  • 8. บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ จอภาพแบบซีอาร์ ที การแสดงผลบนจอภาพเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นสําหรับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวฒนาการ ํ ั ั ของการแสดงผลได้พฒนาก้าวหน้าขึ้น มาตรฐานการแสดงผลที่ใช้กบไมโครคอมพิวเตอร์ มีพ้ืนฐาน ั มาจากการพัฒนาของบริ ษทไอบีเอ็ม ในยุคต้นความต้องการของการแสดงผลส่ วนใหญ่ยงเป็ นแบบ ั ั ตัวอักษรโดยมีภาวะการทํางาน (mode) แยกจากการแสดง กราฟิ ก แต่ในปัจจุบนซอฟต์แวร์จานวน ั ํ มากสามารถแสดงผลในภาวะกราฟิ ก เช่น ระบบปฎิบติงานวินโดวส์ ต้องใช้ภาวะการแสดงผลใน ั รู ปกราฟิ กล้วน ๆ ผูใช้สามารถกําหนดขนาดช่องหน้าต่าง หรื อการแสดงผลได้ตามที่ตองการ ้ ้ จอภาพจึงเป็ นส่ วนสําคัญมากส่ วนหนึ่งสําหรับผูใช้งานในยุคปั จจุบน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524 ้ ั ั บริ ษทไอบีเอ็มได้พฒนาระบบการแสดงผลที่ใช้กบจอภาพสี เดียวที่เรี ยกว่าโมโนโครม หรื อ เอ็มดีเอ ั ั (Monochrome Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพาะภาวะตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวแต่ ให้ความละเอียดสู ง หากต้องการแสดงผลในภาวะกราฟิ กก็ตองเลือกภาวะการแสดงผลอีกแบบหนึ่ง ้ ที่เรี ยกว่า ซี จีเอ (Color Graphic Adapter : CGA) ที่สามารถแสดงสี และกราฟิ กได้แต่ความละเอียด น้อย เมื่อมีผผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยหอต่าง ๆ ที่มีระบบการทํางานแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ ของ ู้ ี่ ้ ไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกําหนดมาตรฐานการแสดงผลไว้ ต่อมาบริ ษทเฮอร์คิว ั ลีส ซึ่ งเห็นปั ญหาของระบบการแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรี ยกกันติดปาก ว่าแผงวงจรเฮอร์ คิวลิส (herculis card) หรื อ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บางครั้ง เรี ยกว่าโมโนโครกราฟิ กอะแดปเตอร์หรื อเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) การ
  • 9. ั ั แสดงผลแบบนี้เป็ นที่แพร่ หลายและนิยมใช้กนต่อเนื่องมาและมีผลิตขึ้นมาใช้กนมากมาย ต่อมา บริ ษทไอบีเอ็มเห็นว่าความต้องการทางด้านกราฟิ กสู งขึ้น การแสดงสี ควรจะมีรายละเอียดและ ั จํานวนสี มากขึ้น จึงได้พฒนามาตรฐานการแสดงผลบนจอภาพขึ้นอีกโดยปรับปรุ งจากเดิมเรี ยกว่า อี ั จีเอ (Enhance Graphic Adapter : EAG) การเพิ่มเติมจํานวนสี ยงไม่พอเพียงกับซอฟต์แวร์ ที่ได้รับ ั ั การพัฒนาให้ใช้กบระบบปฎิบติการวินโดวส์และโอเอสทูไอบีเอ็มจึงสร้างมาตรฐานการแสดงผลที่ ั มีความละเอียดและสี เพิ่มยิงขึ้นเรี ยกว่า เอ็กซ์วจีเอ (eXtra Video Graphic Array : XVGA) การเลือก ี ่ ซื้ อจอภาพจะตัองพิจารณาความสัมพันธ์ของจอภาพกับตัวปรับต่อซึ่ งเป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ ่ ติดตั้งอยูบนแผงวงจรหลัก (main board) และต่อสัญญาณมายังจอภาพ แผงวงจรนี้จะเป็ นตัว แสดงผลตามมาตรฐานที่ตองการ มีภาวะการแสดงผลหลายแบบ เช่น ้ ก. แผงวงจรโมโนโครมหรื อแผงวงจรเอ็มดีเอ เป็ นแผงวงจรที่ไม่ค่อยนิยมใช้แล้วแสดงผลได้ เฉพาะตัวอักษรจํานวน 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร ขนาดความละเอียดของตัวอักษรเป็ น 9x14 ชุด ข. แผงวงจรเฮอร์ คิวลิสหรื อแผงวงจรเอชจีเอ แสดงผลเป็ นตัวอักษรขนาด 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร เหมือนแผงวงจรเอ็มดีเอ แต่สามารถแสดงกราฟิ กแบบสี เดียวด้วยความละเอียด 720x348 จุด ค. แผงวงจรอีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วยความละเอียดของตัวอักษรขนาด 9x14 จุดแสดงสี ได้ 16 สี ความละเอียดของการแสดงกราฟิ ก 640x350 จุด ง. แผงวงจรวีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วย ความละเอียดของตัวอักษร 9x16 จุด แสดงสี ได้ 16 สี แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด 640x480 จุด และแสดงสี ได้สูงถึง 256 สี จ. แผงวงจรเอ็กซ์วจีเอ เป็ นแผงวงจรที่ปรับปรุ งจากแผงวงจรวีจีเอ แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด ี สู งขึ้นเป็ น 1,024x768 จุด และแสดงสี ได้มากกว่า 256 สี เมื่อได้ทราบว่าตัวปรับต่อมีกี่แบบแล้ว คราวนี้มาดูมาตรฐานตัวเชื่อมต่อ (connector) ของตัวปรับต่อ กับจอภาพบ้าง ตัวเชื่อมต่อมาตรฐานที่ใช้มีแบบ 9 ขา ตัวเชื่อมต่อสําหรับแผงวงจรแบบ วีจีเอ และ เอสวีจีเอ เป็ นแบบ 15 ขา การที่หวต่อไม่เหมือนกันจึงทําให้ใช้จอภาพพร่ วมกันไม่ได้ ั นอกจากตัวเชื่อมต่อและตัวปรับต่อแล้ว คุณภาพของจอภาพก็จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างมาก สัญญาณที่ส่งมายังจอภาพมีรูปแบบไม่เหมือนกัน สัญญาณของแผงวงจรแบบวีจีเอเป็ นแบบแอ
  • 10. นะล็อก สัญญาณของแผงวงจรแบบ เอ็มดีเอ ซีจีเอ เอชจีเอ อีจีเอ เป็ นแบบดิจิทล ข้อพิจารณาที่จะ ั ตรวจสอบด้วยตาเปล่าได้ คือ การแสดงผลจะต้องเป็ นจุดเล็กละเอียดคมชัด ไม่เป็ นภาพพร่ าหรื อ เสมือนปรับโฟกัสไม่ชดเจน ภาพที่ได้จะต้องมีลกษณะของการกราดตามแนวตั้งคงที่ สังเกตได้จาก ั ั ขนาดตัวหนังสื อแถวบน กับแถวกลางหรื อแถวล่างต้องมีขนาดเท่ากันและคมชัดเหมือนกัน ภาพที่ ปรากฎจะต้องไม่กระพริ บถึงแม้จะปรับความเข้มของแสงเต็มี่ ภาพไม่สั่งไหวหรื อพลิ้ว การแสดง ของสี ตองไม่เพี้ยนจากสี ที่ควรจะเป็ น ้ พิจารณารายละเอียดทางเทคนิคของจอภาพ เช่น ขนาดของจอภาพซึ่ งจะวัดตามแนวเส้นทะแยงมุม ของจอ ว่าเป็ นขนาดกี่นิ้ว โดยทัวไปจะมีขนาด 14 นิ้ว จอภาพที่แสดงผลงานกราฟิ กบางแบบอาจ ่ ต้องใช้ขนาดใหญ่ถึง 20 นิ้ว ความละเอียดของจุดซึ่ งสามารถสังเกตได้จากสัญญาณแถบความถี่ของ จอภาพ จอภาพแบบวีจีเอควรมีสัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 25 เมกะเฮิรตซ์ สัญญาณแถบความถี่ยง ิ่ สู งยิงดี จอภาพแบบเอ็กซ์วจีเอแสดงผลแบบมัลติซิงค์ (multisync) ใช้สัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 60 ี ่ เมกะเฮิรตซ์ ขนาดของจุดยิงเล็กยิงมีความคมชัด เช่น ขนาดจุด .28 มิลลิเมตร ภาพที่ได้จะคมชัดกว่า ่ ่ ขนาดจุด .33 มิลลิเมตร ค่าของสัญญาณแถบความถี่จึงเป็ นข้อที่จะต้องพิจารณาด้วย ลําโพง การทํางานของลําโพง ในการใช้งานไม่ใช่ระบบเสี ยงไฮฟายคําว่า “ลําโพง” โดยปกติจะหมายถึงว่าเป็ นอุปกรณ์ ชิ้นหนึ่งซึ่ งทําให้เกิดเสี ยงขึ้นมา เป็ นอุปกรณ์ตวเดียวในระบบไฮฟายที่มองเห็นรู ปร่ างของมันได้ ั
  • 11. ชัดเจน แต่ในระบบไฮฟายลําโพงของระบบไฮฟายมักจะมีหน่วยไดรฟ์ 2 หน่วย หรื อมากกว่าเป็ น ่ หน่วยไดรฟ์ มีขนาดและชนิดแตกต่างกันซึ่งจะมักเรี ยกว่าระบบลําโพง แต่หน่วยไดรฟ์ ทั้งหมดไม่วา จะเป็ นของระบบไฮฟายหรื อไม่ก็ตามีหลักการทํางานอย่างเดียวกันหมด คือ ใช้หลักการใช้ขดลวดเค ลื่นที่หรื อเรี ยกเป็ นภาษาเทคนิคว่าใช้มูฟวิงคอยล์ (Moving Coil) ในการทําให้อากาศสันตัว ่ ่ เพื่อให้เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงนั้น ตัวกรวยของลําโพงจะต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและข้างหลังได้อย่าง ่ อิสระ ด้วยเหตุน้ ีจึงต้องตั้งกรวยของลําโพงไว้ในบริ เวณสภาพแวดล้อมที่มีความยืดหยุนสู ง ตรง ปลายกรวยของลําโพงมีรูปทรงกลมขนาดเล็กติดอยูเ่ รี ยกว่า “วอยซ์คอยล์” (Voice Coil) ปลายทั้ง สองข้างของวอยซ์คอยล์ต่อเข้ากับอินพุทของระบบลําโพง รอบ ๆ คอยล์มีแม่เหล็กถาวรตั้งอยู่ ่ ล้อมรอบ การจัดไว้เช่นนั้นจนเมื่อทําการทดสอบกรวยวอยซ์คอยล์แล้ว วอยซ์คอยล์จะวางตัวอยูใน บริ เวณสนามแม่เหล็กซึ่ งมีความเข้มมาก ถ้าหากมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านคอยล์มนจะเคลื่อนตัวไป ั ข้างหน้าหรื อข้างหลังในช่วงระหว่างขั้วแม่เหล็ก สัญญาณออดิโอซึ่ งประกอบด้วยกระแสสลับหรื อ กระแสเปลี่ยนทิศทางด้วยความถี่ตรงกับเสี ยงดนตรี ดงนั้นจึงทําให้กรวยของลําโพงเคลื่อนที่ ซึ่ งเป็ น ั การทําให้เกิดคลื่นเสี ยง หน่วยไดรฟ์ ของลําโพง ความจริ งมีรูปแบบเช่นเดียวกับมอเตอร์ ไฟฟ้ าแบบ ง่ายๆ เท่านั้นเองหน่วยไดรฟ์ ขนาดเล็กและมีราคาถูกๆ สามารถสร้างขึ้นมาให้เสี ยงได้ดี ให้เสี ยงฟัง ได้ยนอย่างชัดเจน ให้เสี ยงแบคกราวด์าของเสี ยงดนตรี ในเครื่ องรับโทรทัศน์หรื อเสี ยงดนตรี ใน ิ รถยนต์ แต่เมื่อนําหน่วยไดรฟ์ เช่นนี้มาใช้ทาให้เกิดเสี ยงดนตรี ที่มีความเพี้ยนน้อยที่สุดก็จาเป็ นต้องมี ํ ํ บางสิ่ งบางอย่างที่มีความละเอียดลออมากยิงขึ้น ทั้งนี้ก็เพราะหน่วยไดรฟ์ หน่วยเล็กๆ จะไม่มีการ ่ ่ ตอบสนองต่อความถี่ต่าสุ ดและความถี่สูงสุ ดอย่างที่มีอยูในเสี ยงดนตรี แต่เมื่อมองดูตลอดย่าน ํ ความถี่เสี ยงจริ งๆ จะพบว่าเสี ยงตํ่าสุ ดที่เกิดจากเสี ยงเบสกีตาร์ เป็ นเสี ยงตํ่ากว่า 50 Hz ใน ขณะเดียวกันเสี ยงสู งสุ ดของเปี ยโนเป็ นความถี่ประมาณ 4 kHz ที่เหนือความถี่น้ ีไปเป็ นความถี่ฮาร์ โมนิค ซึ่ งทําให้เครื่ องดนตรี ชิ้นต่างๆ ให้เสี ยงแตกต่างกันไป ดังนั้นส่ วนสําคัญของย่านความถี่จึงอยู่ ่ ระหว่าง 40 Hz ถึง 15 kHz ทั้งนี้ก็เพราะเสี ยงที่บนทึกได้ส่วนมากจะมียานความถี่ในย่านนี้ การส่ ง ั ่ กระจายเสี ยงโดยวิทยุ FM ก็เช่นกัน จะให้ยานการตอบสนองความถี่สูงสุ ดประมาณ 15 kHz ทั้งนี้ก็ เพราะระบบเสี ยงที่ใช้ในขณะที่เครื่ องเล่นเทปคานเซทเด็ค (Cassett Deck) โดยทัวๆ ไปมักจะไม่ให้ ่ การตอบสนองเรี ยบสู งเกินไปกว่านี้ แต่ระบบบันทึกเสี ยงดิจิตอลสามารถให้การตอบสนองสู งถึง 20 kHz และตํ่าลงมาถึง 20 Hz แต่ที่ความถี่ต่าๆ เช่นนั้นเอาท์พุทจากลําโพงจะได้รับผลกระทบเพราะ ํ แฟคเตอร์ อื่นๆ อีก อย่าง เช่น เรื่ องขนาดของห้องฟังเป็ นต้น เสี ยงของลําโพงออกมาได้ อย่ างไร ?
  • 12. ส่ วนสําคัญที่สุดของเครื่ องเล่นเหล่านี้ก็คือลําโพง โดยหน้าที่สาคัญสุ ดของลําโพงคือ เปลี่ยน ํ สัญญาณทางไฟฟ้ าที่ได้มาจากเครื่ องขยายเป็ นสัญญาณเสี ยง ลําโพงที่ดีจะต้องสร้างเสี ยงให้ เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด ่ ั่ ลําโพงที่เห็นขายกันอยูทวๆไป ภายในประกอบด้วย -กรวยหรื อไดอะแฟรม ทําด้วยกระดาษแข็งหรื อแผ่นพลาสติก หรื อจะทําด้วยแผ่นโลหะบางๆ ก็ ได้ ่ ่ ั -ขอบยึด (suspension หรื อ surround ) เป็ นขอบของไดอะแฟรม มีความยืดหยุน ติดอยูกบ เฟรม สามารถเคลื่อนที่ข้ ึนและลงได้ในระดับหนึ่ง -เฟรมหรื อบางทีเรี ยกว่า บาสเก็ต (basket) ่ ั -ยอดของกรวยติดอยูกบคอยส์เสี ยง( Voice coil ) ่ ั -คอยส์เสี ยงจะยึดอยูกบ สไปเดอร์ (Spider) มีลกษณะเป็ นแผ่นวงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะ ั ่ ยึดคอยส์เสี ยงให้อยูในตําแหน่งเดิม และทําหน้าที่ เหมือนกับสปริ ง โดยจะสั่นสะเทือน เมื่อมี สัญญาณไฟฟ้ าเข้ามา การทํางานของคอยส์เสี ยงใช้หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยได้จากกฎของแอมแปร์ เมื่อมี กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเข้าไปในขดลวดหรื อคอยส์ ภายในคอยส์จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่ งจะ เหนี่ยวนําให้แท่งเหล็กที่สอดอยูเ่ ป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า ปกติแม่เหล็กจะมีข้ วเหนือและขั้วใต้ ถ้านํา ั ่ แม่เหล็กสองแท่งมาอยูใกล้ๆกัน โดยนําขั้วเดียวกันมาชิดกันมันจะผลักกัน แต่ถาต่างขั้วกันมันจะ ้ ดูดกัน ด้วยหลักการพื้นฐานนี้ จึงติดแม่เหล็กถาวรล้อมคอยส์เสี ยงและแท่งเหล็กไว้ เมื่อมีสัญญาณ ั ทางไฟฟ้ าหรื อสัญญาณเสี ยงที่เป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนสัญญาณให้กบคอยส์เสี ยง ขั้วแม่เหล็ก ภายในคอยส์เสี ยงจะเปลี่ยนทิศทางตามสัญญาณสลับที่เข้ามา ทําให้คอยส์เสี ยงขยับขึ้นและลง ซึ่ ง จะทําให้ใบลําโพงขยับเคลื่อนที่ข้ ึนและลงด้วย ไปกระแทกกับอากาศ เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงขึ้น ถ้าเป็ น เครื่ องเสี ยงระบบโมโน ลําโพงจะมีอนเดียว แต่สาหรับเครื่ องเสี ยงที่เป็ นระบบเสตอริ โอ ลําโพงจะมี ั ํ ่ ั 2 ข้าง คือข้างซ้าย และข้างขวา ใบลําโพงทําด้วยกรวยกระดาษ ติดอยูกบคอยส์เสี ยง เมื่อคอยส์ เสี ยงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับ มันจะทําให้ใบลําโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลําโพง ่ จะติดอยูบนสไปเดอร์ ที่ทาหน้าที่เหมือนสปริ ง คอยดึงใบลําโพงที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่ ํ ตําแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณไฟฟ้ าป้ อนเข้าลําโพง ถ้ามีสญ ํ ญาณไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนเข้าไปในคอยส์เสี ยง ทิศทางของกระแสไฟฟ้ าจะกลับทิศทางอยู่
  • 13. ตลอดเวลา (สังเกตที่เครื่ องหมาย + และ - จะเห็นว่ากลับทิศทางตลอดเวลาด้วย) และทําให้แผ่น ลําโพงสันเคลื่อนที่ข้ ึนและลง อัดอากาศด้านหน้าเกิดคลื่นเสี ยงขึ้น สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่ ่ ั ใส่ ให้กบลําโพง จะแปรตามความถี่และแอมพลิจูด ซึ่งเป็ นสัญญาณเดียวกันกับสัญญาณไฟฟ้ า ่ กระแสสลับที่ได้จากไมโครโฟน แต่วาสัญญาณที่ได้ในครั้งแรก ยังอ่อนมากจึงต้องผ่านเครื่ อง ่ ั ขยายก่อน จึงจะป้ อนเข้าลําโพงได้ ใบลําโพงจะสั่นเร็ วหรื อช้าขี้นอยูกบความถี่ และเสี ยงจะดังหรื อ ่ ั ่ ค่อยขึ้นอยูกบแอมพลิจูดของสัญญาณไฟฟ้ า ขนาดของลําโพงมีความสําคัญมาก ไม่ใช่วาลําโพงตัว เดียวสามารถจะให้ความถี่ได้ออกมาทุกๆความถี่ ถ้าต้องการให้เหมือนกับเสี ยงธรรมชาติมาก ที่สุด ลําโพงจะต้องมีหลายขนาด เราจะแบ่งลําโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ -วูฟเฟอร์ (Woofers) -ทวีทเตอร์ (Tweeters) -มิดเรนส์ (Midrange) ลําโพงประเภทต่ างๆ วูฟเฟอร์ เป็ นลําโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่ต่า ํ ทวีสเตอร์ เป็ นลําโพงที่มีขนาดเล็กสุ ด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่สูง ลําโพงทวีทเตอร์ เป็ นลําโพงที่มีความถี่สูง แผ่นลําโพงมีขนาดเล็กและค่อนข้างแข็ง จึง สามารถสั่นด้วยความเร็ วที่สูง ส่ วนลําโพงแบบวูฟเฟอร์ แผ่นลําโพงจะมีขนาดใหญ่ และค่อนข้าง นิ่ม จึงสั่นด้วยความเร็ วตํ่า เพราะมีมวลมาก อย่างไรก็ตามเสี ยงทัวไป มีความถี่กว้าง คือ มีความถี่ ่ จากสู งถึงตํ่า ซึ่ งเราจะเรี ยกว่า มีความถี่ช่วงกว้าง ถ้าเรามีแต่ลาโพงทวีทเตอร์ และวูฟเฟอร์ เราจะได้ ํ ่ เสี ยงอยูในย่านความถี่สูงกับตํ่าเท่านั้น ความถี่ในช่วงกลางจะหายไป เพื่อจะให้คุณภาพของเสี ยง ออกมาทุกช่วงความถี่ จึงจําเป็ นจะต้องมีลาโพงมิดเรนส์ดวย ภายในตูลาโพงตูหนึ่ง จึงมักจะเห็น ํ ้ ้ ํ ้ ลําโพงทั้งสามชนิดประกอบเข้าด้วยกัน สําหรับลําโพงแบบทวีทเตอร์ เครื่ องขยายเสี ยงจะส่ ง ความถี่สูงให้ ลําโพงวูฟเฟอร์ จะส่ งความถี่ต่า ส่ วนความถี่ในช่วงที่เหลือเป็ นของลําโพงแบบมิด ํ เรนส์ ถ้าลองถอดฝาตูดานหลังออก เราจะได้เห็น อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งเรี ยกว่า ครอสโอเวอร์ (Cross ้้ over) อุปกรณ์ตวนี้เป็ นตัวแยกสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับให้ออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนความถี่ ั สู ง ความถี่ต่า และความถี่ขนาดกลาง ครอสโอเวอร์แยกออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบ ํ พาสซีพ (Passive) และ แบบแอคทีฟ (active) ครอสโอเวอร์แบบแอคทีฟ ไม่ตองมี ้
  • 14. แหล่งจ่ายไฟ แต่ใช้พลังงานจากสํญญาณเสี ยงแทน หลักการพื้นฐานของครอสโอเวอร์น้ น ั ประกอบขึ้นด้วย ตัวต้ านทาน ตัวเหนี่ยวนํา และ ตัวเก็บประจุ ต่อขึ้นเป็ นวงจรไฟฟ้ า ทั้งตัวเก็บ ประจุและตัวเหนี่ยวนําจะเป็ นตัวนําที่ดีภายใต้เงื่อนไขบางประการ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุจะ ํ ํ ยอมให้ความถี่สูงที่เกินกว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ แต่ถาเป็ นความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดมันจะไม่ยอม ้ ํ ่ ให้ผานไป ส่ วนตัวเหนี่ยวนําจะทําหน้าที่แตกต่างกัน คือจะเป็ นตัวนําที่ดีเมื่อความถี่ต่า คือมันจะ ํ ํ ํ ยอมให้ความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ และจะไม่ยอมให้ความถี่สูงกว่าค่าที่กาหนดผ่าน ํ ่ ไป สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่ผานการขยายมาแล้ว จะถูกส่ งผ่านไปยังครอสโอเวอร์ แบบพาส ซี ฟ โดยเราจะต่อตัวเก็บประจุไว้ก่อนที่จะเข้าทวีทเตอร์ เพราะจะยอมให้แต่ความถี่สูงผ่านไปได้ ่ ั เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนําจะต่อไว้ก่อนจะเข้าวูฟเฟอร์ ส่ วนลําโพงมิดเรนส์ จะต่ออยูกบ ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนํา โดยต่อเป็ นวงจรไฟฟ้ า เรี ยกว่า วงจร L-C และเลือกค่าให้เหมาะสม เพื่อให้ความถี่ ในช่วงกลางสามารถผ่านไปได้ ครอสโอเวอร์ แบบแอคทีฟ เป็ นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ่ เหมือนกับครอสโอเวอร์ แบบพาสซี ฟ แต่วาออกแบบซับซ้อนกว่า จึงต้องมีแหล่งจ่ายไฟป้ อน พลังงานให้ ครอสโอเวอร์ แบบนี้จะแยกความถี่ออกก่อนที่จะเข้าเครื่ องขยายเสี ยง ดังนั้นจึงต้องมี เครื่ องขยาย 3 อัน แต่ละอันขยายความถี่ในช่วงที่แตกต่างกัน จึงเป็ นข้อเสี ยที่สาคัญประการ ํ หนึ่ง แต่มีขอดีมากเมื่อเทียบกับแบบพาสซี ฟ และเป็ นสิ่ งที่เครื่ องเสี ยงราคาเป็ นแสนขาดเสี ยไม่ได้ ้ ั คือ คุณสามารถปรับแต่งความถี่ทุกๆช่วงได้ อย่างไรก็ตามมันมีราคาค่อนข้างแพงจึงใช้กบเครื่ อง เสี ยงราคาสู งเสี ยมากกว่า
  • 15. บทที่ 3 วิธีดําเนินงานโครงงาน ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่ องลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ นี้ ผูจดทําโครงงานมี ้ั วิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ํ 1. 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือทีใช้ ในการพัฒนา ่ ไม้อดแบบหนา 20 mm. ั 2. ทวิสเตอร์ 2 ตัว 150 วัตต์ 3. ดอกลําโพง 2 ตัว 200 – 250 วัตต์ 4. ซีทอง2 ตัว 5. เครื่ องขยาย 1 เครื่ อง 6. ผ้ามองกลู 1 เมตร 7. หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาด 17 นิ้ว 2 จอ 8. น็อต 9. โฟมแข็ง 10. สายไฟขนาด 1 เมตร 3.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน - ศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่จะทํา - ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์และเตรี ยมแก้ปัญหา - คิดค้นวิธีดาเนินงานสร่ างสิ่ งประดิษฐ์เพื่อช่วยในการแก้ไขปั ญหาและความเป็ นไปของชิ้นงาน ํ -ออกแบบสิ่ งประดิษฐ์ -เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
  • 16. บทที่ 4 ผลการดําเนินงานโครงงาน การทําลําโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ในครั้งนี้ ลําโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ ํ ลําโพงที่ขายในท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่าลําโพงที่ขายในท้องตลาด ํ
  • 17. บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน และข้ อเสนอแนะ จากการศึกษาเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของลําโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ กับลําโพงที่ ํ ขายตามท้องตลาด พบว่า มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากัน แต่ลาโพงที่เราทําจากจอคอมพิวเตอร์ มีน้ าหนักเบา ํ ํ กว่าสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย ปัญหาทีพบ ่ -สมาชิกมีเวลาว่างไม่ตรงกันการรวมกลุ่มจึงไม่พร้อมเพรี ยงเท่าที่ควร -ไม่มีประสบการณ์ในเรื่ องไฟฟ้ าเท่าที่ควร แนวทางการแก้ ไขปัญหา ั -แบ่งงานและหน้าที่กนตามที่เห็นสมควรของสมาชิกในกลุ่มทุกคน -ปรึ กษาผูที่รู้และเชี่ยวชาญ ้