SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
โครงงานคอมพิว เตอร์
เรื่อง ลำา โพงจากจอคอมพิว เตอร์
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี

จัด ทำา โดย
นายวีร ะชาติ อิน คำา แหง เลขที่ 9
ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 5/1

รายวิช าโครงงานคอมพิว เตอร์ (ง 32102)
ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2556
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี
(คอมพิว เตอร์)
โรงเรีย นส้ม ป่อ ยพิท ยาคม ตำา บลส้ม ป่อ ย อำา เภอราษีไ ศล
จัง หวัด ศรีส ะเกษ
สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษามัธ ยมศึก ษา เขต 28
หัว ข้อ โครงงาน
: เรื่อง ลำา โพงจากจอคอมพิว เตอร์
ประเภทของโครงงาน
: โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ผู้เ สนอโครงงาน
: นายวีระชาติ อินคำาแหง ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 9
ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน
: คุณครูณัฐพล บัวพันธ์ ตำาแหน่ง
.................................
ปีก ารศึก ษา
: 2556
บทคัดย่อ
การทำาโครงงานจากขยะอิเล็กทรอนิก ด้วยความห่วงใยและ
ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เรื่อง ลำาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ที่เสียแล้ว มี
วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ต้องการศึกษาการทำาลำาโพงจาก
คอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการ
ศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผู้เรียนและนำาความรู้มาประยุกต์
ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม หลักการทำางานของ
ลำาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ที่เสียแล้วมาประยุกต์ใช้ให้เป็นลำาโพง
หรือเป็นมอนิเตอร์หน้าเวทีการแสดงขนาดย่อมได้ จากผลการ
ดำาเนินการ พบว่า ลำาโพงที่ทำาขึ้นมามีประสิทธิภาพเท่ากับลำาโพง
ที่ขายในท้องตลาด และมีนำ้าหนักเบากว่าลำาโพงที่ขายในท้อง
ตลาด สามารถนำาไปใช้ได้จริง

กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับนี้ สำาเร็จขึ้นได้โครงงานเรื่องลำาโพง
จากจอคอมพิวเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมา ได้รับการสนับสนุนจาก
หลายๆฝ่าย อาทิ ด้านงบประมาณจากโรงเรียนส้มป่อยพิทยาคม
อำาเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ โดยผู้อำานวยการ
นายบัญชา ติละกูล คุณครูที่ปรึกษา นายณัฐพล บัวพันธ์ และ
คำาแนะนำาการทำาลำาโพงจากคณะครูโรงเรียนส้มป่อยพิทยาคมทุก
ท่าน เพื่อนๆพี่ๆน้องๆโรงเรียนส้มป่อยพิทยาคมทุกคนที่คอยอยู่เป็น
เพื่อนและกำาลังใจมาตลอด
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ญาติพี่น้องทุกคนที่ให้
โอกาสและช่วยเหลืออำานวยความสะดวกในทุกด้านจนกระทั่งสิ่ง
ประดิษฐ์ชิ้นนี้สำาเร็จได้ตามวัตถุประสงค์

ยวีระชาติ อินคำาแหง

สารบัญ

ชื่อผู้จัดทำา
นา
หน้า
บทคัด ย่อ
ก
กิต ติก รรมประกาศ
ข
สารบัญ
ค
บทที่ 1 บทนำา
ที่มาและความสำาคัญ
1 วัตถุประสงค์
1 ขอบเขตการศึกษา
2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2
บทที่ 2 เอกสารที่เ กี่ย วข้อ ง
จอคอมพิวเตอร์
3 ลำาโพง
5
บทที่ 3 อุป กรณ์ วิธ ีก ารดำา เนิน การ
วัสดุ อุปกรณ์
9 ขั้นตอนการดำาเนินงาน
9
บทที่ 4 ผลการทดลองและปฏิบ ต ิ
ั
ผลการดำาเนินงาน
11 ประโยชน์ที่ได้รับ
11
บทที่ 5 สรุป ผลการทดลอง และ อภิป รายผลของชิ้น งานสิ่ง
ประดิษ ฐ์
สรุปผลการดำาเนินงาน
12
ปั
ญ
ห
า
ที่
พ
12

บ

แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
12
เอกสารอ้างอิง
13
บทที่ 1
บทนำำ
1.1 แนวคิด ที่ม ำ และควำมสำำ คัญ
เนื่องจำกในปัจจุบันปริมำณขยะอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกกำำลัง
เพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็วในขณะนี้ โดยในแต่ละปีจะมีมำกถึง 2050 ล้ำนตัน อำจเป็นเรื่องยำกที่จะนึกภำพปริมำณขยะที่
มำกมำยมหำศำลเช่นนี้ ให้ลองนึกภำพว่ำถ้ำขยะอิเล็กทรอนิกส์
ที่เกิดขึ้นในแต่ละปีทั้งหมดถูกนำำใส่ ตู้คอนเทนเนอร์บนขบวน
รถไฟ จะกลำยขบวนรถไฟที่ยำวเท่ำหนึ่งรอบโลกของเรำ! ใน
ปัจจุบัน ขยะอิเล็กทรอนิกส์คิดเป็นร้อยละ 5 ของขยะแข็งใน
เขตเทศบำลทั่วโลก เทียบเท่ำกับปริมำณขยะวัสดุห่อหุ้มที่เป็น
พลำสติกทั้งหมด แต่มีอันตรำยมำกกว่ำมำก และไม่ใช่ประเทศ
พัฒนำแล้วเท่ำนั้นที่เป็นต้นตอของขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่ำนี้ ใน
เอเชียเองก็มีกำรทิ้งขยะแบบนี้ประมำณ 12 ล้ำนตันต่อปี ขยะ
อิเล็กทรอนิกส์ได้กลำยเป็นส่วนหนึ่งของขยะแข็งในเขต
เทศบำลที่เพิ่ม จำำนวนขึ้นอย่ำงรวดเร็วที่สุดในปัจจุบัน เพรำะผู้
บริโภคเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ อุปกรณ์
เครื่องเสียง และ พริ้นเตอร์บ่อยครั้งกว่ำที่เคยเป็นมำ โทรศัพท์
มือถือและคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดปัญหำมำกที่สุดเพรำะมีกำร
เปลี่ยน เครื่องใหม่บ่อยที่สุด ในยุโรปขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่ม
จำำนวนขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้นรวดเร็วกว่ำขยะอย่ำงอื่น
ถึง 3 เท่ำ และคำดกำรณ์กันว่ำประเทศกำำลังพัฒนำจะผลิตขยะ
อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอีกถึง 3 เท่ำภำยใน 5 ปีข้ำงหน้ำ
ตัวอย่ำงเช่น ในโรงเรียนส้มป่อยพิทยำคม มีคอมพิวเตอร์เก่ำที่
ใช้งำนไม่ได้แล้วเป็นจำำนวนมำก และไม่มีที่เก็บ ก็ตองทิ้งไป
้
โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรเลย พวกเรำจึงได้ปรึกษำกันใน
กลุ่มว่ำจะทำำอย่ำงไรดีกับขยะเหล่ำนี้ เรำจึงได้ทำำลำำโพงจำก
จอคอมพิวเตอร์ขึ้นมำ 1.เพื่อต้องกำรศึกษำกำรทำำลำำโพงจำก
จอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อ
ต้องกำรศึกษำคิดค้น พัฒนำควำมคิดของผู้เรียนและนำำควำมรู้
มำประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศชำติ และ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรำนำำมำใช้ทำำลำำโพงนั้น เป็นรุ่น CRT
ซึ่งในปัจจุบันไม่ค่อยมีคนนิยมใช้แล้ว เพรำะว่ำกินไฟมำก รำย
ละเอียดภำพไม่ชัด ทำำให้เรำสำยตำเสียได้ ได้ดังนั้นจึงเป็น
ที่มำของโครงงำนเรื่องลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์

1.2 วัต ถุป ระสงค์
1. เพื่อต้องกำรศึกษำกำรทำำลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์
2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์
3. เพื่อต้องกำรศึกษำคิดค้น พัฒนำควำมคิดของผู้เรียนและนำำ
ควำมรู้มำประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศ
ชำติ
1.3 ขอบเขตของโครงงำน
ในกำรศึกษำค้นคว้ำครั้งนี้จะเกี่ยวกับลำำโพงที่ทำำจำกจอ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่น
คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด เป็นต้น
1.4 ผลที่ค ำดว่ำ จะได้ร ับ
1. ได้ลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์
2. นำำวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่มำกมำประดิษฐ์เพื่อให้เกิด
คุณค่ำและเป็นแบบอย่ำงได้
3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมควำมคิดของเยำวชน
4. เพื่อประโยชน์แก่ผู้ใช้และพัฒนำต่อยอดให้เกิดประโยชน์ใน
อนำคต

บทที่ 2
เอกสำรที่เ กี่ย วข้อ ง
จอภำพแบบซีอ ำร์ท ี

กำรแสดงผลบนจอภำพเป็นเรื่องที่จำำเป็นสำำหรับกำรใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวัฒนำกำรของกำรแสดงผลได้
พัฒนำก้ำวหน้ำขึ้น มำตรฐำนกำรแสดงผลที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มีพื้นฐำนมำจำกกำรพัฒนำของบริษัทไอบีเอ็ม
ในยุคต้นควำมต้องกำรของกำรแสดงผลส่วนใหญ่ยังเป็นแบบตัวอักษรโดยมีภำวะกำรทำำงำน (mode) แยกจำกกำร
แสดง กรำฟิก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์จำำนวนมำกสำมำรถแสดงผลในภำวะกรำฟิก เช่น ระบบปฎิบัติงำนวินโดวส์
ต้องใช้ภำวะกำรแสดงผลในรูปกรำฟิกล้วน ๆ ผูใช้สำมำรถกำำหนดขนำดช่องหน้ำต่ำง หรือกำรแสดงผลได้ตำมที่
้
ต้องกำร จอภำพจึงเป็นส่วนสำำคัญมำกส่วนหนึ่งสำำหรับผู้ใช้งำนในยุคปัจจุบัน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524 บริษัท
ไอบีเอ็มได้พัฒนำระบบกำรแสดงผลที่ใช้กับจอภำพสีเดียวที่เรียกว่ำโมโนโครม หรือ เอ็มดีเอ (Monochrome
Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพำะภำวะตัวอักษรแต่เพียงอย่ำงเดียวแต่ให้ควำมละเอียดสูง หำก
ต้องกำรแสดงผลในภำวะกรำฟิกก็ต้องเลือกภำวะกำรแสดงผลอีกแบบหนึ่งที่เรียกว่ำ ซีจีเอ (Color Graphic
Adapter : CGA) ที่สำมำรถแสดงสีและกรำฟิกได้แต่ควำมละเอียดน้อย เมื่อมีผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อต่ำง ๆ ที่
มีระบบกำรทำำงำนแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกำำหนดมำตรฐำนกำร
แสดงผลไว้ ต่อมำบริษัทเฮอร์คิวลีส ซึ่งเห็นปัญหำของระบบกำรแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรียก
กันติดปำกว่ำแผงวงจรเฮอร์คิวลิส (herculis card) หรือ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บำงครั้ง
เรียกว่ำโมโนโครกรำฟิกอะแดปเตอร์หรือเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) กำรแสดงผลแบบนี้
เป็นที่แพร่หลำยและนิยมใช้กนต่อเนื่องมำและมีผลิตขึ้นมำใช้กันมำกมำย ต่อมำบริษัทไอบีเอ็มเห็นว่ำควำมต้องกำร
ั
ทำงด้ำนกรำฟิกสูงขึ้น กำรแสดงสีควรจะมีรำยละเอียดและจำำนวนสีมำกขึ้น จึงได้พัฒนำมำตรฐำนกำรแสดงผลบน
จอภำพขึ้นอีกโดยปรับปรุงจำกเดิมเรียกว่ำ อีจีเอ (Enhance Graphic Adapter : EAG) กำรเพิ่มเติมจำำนวนสียังไม่
พอเพียงกับซอฟต์แวร์ที่ได้รับกำรพัฒนำให้ใช้กับระบบปฎิบัติกำรวินโดวส์และโอเอสทูไอบีเอ็มจึงสร้ำงมำตรฐำนกำร
แสดงผลที่มีควำมละเอียดและสีเพิ่มยิ่งขึ้นเรียกว่ำ เอ็กซ์วีจีเอ (eXtra Video Graphic Array : XVGA) กำรเลือกซื้อ
จอภำพจะตัองพิจำรณำควำมสัมพันธ์ของจอภำพกับตัวปรับต่อซึ่งเป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ติดตั้งอยู่บนแผงวงจร
หลัก (main board) และต่อสัญญำณมำยังจอภำพ แผงวงจรนี้จะเป็นตัวแสดงผลตำมมำตรฐำนที่ต้องกำร มีภำวะกำร
แสดงผลหลำยแบบ เช่น
ก. แผงวงจรโมโนโครมหรือแผงวงจรเอ็มดีเอ เป็นแผงวงจรที่ไม่ค่อยนิยมใช้แล้วแสดงผลได้เฉพำะตัวอักษรจำำนวน
25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร ขนำดควำมละเอียดของตัวอักษรเป็น 9x14 ชุด
ข. แผงวงจรเฮอร์คิวลิสหรือแผงวงจรเอชจีเอ แสดงผลเป็นตัวอักษรขนำด 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร เหมือน
แผงวงจรเอ็มดีเอ แต่สำมำรถแสดงกรำฟิกแบบสีเดียวด้วยควำมละเอียด 720x348 จุด
ค. แผงวงจรอีจีเอ เป็นแผงวงจรที่แสดงด้วยควำมละเอียดของตัวอักษรขนำด 9x14 จุดแสดงสีได้ 16 สี ควำม
ละเอียดของกำรแสดงกรำฟิก 640x350 จุด
ง. แผงวงจรวีจีเอ เป็นแผงวงจรที่แสดงด้วย ควำมละเอียดของตัวอักษร 9x16 จุด แสดงสีได้ 16 สี แสดงกรำฟิกด้วย
ควำมละเอียด 640x480 จุด และแสดงสีได้สูงถึง 256 สี
จ. แผงวงจรเอ็กซ์วีจีเอ เป็นแผงวงจรที่ปรับปรุงจำกแผงวงจรวีจีเอ แสดงกรำฟิกด้วยควำมละเอียดสูงขึ้นเป็น
1,024x768 จุด และแสดงสีได้มำกกว่ำ 256 สี
เมื่อได้ทรำบว่ำตัวปรับต่อมีกี่แบบแล้ว ครำวนี้มำดูมำตรฐำนตัวเชื่อมต่อ (connector) ของตัวปรับต่อกับจอภำพบ้ำง
ตัวเชื่อมต่อมำตรฐำนที่ใช้มีแบบ 9 ขำ ตัวเชื่อมต่อสำำหรับแผงวงจรแบบ วีจีเอ และ เอสวีจีเอ เป็นแบบ 15 ขำ กำรที่
หัวต่อไม่เหมือนกันจึงทำำให้ใช้จอภำพพร่วมกันไม่ได้
นอกจำกตัวเชื่อมต่อและตัวปรับต่อแล้ว คุณภำพของจอภำพก็จะต้องได้รับกำรพิจำรณำอย่ำงมำก สัญญำณที่ส่งมำยัง
จอภำพมีรูปแบบไม่เหมือนกัน สัญญำณของแผงวงจรแบบวีจีเอเป็นแบบแอนะล็อก สัญญำณของแผงวงจรแบบ เอ็มดี
เอ ซีจีเอ เอชจีเอ อีจีเอ เป็นแบบดิจิทัล ข้อพิจำรณำที่จะตรวจสอบด้วยตำเปล่ำได้ คือ กำรแสดงผลจะต้องเป็นจุดเล็ก
ละเอียดคมชัด ไม่เป็นภำพพร่ำหรือเสมือนปรับโฟกัสไม่ชัดเจน ภำพที่ได้จะต้องมีลักษณะของกำรกรำดตำมแนวตั้ง
คงที่ สังเกตได้จำกขนำดตัวหนังสือแถวบน กับแถวกลำงหรือแถวล่ำงต้องมีขนำดเท่ำกันและคมชัดเหมือนกัน ภำพที่
ปรำกฎจะต้องไม่กระพริบถึงแม้จะปรับควำมเข้มของแสงเต็มี่ ภำพไม่สั่งไหวหรือพลิ้ว กำรแสดงของสีต้องไม่เพี้ยนจำก
สีที่ควรจะเป็น
พิจำรณำรำยละเอียดทำงเทคนิคของจอภำพ เช่น ขนำดของจอภำพซึ่งจะวัดตำมแนวเส้นทะแยงมุมของจอ ว่ำเป็น
ขนำดกี่นิ้ว โดยทั่วไปจะมีขนำด 14 นิว จอภำพที่แสดงผลงำนกรำฟิกบำงแบบอำจต้องใช้ขนำดใหญ่ถึง 20 นิว
้
้
ควำมละเอียดของจุดซึ่งสำมำรถสังเกตได้จำกสัญญำณแถบควำมถี่ของจอภำพ จอภำพแบบวีจีเอควรมีสัญญำณแถบ
ควำมถี่สูงกว่ำ 25 เมกะเฮิรตซ์ สัญญำณแถบควำมถี่ยิ่งสูงยิ่งดี จอภำพแบบเอ็กซ์วีจีเอแสดงผลแบบมัลติซิงค์
(multisync) ใช้สัญญำณแถบควำมถี่สูงกว่ำ 60 เมกะเฮิรตซ์ ขนำดของจุดยิ่งเล็กยิ่งมีควำมคมชัด เช่น ขนำดจุด .
28 มิลลิเมตร ภำพที่ได้จะคมชัดกว่ำขนำดจุด .33 มิลลิเมตร ค่ำของสัญญำณแถบควำมถี่จึงเป็นข้อที่จะต้องพิจำรณำ
ด้วย

ลำำ โพง
กำรทำำ งำนของลำำ โพง
ในกำรใช้งำนไม่ใช่ระบบเสียงไฮฟำยคำำว่ำ “ลำำโพง” โดย
ปกติจะหมำยถึงว่ำเป็นอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งซึ่งทำำให้เกิดเสียงขึ้นมำ
เป็นอุปกรณ์ตัวเดียวในระบบไฮฟำยที่มองเห็นรูปร่ำงของมันได้
ชัดเจน แต่ในระบบไฮฟำยลำำโพงของระบบไฮฟำยมักจะมีหน่วย
ไดรฟ์ 2 หน่วย หรือมำกกว่ำเป็นหน่วยไดรฟ์มีขนำดและชนิดแตก
ต่ำงกันซึ่งจะมักเรียกว่ำระบบลำำโพง แต่หน่วยไดรฟ์ทั้งหมดไม่ว่ำ
จะเป็นของระบบไฮฟำยหรือไม่ก็ตำมีหลักกำรทำำงำนอย่ำงเดียวกัน
หมด คือ ใช้หลักกำรใช้ขดลวดเคลื่นที่หรือเรียกเป็นภำษำเทคนิค
ว่ำใช้มูฟวิ่งคอยล์ (Moving Coil)
ในกำรทำำให้อำกำศสั่นตัว
เพื่อให้เกิดเป็นคลื่นเสียงนั้น ตัวกรวยของลำำโพงจะต้องเคลื่อนที่
ไปข้ำงหน้ำและข้ำงหลังได้อย่ำงอิสระ ด้วยเหตุนี้จึงต้องตั้งกรวย
ของลำำโพงไว้ในบริเวณสภำพแวดล้อมที่มีควำมยืดหยุ่นสูง ตรง
ปลำยกรวยของลำำโพงมีรูปทรงกลมขนำดเล็กติดอยู่เรียกว่ำ “วอย
ซ์คอยล์” (Voice Coil) ปลำยทั้งสองข้ำงของวอยซ์คอยล์ต่อเข้ำ
กับอินพุทของระบบลำำโพง รอบ ๆ คอยล์มีแม่เหล็กถำวรตั้งอยู่ล้อม
รอบ กำรจัดไว้เช่นนั้นจนเมื่อทำำกำรทดสอบกรวยวอยซ์คอยล์แล้ว
วอยซ์คอยล์จะวำงตัวอยู่ในบริเวณสนำมแม่เหล็กซึ่งมีควำมเข้ม
มำก ถ้ำหำกมีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนคอยล์มันจะเคลื่อนตัวไปข้ำง
หน้ำหรือข้ำงหลังในช่วงระหว่ำงขั้วแม่เหล็ก สัญญำณออดิโอซึ่ง
ประกอบด้วยกระแสสลับหรือกระแสเปลี่ยนทิศทำงด้วยควำมถี่ตรง
กับเสียงดนตรีดังนั้นจึงทำำให้กรวยของลำำโพงเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นกำร
ทำำให้เกิดคลื่นเสียง หน่วยไดรฟ์ของลำำโพง ควำมจริงมีรูปแบบ
เช่นเดียวกับมอเตอร์ไฟฟ้ำแบบง่ำยๆ เท่ำนั้นเองหน่วยไดรฟ์ขนำด
เล็กและมีรำคำถูกๆ สำมำรถสร้ำงขึ้นมำให้เสียงได้ดี ให้เสียงฟังได้
ยินอย่างชัดเจน ให้เสียงแบคกราวด์าของเสียงดนตรีในเครื่องรับ
โทรทัศน์หรือเสียงดนตรีในรถยนต์ แต่เมื่อนำาหน่วยไดรฟ์เช่นนี้มา
ใช้ทำาให้เกิดเสียงดนตรีที่มีความเพี้ยนน้อยที่สุดก็จำาเป็นต้องมีบาง
สิ่งบางอย่างที่มีความละเอียดลออมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ก็เพราะหน่วย
ไดรฟ์หน่วยเล็กๆ จะไม่มีการตอบสนองต่อความถี่ตำ่าสุดและ
ความถี่สูงสุดอย่างที่มีอยู่ในเสียงดนตรี แต่เมื่อมองดูตลอดย่าน
ความถี่เสียงจริงๆ จะพบว่าเสียงตำ่าสุดที่เกิดจากเสียงเบสกีตาร์เป็น
เสียงตำ่ากว่า 50 Hz ในขณะเดียวกันเสียงสูงสุดของเปียโนเป็น
ความถี่ประมาณ 4 kHz ที่เหนือความถี่นี้ไปเป็นความถี่ฮาร์โมนิค
ซึ่งทำาให้เครื่องดนตรีชิ้นต่างๆ ให้เสียงแตกต่างกันไป ดังนั้นส่วน
สำาคัญของย่านความถี่จึงอยู่ระหว่าง 40 Hz ถึง 15 kHz ทั้งนี้ก็
เพราะเสียงที่บันทึกได้ส่วนมากจะมีย่านความถี่ในย่านนี้ การส่ง
กระจายเสียงโดยวิทยุ FM ก็เช่นกัน จะให้ย่านการตอบสนอง
ความถี่สูงสุดประมาณ 15 kHz ทั้งนี้ก็เพราะระบบเสียงที่ใช้ใน
ขณะที่เครื่องเล่นเทปคานเซทเด็ค (Cassett Deck) โดยทั่วๆ ไป
มักจะไม่ให้การตอบสนองเรียบสูงเกินไปกว่านี้ แต่ระบบบันทึก
เสียงดิจิตอลสามารถให้การตอบสนองสูงถึง 20 kHz และตำ่าลงมา
ถึง 20 Hz แต่ที่ความถี่ตำ่าๆ เช่นนั้นเอาท์พุทจากลำาโพงจะได้รับ
ผลกระทบเพราะแฟคเตอร์อื่นๆ อีก อย่าง เช่น เรื่องขนาดของห้อง
ฟังเป็นต้น
เสีย งของลำา โพงออกมาได้อ ย่า งไร ?
ส่วนสำาคัญที่สุดของเครื่องเล่นเหล่านี้ก็คือลำาโพง โดย
หน้าที่สำาคัญสุดของลำาโพงคือ เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้าที่ได้มา
จากเครื่องขยายเป็นสัญญาณเสียง ลำาโพงที่ดีจะต้องสร้างเสียงให้
เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด
ลำาโพงที่เห็นขายกันอยู่ทั่วๆไป ภายในประกอบด้วย
-กรวยหรือไดอะแฟรม ทำาด้วยกระดาษแข็งหรือแผ่นพลาสติก
หรือจะทำาด้วยแผ่นโลหะบางๆ ก็ได้
-ขอบยึด (suspension หรือ surround ) เป็นขอบของได
อะแฟรม มีความยืดหยุ่น ติดอยู่กับเฟรม สามารถเคลื่อนที่ขึ้น
และลงได้ในระดับหนึ่ง
-เฟรมหรือบางทีเรียกว่า บาสเก็ต (basket)
-ยอดของกรวยติดอยู่กับคอยส์เสียง( Voice coil )
-คอยส์เสียงจะยึดอยู่กับ สไปเดอร์ (Spider) มีลักษณะเป็นแผ่น
วงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะยึดคอยส์เสียงให้อยู่ใน
ตำาแหน่งเดิม และทำาหน้าที่ เหมือนกับสปริง โดยจะสั่นสะเทือน
เมื่อมีสญญาณไฟฟ้าเข้ามา
ั
การทำางานของคอยส์เสียงใช้หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า
โดยได้จากกฎของแอมแปร์ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไป
ในขดลวดหรือคอยส์ ภายในคอยส์จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่ง
จะเหนี่ยวนำาให้แท่งเหล็กที่สอดอยู่เป็นแม่เหล็กไฟฟ้า ปกติแม่
เหล็กจะมีขั้วเหนือและขั้วใต้ ถ้านำาแม่เหล็กสองแท่งมาอยู่ใกล้ๆ
กัน โดยนำาขั้วเดียวกันมาชิดกันมันจะผลักกัน แต่ถ้าต่างขั้วกันมัน
จะดูดกัน ด้วยหลักการพื้นฐานนี้ จึงติดแม่เหล็กถาวรล้อมคอยส์
เสียงและแท่งเหล็กไว้ เมื่อมีสญญาณทางไฟฟ้าหรือสัญญาณ
ั
เสียงที่เป็นไฟฟ้ากระแสสลับป้อนสัญญาณให้กับคอยส์เสียง ขั้ว
แม่เหล็กภายในคอยส์เสียงจะเปลี่ยนทิศทางตามสัญญาณสลับที่
เข้ามา ทำาให้คอยส์เสียงขยับขึ้นและลง ซึ่งจะทำาให้ใบลำาโพง
ขยับเคลื่อนที่ขึ้นและลงด้วย ไปกระแทกกับอากาศ เกิดเป็นคลื่น
เสียงขึ้น ถ้าเป็นเครื่องเสียงระบบโมโน ลำาโพงจะมีอันเดียว แต่
สำาหรับเครื่องเสียงที่เป็นระบบเสตอริโอ ลำาโพงจะมี 2 ข้าง คือ
ข้างซ้าย และข้างขวา ใบลำาโพงทำาด้วยกรวยกระดาษ ติดอยู่
กับคอยส์เสียง เมื่อคอยส์เสียงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณ
ไฟฟ้ากระแสสลับ มันจะทำาให้ใบลำาโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลำาโพง
จะติดอยู่บนสไปเดอร์ ที่ทำาหน้าที่เหมือนสปริง คอยดึงใบลำาโพง
ที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่ตำาแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณ
ไฟฟ้าป้อนเข้าลำาโพง
ถ้า
มีสำญญาณไฟฟ้ากระแสสลับป้อนเข้าไปในคอยส์เสียง ทิศทาง
ของกระแสไฟฟ้าจะกลับทิศทางอยู่ตลอดเวลา (สังเกตที่
เครื่องหมาย + และ - จะเห็นว่ากลับทิศทางตลอดเวลาด้วย)
และทำาให้แผ่นลำาโพงสั่นเคลื่อนที่ขึ้นและลง อัดอากาศด้านหน้า
เกิดคลื่นเสียงขึ้น สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับที่ใส่ให้กับลำาโพง
จะแปรตามความถี่และแอมพลิจูด ซึ่งเป็นสัญญาณเดียวกันกับ
สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับที่ได้จากไมโครโฟน แต่ว่าสัญญาณที่
ได้ในครั้งแรก ยังอ่อนมากจึงต้องผ่านเครื่องขยายก่อน จึงจะป้อน
เข้าลำาโพงได้ ใบลำาโพงจะสั่นเร็วหรือช้าขี้นอยู่กับความถี่ และ
เสียงจะดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดของสัญญาณไฟฟ้า
ขนาดของลำาโพงมีความสำาคัญมาก ไม่ใช่ว่าลำาโพงตัวเดียว
สามารถจะให้ความถี่ได้ออกมาทุกๆความถี่ ถ้าต้องการให้เหมือน
กับเสียงธรรมชาติมากที่สุด ลำาโพงจะต้องมีหลายขนาด เราจะ
แบ่งลำาโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
-วูฟเฟอร์ (Woofers)
-ทวีทเตอร์ (Tweeters)
-มิดเรนส์ (Midrange)
ลำา โพงประเภทต่า งๆ
วูฟ เฟอร์ เป็นลำาโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อ
ให้เสียงที่มีความถี่ตำ่า
ทวีส เตอร์ เป็นลำาโพงที่มีขนาดเล็กสุด
เสียงที่มีความถี่สูง

ออกแบบมาเพื่อให้

ลำา โพงทวีท เตอร์ เป็นลำาโพงที่มีความถี่สูง แผ่นลำาโพง
มีขนาดเล็กและค่อนข้างแข็ง จึงสามารถสั่นด้วยความเร็วที่สูง
ส่วนลำาโพงแบบวูฟเฟอร์ แผ่นลำาโพงจะมีขนาดใหญ่ และค่อน
ข้างนิ่ม จึงสั่นด้วยความเร็วตำ่า เพราะมีมวลมาก อย่างไรก็ตาม
เสียงทั่วไป มีความถี่กว้าง คือ มีความถี่จากสูงถึงตำ่า ซึ่งเราจะ
เรียกว่า มีความถี่ช่วงกว้าง ถ้าเรามีแต่ลำาโพงทวีทเตอร์ และวูฟ
เฟอร์ เราจะได้เสียงอยู่ในย่านความถี่สูงกับตำ่าเท่านั้น ความถี่ใน
ช่วงกลางจะหายไป เพื่อจะให้คุณภาพของเสียงออกมาทุกช่วง
ความถี่ จึงจำาเป็นจะต้องมีลำาโพงมิดเรนส์ด้วย ภายในตู้ลำาโพง
ตู้หนึ่ง จึงมักจะเห็นลำาโพงทั้งสามชนิดประกอบเข้าด้วยกัน
สำาหรับลำาโพงแบบทวีทเตอร์ เครื่องขยายเสียงจะส่งความถี่สูงให้
ลำาโพงวูฟเฟอร์ จะส่งความถี่ตำ่า ส่วนความถี่ในช่วงที่เหลือเป็น
ของลำาโพงแบบมิดเรนส์ ถ้าลองถอดฝาตู้ด้านหลังออก เราจะได้
เห็น อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งเรียกว่า ครอสโอเวอร์ (Cross over)
อุปกรณ์ตัวนี้เป็นตัวแยกสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับให้ออกเป็น 3
ส่วน คือ ส่วนความถี่สูง ความถี่ตำ่า และความถี่ขนาดกลาง ค
รอสโอเวอร์แยกออกเป็น 2 แบบ คือ แบบ พาสซีพ (Passive)
และ แบบแอคทีฟ (active) ครอสโอเวอร์แบบแอคทีฟ ไม่ต้องมี
แหล่งจ่ายไฟ แต่ใช้พลังงานจากสำญญาณเสียงแทน หลักการ
พื้นฐานของครอสโอเวอร์นั้นประกอบขึ้นด้วย ตัว ต้า นทาน ตัว
เหนี่ย วนำา และ ตัว เก็บ ประจุ ต่อขึ้นเป็นวงจรไฟฟ้า ทั้งตัว
เก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำาจะเป็นตัวนำาที่ดีภายใต้เงื่อนไขบาง
ประการ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุจะยอมให้ความถี่สูงที่เกิน
กว่าค่าที่กำาหนดผ่านไปได้ แต่ถ้าเป็นความถี่ตำ่ากว่าค่าที่กำาหนด
มันจะไม่ยอมให้ผ่านไป ส่วนตัวเหนี่ยวนำาจะทำาหน้าที่แตกต่าง
กัน คือจะเป็นตัวนำาที่ดีเมื่อความถี่ตำ่า คือมันจะยอมให้ความถี่ตำ่า
กว่าค่าที่กำาหนดผ่านไปได้ และจะไม่ยอมให้ความถี่สูงกว่าค่าที่
กำาหนดผ่านไป สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับที่ผ่านการขยายมา
แล้ว จะถูกส่งผ่านไปยังครอสโอเวอร์แบบพาสซีฟ โดยเราจะต่อ
ตัวเก็บประจุไว้ก่อนที่จะเข้าทวีทเตอร์ เพราะจะยอมให้แต่ความถี่
สูงผ่านไปได้เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนำาจะต่อไว้ก่อนจะเข้าวูฟเฟอร์
ส่วนลำาโพงมิดเรนส์ จะต่ออยู่กับ ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำา
โดยต่อเป็นวงจรไฟฟ้า เรียกว่า วงจร L-C และเลือกค่าให้เหมาะ
สม เพื่อให้ความถี่ในช่วงกลางสามารถผ่านไปได้ ครอสโอเวอร์
แบบแอคทีฟ เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์เหมือนกับครอส
โอเวอร์แบบพาสซีฟ แต่ว่าออกแบบซับซ้อนกว่า จึงต้องมีแหล่ง
จ่ายไฟป้อนพลังงานให้ ครอสโอเวอร์แบบนี้จะแยกความถี่ออก
ก่อนที่จะเข้าเครื่องขยายเสียง ดังนั้นจึงต้องมีเครื่องขยาย 3 อัน
แต่ละอันขยายความถี่ในช่วงที่แตกต่างกัน จึงเป็นข้อเสียที่สำาคัญ
ประการหนึ่ง แต่มีข้อดีมากเมื่อเทียบกับแบบพาสซีฟ และเป็นสิ่งที่
เครื่องเสียงราคาเป็นแสนขาดเสียไม่ได้คือ คุณสามารถปรับแต่ง
ความถี่ทุกๆช่วงได้ อย่างไรก็ตามมันมีราคาค่อนข้างแพงจึงใช้กับ
เครื่องเสียงราคาสูงเสียมากกว่า
บทที่ 3
วิธ ีด ำา เนิน งานโครงงาน
ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องลำาโพงจากจอ
คอมพิวเตอร์นี้ ผู้จัดทำาโครงงานมีวิธีดำาเนินงานโครงงาน ตามขั้น
ตอนดังต่อไปนี้
1. 3.1 วัส ดุ อุป กรณ์ เครื่อ งมือ หรือ โปรแกรมหรือ ที่ใ ช้
ในการพัฒ นา
ไม้อัดแบบหนา 20 mm.
2. ทวิสเตอร์ 2 ตัว 150 วัตต์
3. ดอกลำาโพง 2 ตัว 200 – 250 วัตต์
4. ซีทอง 2 ตัว
5. เครื่องขยาย 1 เครื่อง
6. ผ้ามองกลู 1 เมตร
7. หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาด 17 นิ้ว 2 จอ
8. น็อต
9. โฟมแข็ง
10.

สายไฟขนาด 1 เมตร

3.2 ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน
- ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่จะทำา
- ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์และเตรียมแก้ปัญหา
- คิดค้นวิธีดำำเนินงำนสร่ำงสิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยในกำรแก้ไข
ปัญหำและควำมเป็นไปของชิ้นงำน
-ออกแบบสิ่งประดิษฐ์
-เตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่ำงๆ

บทที่ 4
ผลกำรดำำ เนิน งำนโครงงำน
กำรทำำลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์ในครั้งนี้ ลำำโพงที่ทำำ
ขึ้นมำมีประสิทธิภำพเท่ำกับลำำโพงที่ขำยในท้องตลำด และมีนำ้ำ
หนักเบำกว่ำลำำโพงที่ขำยในท้องตลำด
บทที่ 5
สรุป ผลกำรดำำ เนิน งำน และข้อ เสนอแนะ
จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพของลำำโพงที่ทำำ
จำกจอคอมพิวเตอร์ กับลำำโพงที่ขำยตำมท้องตลำด พบว่ำ มี
ประสิทธิภำพเท่ำกัน แต่ลำำโพงที่เรำทำำจำกจอคอมพิวเตอร์มีนำ้ำ
หนักเบำกว่ำสำมำรถเคลื่อนย้ำยได้ง่ำย
ปัญ หำที่พ บ
-สมำชิกมีเวลำว่ำงไม่ตรงกันกำรรวมกลุ่มจึงไม่พร้อมเพรียงเท่ำที่
ควร
-ไม่มีประสบกำรณ์ในเรื่องไฟฟ้ำเท่ำที่ควร
แนวทำงกำรแก้ไ ขปัญ หำ
-แบ่งงำนและหน้ำที่กันตำมที่เห็นสมควรของสมำชิกในกลุ่มทุกคน
-ปรึกษำผู้ที่รู้และเชี่ยวชำญ
เอกสำรอ้ำ งอิง

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/monitor.html
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=choshang&month=012011&date=15&group=8&gblog=3

ภำคผนวก
(ขอให้นักเรียนนำำภำพกำรพัฒนำโครงงำน เรื่อง................ขัน
้
ตอนกำรสร้ำง Storyboard )

More Related Content

What's hot

ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานBream Mie
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1Ict Krutao
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6Khemjira_P
 
รู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงานรู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงานFair Kung Nattaput
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 3407 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34krunuy5
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 

What's hot (19)

โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
 
การพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6
 
รู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงานรู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงาน
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
5555
55555555
5555
 
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 3407 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 

Viewers also liked

8 quick tips to save gas for your car
8 quick tips to save gas for your car 8 quick tips to save gas for your car
8 quick tips to save gas for your car CarServicing4less
 
Building better-product-pages
Building better-product-pagesBuilding better-product-pages
Building better-product-pageszymotic
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 

Viewers also liked (6)

8 quick tips to save gas for your car
8 quick tips to save gas for your car 8 quick tips to save gas for your car
8 quick tips to save gas for your car
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Building better-product-pages
Building better-product-pagesBuilding better-product-pages
Building better-product-pages
 
1
11
1
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 

Similar to โครงงานน้องแบค

ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 aonaon080
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์aonaon080
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานmas15540
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานqueenny22
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานmas15540
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานthidaratn
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 

Similar to โครงงานน้องแบค (20)

ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
K2
K2K2
K2
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
3
33
3
 

โครงงานน้องแบค

  • 1. โครงงานคอมพิว เตอร์ เรื่อง ลำา โพงจากจอคอมพิว เตอร์ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี จัด ทำา โดย นายวีร ะชาติ อิน คำา แหง เลขที่ 9 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 5/1 รายวิช าโครงงานคอมพิว เตอร์ (ง 32102) ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2556 กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ก ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี (คอมพิว เตอร์) โรงเรีย นส้ม ป่อ ยพิท ยาคม ตำา บลส้ม ป่อ ย อำา เภอราษีไ ศล จัง หวัด ศรีส ะเกษ สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษามัธ ยมศึก ษา เขต 28 หัว ข้อ โครงงาน : เรื่อง ลำา โพงจากจอคอมพิว เตอร์ ประเภทของโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ผู้เ สนอโครงงาน : นายวีระชาติ อินคำาแหง ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 9
  • 2. ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน : คุณครูณัฐพล บัวพันธ์ ตำาแหน่ง ................................. ปีก ารศึก ษา : 2556 บทคัดย่อ การทำาโครงงานจากขยะอิเล็กทรอนิก ด้วยความห่วงใยและ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เรื่อง ลำาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ที่เสียแล้ว มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ต้องการศึกษาการทำาลำาโพงจาก คอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการ ศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผู้เรียนและนำาความรู้มาประยุกต์ ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม หลักการทำางานของ ลำาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ที่เสียแล้วมาประยุกต์ใช้ให้เป็นลำาโพง หรือเป็นมอนิเตอร์หน้าเวทีการแสดงขนาดย่อมได้ จากผลการ ดำาเนินการ พบว่า ลำาโพงที่ทำาขึ้นมามีประสิทธิภาพเท่ากับลำาโพง ที่ขายในท้องตลาด และมีนำ้าหนักเบากว่าลำาโพงที่ขายในท้อง ตลาด สามารถนำาไปใช้ได้จริง กิตติกรรมประกาศ
  • 3. โครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับนี้ สำาเร็จขึ้นได้โครงงานเรื่องลำาโพง จากจอคอมพิวเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมา ได้รับการสนับสนุนจาก หลายๆฝ่าย อาทิ ด้านงบประมาณจากโรงเรียนส้มป่อยพิทยาคม อำาเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ โดยผู้อำานวยการ นายบัญชา ติละกูล คุณครูที่ปรึกษา นายณัฐพล บัวพันธ์ และ คำาแนะนำาการทำาลำาโพงจากคณะครูโรงเรียนส้มป่อยพิทยาคมทุก ท่าน เพื่อนๆพี่ๆน้องๆโรงเรียนส้มป่อยพิทยาคมทุกคนที่คอยอยู่เป็น เพื่อนและกำาลังใจมาตลอด ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ญาติพี่น้องทุกคนที่ให้ โอกาสและช่วยเหลืออำานวยความสะดวกในทุกด้านจนกระทั่งสิ่ง ประดิษฐ์ชิ้นนี้สำาเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ ยวีระชาติ อินคำาแหง สารบัญ ชื่อผู้จัดทำา นา
  • 4. หน้า บทคัด ย่อ ก กิต ติก รรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนำา ที่มาและความสำาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เ กี่ย วข้อ ง จอคอมพิวเตอร์ 3 ลำาโพง 5 บทที่ 3 อุป กรณ์ วิธ ีก ารดำา เนิน การ วัสดุ อุปกรณ์ 9 ขั้นตอนการดำาเนินงาน 9 บทที่ 4 ผลการทดลองและปฏิบ ต ิ ั ผลการดำาเนินงาน 11 ประโยชน์ที่ได้รับ 11
  • 5. บทที่ 5 สรุป ผลการทดลอง และ อภิป รายผลของชิ้น งานสิ่ง ประดิษ ฐ์ สรุปผลการดำาเนินงาน 12 ปั ญ ห า ที่ พ 12 บ แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า 12 เอกสารอ้างอิง 13
  • 6. บทที่ 1 บทนำำ 1.1 แนวคิด ที่ม ำ และควำมสำำ คัญ เนื่องจำกในปัจจุบันปริมำณขยะอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกกำำลัง เพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็วในขณะนี้ โดยในแต่ละปีจะมีมำกถึง 2050 ล้ำนตัน อำจเป็นเรื่องยำกที่จะนึกภำพปริมำณขยะที่ มำกมำยมหำศำลเช่นนี้ ให้ลองนึกภำพว่ำถ้ำขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกิดขึ้นในแต่ละปีทั้งหมดถูกนำำใส่ ตู้คอนเทนเนอร์บนขบวน รถไฟ จะกลำยขบวนรถไฟที่ยำวเท่ำหนึ่งรอบโลกของเรำ! ใน ปัจจุบัน ขยะอิเล็กทรอนิกส์คิดเป็นร้อยละ 5 ของขยะแข็งใน เขตเทศบำลทั่วโลก เทียบเท่ำกับปริมำณขยะวัสดุห่อหุ้มที่เป็น พลำสติกทั้งหมด แต่มีอันตรำยมำกกว่ำมำก และไม่ใช่ประเทศ พัฒนำแล้วเท่ำนั้นที่เป็นต้นตอของขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่ำนี้ ใน เอเชียเองก็มีกำรทิ้งขยะแบบนี้ประมำณ 12 ล้ำนตันต่อปี ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ได้กลำยเป็นส่วนหนึ่งของขยะแข็งในเขต เทศบำลที่เพิ่ม จำำนวนขึ้นอย่ำงรวดเร็วที่สุดในปัจจุบัน เพรำะผู้ บริโภคเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ อุปกรณ์ เครื่องเสียง และ พริ้นเตอร์บ่อยครั้งกว่ำที่เคยเป็นมำ โทรศัพท์ มือถือและคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดปัญหำมำกที่สุดเพรำะมีกำร เปลี่ยน เครื่องใหม่บ่อยที่สุด ในยุโรปขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่ม จำำนวนขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้นรวดเร็วกว่ำขยะอย่ำงอื่น ถึง 3 เท่ำ และคำดกำรณ์กันว่ำประเทศกำำลังพัฒนำจะผลิตขยะ อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอีกถึง 3 เท่ำภำยใน 5 ปีข้ำงหน้ำ ตัวอย่ำงเช่น ในโรงเรียนส้มป่อยพิทยำคม มีคอมพิวเตอร์เก่ำที่ ใช้งำนไม่ได้แล้วเป็นจำำนวนมำก และไม่มีที่เก็บ ก็ตองทิ้งไป ้ โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรเลย พวกเรำจึงได้ปรึกษำกันใน กลุ่มว่ำจะทำำอย่ำงไรดีกับขยะเหล่ำนี้ เรำจึงได้ทำำลำำโพงจำก
  • 7. จอคอมพิวเตอร์ขึ้นมำ 1.เพื่อต้องกำรศึกษำกำรทำำลำำโพงจำก จอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อ ต้องกำรศึกษำคิดค้น พัฒนำควำมคิดของผู้เรียนและนำำควำมรู้ มำประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศชำติ และ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรำนำำมำใช้ทำำลำำโพงนั้น เป็นรุ่น CRT ซึ่งในปัจจุบันไม่ค่อยมีคนนิยมใช้แล้ว เพรำะว่ำกินไฟมำก รำย ละเอียดภำพไม่ชัด ทำำให้เรำสำยตำเสียได้ ได้ดังนั้นจึงเป็น ที่มำของโครงงำนเรื่องลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์ 1.2 วัต ถุป ระสงค์ 1. เพื่อต้องกำรศึกษำกำรทำำลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องกำรศึกษำคิดค้น พัฒนำควำมคิดของผู้เรียนและนำำ ควำมรู้มำประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศ ชำติ 1.3 ขอบเขตของโครงงำน ในกำรศึกษำค้นคว้ำครั้งนี้จะเกี่ยวกับลำำโพงที่ทำำจำกจอ คอมพิวเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด เป็นต้น 1.4 ผลที่ค ำดว่ำ จะได้ร ับ 1. ได้ลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์ 2. นำำวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่มำกมำประดิษฐ์เพื่อให้เกิด คุณค่ำและเป็นแบบอย่ำงได้ 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมควำมคิดของเยำวชน
  • 8. 4. เพื่อประโยชน์แก่ผู้ใช้และพัฒนำต่อยอดให้เกิดประโยชน์ใน อนำคต บทที่ 2 เอกสำรที่เ กี่ย วข้อ ง จอภำพแบบซีอ ำร์ท ี กำรแสดงผลบนจอภำพเป็นเรื่องที่จำำเป็นสำำหรับกำรใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวัฒนำกำรของกำรแสดงผลได้ พัฒนำก้ำวหน้ำขึ้น มำตรฐำนกำรแสดงผลที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มีพื้นฐำนมำจำกกำรพัฒนำของบริษัทไอบีเอ็ม ในยุคต้นควำมต้องกำรของกำรแสดงผลส่วนใหญ่ยังเป็นแบบตัวอักษรโดยมีภำวะกำรทำำงำน (mode) แยกจำกกำร แสดง กรำฟิก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์จำำนวนมำกสำมำรถแสดงผลในภำวะกรำฟิก เช่น ระบบปฎิบัติงำนวินโดวส์ ต้องใช้ภำวะกำรแสดงผลในรูปกรำฟิกล้วน ๆ ผูใช้สำมำรถกำำหนดขนำดช่องหน้ำต่ำง หรือกำรแสดงผลได้ตำมที่ ้ ต้องกำร จอภำพจึงเป็นส่วนสำำคัญมำกส่วนหนึ่งสำำหรับผู้ใช้งำนในยุคปัจจุบัน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524 บริษัท ไอบีเอ็มได้พัฒนำระบบกำรแสดงผลที่ใช้กับจอภำพสีเดียวที่เรียกว่ำโมโนโครม หรือ เอ็มดีเอ (Monochrome Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพำะภำวะตัวอักษรแต่เพียงอย่ำงเดียวแต่ให้ควำมละเอียดสูง หำก ต้องกำรแสดงผลในภำวะกรำฟิกก็ต้องเลือกภำวะกำรแสดงผลอีกแบบหนึ่งที่เรียกว่ำ ซีจีเอ (Color Graphic Adapter : CGA) ที่สำมำรถแสดงสีและกรำฟิกได้แต่ควำมละเอียดน้อย เมื่อมีผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อต่ำง ๆ ที่
  • 9. มีระบบกำรทำำงำนแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกำำหนดมำตรฐำนกำร แสดงผลไว้ ต่อมำบริษัทเฮอร์คิวลีส ซึ่งเห็นปัญหำของระบบกำรแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรียก กันติดปำกว่ำแผงวงจรเฮอร์คิวลิส (herculis card) หรือ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บำงครั้ง เรียกว่ำโมโนโครกรำฟิกอะแดปเตอร์หรือเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) กำรแสดงผลแบบนี้ เป็นที่แพร่หลำยและนิยมใช้กนต่อเนื่องมำและมีผลิตขึ้นมำใช้กันมำกมำย ต่อมำบริษัทไอบีเอ็มเห็นว่ำควำมต้องกำร ั ทำงด้ำนกรำฟิกสูงขึ้น กำรแสดงสีควรจะมีรำยละเอียดและจำำนวนสีมำกขึ้น จึงได้พัฒนำมำตรฐำนกำรแสดงผลบน จอภำพขึ้นอีกโดยปรับปรุงจำกเดิมเรียกว่ำ อีจีเอ (Enhance Graphic Adapter : EAG) กำรเพิ่มเติมจำำนวนสียังไม่ พอเพียงกับซอฟต์แวร์ที่ได้รับกำรพัฒนำให้ใช้กับระบบปฎิบัติกำรวินโดวส์และโอเอสทูไอบีเอ็มจึงสร้ำงมำตรฐำนกำร แสดงผลที่มีควำมละเอียดและสีเพิ่มยิ่งขึ้นเรียกว่ำ เอ็กซ์วีจีเอ (eXtra Video Graphic Array : XVGA) กำรเลือกซื้อ จอภำพจะตัองพิจำรณำควำมสัมพันธ์ของจอภำพกับตัวปรับต่อซึ่งเป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ติดตั้งอยู่บนแผงวงจร หลัก (main board) และต่อสัญญำณมำยังจอภำพ แผงวงจรนี้จะเป็นตัวแสดงผลตำมมำตรฐำนที่ต้องกำร มีภำวะกำร แสดงผลหลำยแบบ เช่น ก. แผงวงจรโมโนโครมหรือแผงวงจรเอ็มดีเอ เป็นแผงวงจรที่ไม่ค่อยนิยมใช้แล้วแสดงผลได้เฉพำะตัวอักษรจำำนวน 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร ขนำดควำมละเอียดของตัวอักษรเป็น 9x14 ชุด ข. แผงวงจรเฮอร์คิวลิสหรือแผงวงจรเอชจีเอ แสดงผลเป็นตัวอักษรขนำด 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร เหมือน แผงวงจรเอ็มดีเอ แต่สำมำรถแสดงกรำฟิกแบบสีเดียวด้วยควำมละเอียด 720x348 จุด ค. แผงวงจรอีจีเอ เป็นแผงวงจรที่แสดงด้วยควำมละเอียดของตัวอักษรขนำด 9x14 จุดแสดงสีได้ 16 สี ควำม ละเอียดของกำรแสดงกรำฟิก 640x350 จุด ง. แผงวงจรวีจีเอ เป็นแผงวงจรที่แสดงด้วย ควำมละเอียดของตัวอักษร 9x16 จุด แสดงสีได้ 16 สี แสดงกรำฟิกด้วย ควำมละเอียด 640x480 จุด และแสดงสีได้สูงถึง 256 สี จ. แผงวงจรเอ็กซ์วีจีเอ เป็นแผงวงจรที่ปรับปรุงจำกแผงวงจรวีจีเอ แสดงกรำฟิกด้วยควำมละเอียดสูงขึ้นเป็น 1,024x768 จุด และแสดงสีได้มำกกว่ำ 256 สี เมื่อได้ทรำบว่ำตัวปรับต่อมีกี่แบบแล้ว ครำวนี้มำดูมำตรฐำนตัวเชื่อมต่อ (connector) ของตัวปรับต่อกับจอภำพบ้ำง ตัวเชื่อมต่อมำตรฐำนที่ใช้มีแบบ 9 ขำ ตัวเชื่อมต่อสำำหรับแผงวงจรแบบ วีจีเอ และ เอสวีจีเอ เป็นแบบ 15 ขำ กำรที่ หัวต่อไม่เหมือนกันจึงทำำให้ใช้จอภำพพร่วมกันไม่ได้ นอกจำกตัวเชื่อมต่อและตัวปรับต่อแล้ว คุณภำพของจอภำพก็จะต้องได้รับกำรพิจำรณำอย่ำงมำก สัญญำณที่ส่งมำยัง จอภำพมีรูปแบบไม่เหมือนกัน สัญญำณของแผงวงจรแบบวีจีเอเป็นแบบแอนะล็อก สัญญำณของแผงวงจรแบบ เอ็มดี เอ ซีจีเอ เอชจีเอ อีจีเอ เป็นแบบดิจิทัล ข้อพิจำรณำที่จะตรวจสอบด้วยตำเปล่ำได้ คือ กำรแสดงผลจะต้องเป็นจุดเล็ก ละเอียดคมชัด ไม่เป็นภำพพร่ำหรือเสมือนปรับโฟกัสไม่ชัดเจน ภำพที่ได้จะต้องมีลักษณะของกำรกรำดตำมแนวตั้ง คงที่ สังเกตได้จำกขนำดตัวหนังสือแถวบน กับแถวกลำงหรือแถวล่ำงต้องมีขนำดเท่ำกันและคมชัดเหมือนกัน ภำพที่ ปรำกฎจะต้องไม่กระพริบถึงแม้จะปรับควำมเข้มของแสงเต็มี่ ภำพไม่สั่งไหวหรือพลิ้ว กำรแสดงของสีต้องไม่เพี้ยนจำก สีที่ควรจะเป็น พิจำรณำรำยละเอียดทำงเทคนิคของจอภำพ เช่น ขนำดของจอภำพซึ่งจะวัดตำมแนวเส้นทะแยงมุมของจอ ว่ำเป็น ขนำดกี่นิ้ว โดยทั่วไปจะมีขนำด 14 นิว จอภำพที่แสดงผลงำนกรำฟิกบำงแบบอำจต้องใช้ขนำดใหญ่ถึง 20 นิว ้ ้ ควำมละเอียดของจุดซึ่งสำมำรถสังเกตได้จำกสัญญำณแถบควำมถี่ของจอภำพ จอภำพแบบวีจีเอควรมีสัญญำณแถบ ควำมถี่สูงกว่ำ 25 เมกะเฮิรตซ์ สัญญำณแถบควำมถี่ยิ่งสูงยิ่งดี จอภำพแบบเอ็กซ์วีจีเอแสดงผลแบบมัลติซิงค์ (multisync) ใช้สัญญำณแถบควำมถี่สูงกว่ำ 60 เมกะเฮิรตซ์ ขนำดของจุดยิ่งเล็กยิ่งมีควำมคมชัด เช่น ขนำดจุด . 28 มิลลิเมตร ภำพที่ได้จะคมชัดกว่ำขนำดจุด .33 มิลลิเมตร ค่ำของสัญญำณแถบควำมถี่จึงเป็นข้อที่จะต้องพิจำรณำ ด้วย ลำำ โพง
  • 10. กำรทำำ งำนของลำำ โพง ในกำรใช้งำนไม่ใช่ระบบเสียงไฮฟำยคำำว่ำ “ลำำโพง” โดย ปกติจะหมำยถึงว่ำเป็นอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งซึ่งทำำให้เกิดเสียงขึ้นมำ เป็นอุปกรณ์ตัวเดียวในระบบไฮฟำยที่มองเห็นรูปร่ำงของมันได้ ชัดเจน แต่ในระบบไฮฟำยลำำโพงของระบบไฮฟำยมักจะมีหน่วย ไดรฟ์ 2 หน่วย หรือมำกกว่ำเป็นหน่วยไดรฟ์มีขนำดและชนิดแตก ต่ำงกันซึ่งจะมักเรียกว่ำระบบลำำโพง แต่หน่วยไดรฟ์ทั้งหมดไม่ว่ำ จะเป็นของระบบไฮฟำยหรือไม่ก็ตำมีหลักกำรทำำงำนอย่ำงเดียวกัน หมด คือ ใช้หลักกำรใช้ขดลวดเคลื่นที่หรือเรียกเป็นภำษำเทคนิค ว่ำใช้มูฟวิ่งคอยล์ (Moving Coil) ในกำรทำำให้อำกำศสั่นตัว เพื่อให้เกิดเป็นคลื่นเสียงนั้น ตัวกรวยของลำำโพงจะต้องเคลื่อนที่ ไปข้ำงหน้ำและข้ำงหลังได้อย่ำงอิสระ ด้วยเหตุนี้จึงต้องตั้งกรวย ของลำำโพงไว้ในบริเวณสภำพแวดล้อมที่มีควำมยืดหยุ่นสูง ตรง ปลำยกรวยของลำำโพงมีรูปทรงกลมขนำดเล็กติดอยู่เรียกว่ำ “วอย ซ์คอยล์” (Voice Coil) ปลำยทั้งสองข้ำงของวอยซ์คอยล์ต่อเข้ำ กับอินพุทของระบบลำำโพง รอบ ๆ คอยล์มีแม่เหล็กถำวรตั้งอยู่ล้อม รอบ กำรจัดไว้เช่นนั้นจนเมื่อทำำกำรทดสอบกรวยวอยซ์คอยล์แล้ว วอยซ์คอยล์จะวำงตัวอยู่ในบริเวณสนำมแม่เหล็กซึ่งมีควำมเข้ม มำก ถ้ำหำกมีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนคอยล์มันจะเคลื่อนตัวไปข้ำง หน้ำหรือข้ำงหลังในช่วงระหว่ำงขั้วแม่เหล็ก สัญญำณออดิโอซึ่ง ประกอบด้วยกระแสสลับหรือกระแสเปลี่ยนทิศทำงด้วยควำมถี่ตรง กับเสียงดนตรีดังนั้นจึงทำำให้กรวยของลำำโพงเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นกำร ทำำให้เกิดคลื่นเสียง หน่วยไดรฟ์ของลำำโพง ควำมจริงมีรูปแบบ เช่นเดียวกับมอเตอร์ไฟฟ้ำแบบง่ำยๆ เท่ำนั้นเองหน่วยไดรฟ์ขนำด เล็กและมีรำคำถูกๆ สำมำรถสร้ำงขึ้นมำให้เสียงได้ดี ให้เสียงฟังได้
  • 11. ยินอย่างชัดเจน ให้เสียงแบคกราวด์าของเสียงดนตรีในเครื่องรับ โทรทัศน์หรือเสียงดนตรีในรถยนต์ แต่เมื่อนำาหน่วยไดรฟ์เช่นนี้มา ใช้ทำาให้เกิดเสียงดนตรีที่มีความเพี้ยนน้อยที่สุดก็จำาเป็นต้องมีบาง สิ่งบางอย่างที่มีความละเอียดลออมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ก็เพราะหน่วย ไดรฟ์หน่วยเล็กๆ จะไม่มีการตอบสนองต่อความถี่ตำ่าสุดและ ความถี่สูงสุดอย่างที่มีอยู่ในเสียงดนตรี แต่เมื่อมองดูตลอดย่าน ความถี่เสียงจริงๆ จะพบว่าเสียงตำ่าสุดที่เกิดจากเสียงเบสกีตาร์เป็น เสียงตำ่ากว่า 50 Hz ในขณะเดียวกันเสียงสูงสุดของเปียโนเป็น ความถี่ประมาณ 4 kHz ที่เหนือความถี่นี้ไปเป็นความถี่ฮาร์โมนิค ซึ่งทำาให้เครื่องดนตรีชิ้นต่างๆ ให้เสียงแตกต่างกันไป ดังนั้นส่วน สำาคัญของย่านความถี่จึงอยู่ระหว่าง 40 Hz ถึง 15 kHz ทั้งนี้ก็ เพราะเสียงที่บันทึกได้ส่วนมากจะมีย่านความถี่ในย่านนี้ การส่ง กระจายเสียงโดยวิทยุ FM ก็เช่นกัน จะให้ย่านการตอบสนอง ความถี่สูงสุดประมาณ 15 kHz ทั้งนี้ก็เพราะระบบเสียงที่ใช้ใน ขณะที่เครื่องเล่นเทปคานเซทเด็ค (Cassett Deck) โดยทั่วๆ ไป มักจะไม่ให้การตอบสนองเรียบสูงเกินไปกว่านี้ แต่ระบบบันทึก เสียงดิจิตอลสามารถให้การตอบสนองสูงถึง 20 kHz และตำ่าลงมา ถึง 20 Hz แต่ที่ความถี่ตำ่าๆ เช่นนั้นเอาท์พุทจากลำาโพงจะได้รับ ผลกระทบเพราะแฟคเตอร์อื่นๆ อีก อย่าง เช่น เรื่องขนาดของห้อง ฟังเป็นต้น เสีย งของลำา โพงออกมาได้อ ย่า งไร ? ส่วนสำาคัญที่สุดของเครื่องเล่นเหล่านี้ก็คือลำาโพง โดย หน้าที่สำาคัญสุดของลำาโพงคือ เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้าที่ได้มา จากเครื่องขยายเป็นสัญญาณเสียง ลำาโพงที่ดีจะต้องสร้างเสียงให้ เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด ลำาโพงที่เห็นขายกันอยู่ทั่วๆไป ภายในประกอบด้วย -กรวยหรือไดอะแฟรม ทำาด้วยกระดาษแข็งหรือแผ่นพลาสติก หรือจะทำาด้วยแผ่นโลหะบางๆ ก็ได้ -ขอบยึด (suspension หรือ surround ) เป็นขอบของได อะแฟรม มีความยืดหยุ่น ติดอยู่กับเฟรม สามารถเคลื่อนที่ขึ้น และลงได้ในระดับหนึ่ง -เฟรมหรือบางทีเรียกว่า บาสเก็ต (basket)
  • 12. -ยอดของกรวยติดอยู่กับคอยส์เสียง( Voice coil ) -คอยส์เสียงจะยึดอยู่กับ สไปเดอร์ (Spider) มีลักษณะเป็นแผ่น วงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะยึดคอยส์เสียงให้อยู่ใน ตำาแหน่งเดิม และทำาหน้าที่ เหมือนกับสปริง โดยจะสั่นสะเทือน เมื่อมีสญญาณไฟฟ้าเข้ามา ั การทำางานของคอยส์เสียงใช้หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า โดยได้จากกฎของแอมแปร์ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไป ในขดลวดหรือคอยส์ ภายในคอยส์จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่ง จะเหนี่ยวนำาให้แท่งเหล็กที่สอดอยู่เป็นแม่เหล็กไฟฟ้า ปกติแม่ เหล็กจะมีขั้วเหนือและขั้วใต้ ถ้านำาแม่เหล็กสองแท่งมาอยู่ใกล้ๆ กัน โดยนำาขั้วเดียวกันมาชิดกันมันจะผลักกัน แต่ถ้าต่างขั้วกันมัน จะดูดกัน ด้วยหลักการพื้นฐานนี้ จึงติดแม่เหล็กถาวรล้อมคอยส์ เสียงและแท่งเหล็กไว้ เมื่อมีสญญาณทางไฟฟ้าหรือสัญญาณ ั เสียงที่เป็นไฟฟ้ากระแสสลับป้อนสัญญาณให้กับคอยส์เสียง ขั้ว แม่เหล็กภายในคอยส์เสียงจะเปลี่ยนทิศทางตามสัญญาณสลับที่ เข้ามา ทำาให้คอยส์เสียงขยับขึ้นและลง ซึ่งจะทำาให้ใบลำาโพง ขยับเคลื่อนที่ขึ้นและลงด้วย ไปกระแทกกับอากาศ เกิดเป็นคลื่น เสียงขึ้น ถ้าเป็นเครื่องเสียงระบบโมโน ลำาโพงจะมีอันเดียว แต่ สำาหรับเครื่องเสียงที่เป็นระบบเสตอริโอ ลำาโพงจะมี 2 ข้าง คือ ข้างซ้าย และข้างขวา ใบลำาโพงทำาด้วยกรวยกระดาษ ติดอยู่ กับคอยส์เสียง เมื่อคอยส์เสียงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณ ไฟฟ้ากระแสสลับ มันจะทำาให้ใบลำาโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลำาโพง จะติดอยู่บนสไปเดอร์ ที่ทำาหน้าที่เหมือนสปริง คอยดึงใบลำาโพง ที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่ตำาแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณ ไฟฟ้าป้อนเข้าลำาโพง ถ้า มีสำญญาณไฟฟ้ากระแสสลับป้อนเข้าไปในคอยส์เสียง ทิศทาง ของกระแสไฟฟ้าจะกลับทิศทางอยู่ตลอดเวลา (สังเกตที่ เครื่องหมาย + และ - จะเห็นว่ากลับทิศทางตลอดเวลาด้วย) และทำาให้แผ่นลำาโพงสั่นเคลื่อนที่ขึ้นและลง อัดอากาศด้านหน้า เกิดคลื่นเสียงขึ้น สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับที่ใส่ให้กับลำาโพง จะแปรตามความถี่และแอมพลิจูด ซึ่งเป็นสัญญาณเดียวกันกับ
  • 13. สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับที่ได้จากไมโครโฟน แต่ว่าสัญญาณที่ ได้ในครั้งแรก ยังอ่อนมากจึงต้องผ่านเครื่องขยายก่อน จึงจะป้อน เข้าลำาโพงได้ ใบลำาโพงจะสั่นเร็วหรือช้าขี้นอยู่กับความถี่ และ เสียงจะดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดของสัญญาณไฟฟ้า ขนาดของลำาโพงมีความสำาคัญมาก ไม่ใช่ว่าลำาโพงตัวเดียว สามารถจะให้ความถี่ได้ออกมาทุกๆความถี่ ถ้าต้องการให้เหมือน กับเสียงธรรมชาติมากที่สุด ลำาโพงจะต้องมีหลายขนาด เราจะ แบ่งลำาโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ -วูฟเฟอร์ (Woofers) -ทวีทเตอร์ (Tweeters) -มิดเรนส์ (Midrange) ลำา โพงประเภทต่า งๆ วูฟ เฟอร์ เป็นลำาโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อ ให้เสียงที่มีความถี่ตำ่า ทวีส เตอร์ เป็นลำาโพงที่มีขนาดเล็กสุด เสียงที่มีความถี่สูง ออกแบบมาเพื่อให้ ลำา โพงทวีท เตอร์ เป็นลำาโพงที่มีความถี่สูง แผ่นลำาโพง มีขนาดเล็กและค่อนข้างแข็ง จึงสามารถสั่นด้วยความเร็วที่สูง ส่วนลำาโพงแบบวูฟเฟอร์ แผ่นลำาโพงจะมีขนาดใหญ่ และค่อน ข้างนิ่ม จึงสั่นด้วยความเร็วตำ่า เพราะมีมวลมาก อย่างไรก็ตาม เสียงทั่วไป มีความถี่กว้าง คือ มีความถี่จากสูงถึงตำ่า ซึ่งเราจะ เรียกว่า มีความถี่ช่วงกว้าง ถ้าเรามีแต่ลำาโพงทวีทเตอร์ และวูฟ เฟอร์ เราจะได้เสียงอยู่ในย่านความถี่สูงกับตำ่าเท่านั้น ความถี่ใน ช่วงกลางจะหายไป เพื่อจะให้คุณภาพของเสียงออกมาทุกช่วง ความถี่ จึงจำาเป็นจะต้องมีลำาโพงมิดเรนส์ด้วย ภายในตู้ลำาโพง ตู้หนึ่ง จึงมักจะเห็นลำาโพงทั้งสามชนิดประกอบเข้าด้วยกัน สำาหรับลำาโพงแบบทวีทเตอร์ เครื่องขยายเสียงจะส่งความถี่สูงให้ ลำาโพงวูฟเฟอร์ จะส่งความถี่ตำ่า ส่วนความถี่ในช่วงที่เหลือเป็น ของลำาโพงแบบมิดเรนส์ ถ้าลองถอดฝาตู้ด้านหลังออก เราจะได้ เห็น อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งเรียกว่า ครอสโอเวอร์ (Cross over)
  • 14. อุปกรณ์ตัวนี้เป็นตัวแยกสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับให้ออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนความถี่สูง ความถี่ตำ่า และความถี่ขนาดกลาง ค รอสโอเวอร์แยกออกเป็น 2 แบบ คือ แบบ พาสซีพ (Passive) และ แบบแอคทีฟ (active) ครอสโอเวอร์แบบแอคทีฟ ไม่ต้องมี แหล่งจ่ายไฟ แต่ใช้พลังงานจากสำญญาณเสียงแทน หลักการ พื้นฐานของครอสโอเวอร์นั้นประกอบขึ้นด้วย ตัว ต้า นทาน ตัว เหนี่ย วนำา และ ตัว เก็บ ประจุ ต่อขึ้นเป็นวงจรไฟฟ้า ทั้งตัว เก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำาจะเป็นตัวนำาที่ดีภายใต้เงื่อนไขบาง ประการ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุจะยอมให้ความถี่สูงที่เกิน กว่าค่าที่กำาหนดผ่านไปได้ แต่ถ้าเป็นความถี่ตำ่ากว่าค่าที่กำาหนด มันจะไม่ยอมให้ผ่านไป ส่วนตัวเหนี่ยวนำาจะทำาหน้าที่แตกต่าง กัน คือจะเป็นตัวนำาที่ดีเมื่อความถี่ตำ่า คือมันจะยอมให้ความถี่ตำ่า กว่าค่าที่กำาหนดผ่านไปได้ และจะไม่ยอมให้ความถี่สูงกว่าค่าที่ กำาหนดผ่านไป สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับที่ผ่านการขยายมา แล้ว จะถูกส่งผ่านไปยังครอสโอเวอร์แบบพาสซีฟ โดยเราจะต่อ ตัวเก็บประจุไว้ก่อนที่จะเข้าทวีทเตอร์ เพราะจะยอมให้แต่ความถี่ สูงผ่านไปได้เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนำาจะต่อไว้ก่อนจะเข้าวูฟเฟอร์ ส่วนลำาโพงมิดเรนส์ จะต่ออยู่กับ ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำา โดยต่อเป็นวงจรไฟฟ้า เรียกว่า วงจร L-C และเลือกค่าให้เหมาะ สม เพื่อให้ความถี่ในช่วงกลางสามารถผ่านไปได้ ครอสโอเวอร์ แบบแอคทีฟ เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์เหมือนกับครอส โอเวอร์แบบพาสซีฟ แต่ว่าออกแบบซับซ้อนกว่า จึงต้องมีแหล่ง จ่ายไฟป้อนพลังงานให้ ครอสโอเวอร์แบบนี้จะแยกความถี่ออก ก่อนที่จะเข้าเครื่องขยายเสียง ดังนั้นจึงต้องมีเครื่องขยาย 3 อัน แต่ละอันขยายความถี่ในช่วงที่แตกต่างกัน จึงเป็นข้อเสียที่สำาคัญ ประการหนึ่ง แต่มีข้อดีมากเมื่อเทียบกับแบบพาสซีฟ และเป็นสิ่งที่ เครื่องเสียงราคาเป็นแสนขาดเสียไม่ได้คือ คุณสามารถปรับแต่ง ความถี่ทุกๆช่วงได้ อย่างไรก็ตามมันมีราคาค่อนข้างแพงจึงใช้กับ เครื่องเสียงราคาสูงเสียมากกว่า
  • 15. บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน งานโครงงาน ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องลำาโพงจากจอ คอมพิวเตอร์นี้ ผู้จัดทำาโครงงานมีวิธีดำาเนินงานโครงงาน ตามขั้น ตอนดังต่อไปนี้ 1. 3.1 วัส ดุ อุป กรณ์ เครื่อ งมือ หรือ โปรแกรมหรือ ที่ใ ช้ ในการพัฒ นา ไม้อัดแบบหนา 20 mm. 2. ทวิสเตอร์ 2 ตัว 150 วัตต์ 3. ดอกลำาโพง 2 ตัว 200 – 250 วัตต์ 4. ซีทอง 2 ตัว 5. เครื่องขยาย 1 เครื่อง 6. ผ้ามองกลู 1 เมตร 7. หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาด 17 นิ้ว 2 จอ 8. น็อต 9. โฟมแข็ง 10. สายไฟขนาด 1 เมตร 3.2 ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน - ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่จะทำา - ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์และเตรียมแก้ปัญหา
  • 16. - คิดค้นวิธีดำำเนินงำนสร่ำงสิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยในกำรแก้ไข ปัญหำและควำมเป็นไปของชิ้นงำน -ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ -เตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่ำงๆ บทที่ 4 ผลกำรดำำ เนิน งำนโครงงำน กำรทำำลำำโพงจำกจอคอมพิวเตอร์ในครั้งนี้ ลำำโพงที่ทำำ ขึ้นมำมีประสิทธิภำพเท่ำกับลำำโพงที่ขำยในท้องตลำด และมีนำ้ำ หนักเบำกว่ำลำำโพงที่ขำยในท้องตลำด
  • 17. บทที่ 5 สรุป ผลกำรดำำ เนิน งำน และข้อ เสนอแนะ จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพของลำำโพงที่ทำำ จำกจอคอมพิวเตอร์ กับลำำโพงที่ขำยตำมท้องตลำด พบว่ำ มี ประสิทธิภำพเท่ำกัน แต่ลำำโพงที่เรำทำำจำกจอคอมพิวเตอร์มีนำ้ำ หนักเบำกว่ำสำมำรถเคลื่อนย้ำยได้ง่ำย ปัญ หำที่พ บ -สมำชิกมีเวลำว่ำงไม่ตรงกันกำรรวมกลุ่มจึงไม่พร้อมเพรียงเท่ำที่ ควร -ไม่มีประสบกำรณ์ในเรื่องไฟฟ้ำเท่ำที่ควร แนวทำงกำรแก้ไ ขปัญ หำ -แบ่งงำนและหน้ำที่กันตำมที่เห็นสมควรของสมำชิกในกลุ่มทุกคน -ปรึกษำผู้ที่รู้และเชี่ยวชำญ